หากเรามองจาก ท้องฟ้า เราจะเห็น สิ่งที่เคลื่อนไหว ภายใต้ ของความคิดเรา ถ้าเรามองขึ้นไปจากใจเรา เราจะเห็น ทุกชีวิต กำลังดิ้นรน เพื่อ แสวงหา อาหาร เพื่อ หล่อเลี้ยง ชีวิตของตนเอง และ สิ่งที่ตนรัก และเป็นที่รัก ของตนเอง และแล้ว ทุกชีวิต ก็ พบว่า ความกระหายใคร่ ได้ ใคร่มี ใคร่เป็น หรือ ความทะยานอยาก นี่เอง ที่เป็นสาเหตุ ให้มนุษย์ ต้องเดินทางอยู่ ตลอดชีวิต ลองหยุดเดินทางด้วยยานพาหนะ แล้วหันมาเดินทาง ด้วยจิตวิญญาณ แล้วการ เดินทางไกล จะใกล้เข้าทุกขณะจิต หายใจเข้า ตามรู้ หายใจออก ตามรู้
วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560
อนุพุทธะ หมายถึง สาวกผู้รับคำสอนจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาปฏิบัติตามจนได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์[1][2] จึงเรียกอีกอย่างว่าสาวกพุทธะ โดยคำว่า อนุพุทธะ มาจากศัพท์ว่า อนุ (ตาม) + พุทธะ (ผู้รู้) แปลว่า ผู้ตรัสรู้ตาม อนุพุทธะ จัดเป็นพุทธะประเภทหนึ่งในพุทธะ 3 ประเภท คือ สัมมาสัมพุทธะ คือ พระพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และสอนให้ผู้อื่นรู้ตามได้ ปัจเจกพุทธะ ผู้ตรัสรู้เฉพาะตน ไม่สามารถสอนผู้อื่นให้รู้ตามได้ อนุพุทธะ ตรัสรู้ได้ด้วยการฟัง (สุตะ) คำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธะจนรู้ตาม และสอนให้ผู้อื่นรู้ตามได้ ในคัมภีร์มโนรถปูรณี เรียกอนุพุทธว่าจตุสัจจพุทธะ[3] เพราะเป็นผู้รู้อริยสัจ 4 และเรียกผู้ศึกษาพุทธพจน์มามากจนเป็นพหูสูตว่า สุตพุทธะ จึงรวมเป็นพุทธะ 4 ประเภท ในหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาโท มีวิชาอนุพุทธประวัติ (สาวกประวัติ) หมายถึง ประวัติของพระสงฆ์สาวกสำคัญในสมัยพุทธกาล[4] ดูเพิ่ม[แก้] สาวก พระอรหันต์ อ้างอิง[แก้] กระโดดขึ้น ↑ พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ (ประเสริฐ มนฺตเสวี), พระนิพพาน, 2556, หน้า 29 กระโดดขึ้น ↑ วิชาอนุพุทธประวัติ ธ.ศ. ชั้นโท, วัดป่าธรรมชาติ กระโดดขึ้น ↑ มโนรถปูรณี, อรรถกถา อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เอกบุคคลบาลี อรรถกถาสูตรที่ ๕ กระโดดขึ้น ↑ กรมการศาสนา. (2550). ธรรมศึกษาชั้นโท ฉบับปรับปรุงใหม่ที่ประกาศใช้ในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. หน้า 59 [ซ่อน] ด พ ก พระพุทธเจ้าในศาสนาพุทธ ทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายาน ประเภทของพุทธะ อนุพุทธะ ปัจเจกพุทธะ สัมมาสัมพุทธะ พระพุทธรูป พระพุทธเจ้าในอดีต (ตามคัมภีร์พุทธวงศ์) พระตัณหังกรพุทธเจ้า พระเมธังกรพุทธเจ้า พระสรณังกรพุทธเจ้า พระทีปังกรพุทธเจ้า พระโกณฑัญญพุทธเจ้า พระมังคลพุทธเจ้า พระสุมนพุทธเจ้า พระเรวตพุทธเจ้า พระโสภิตพุทธเจ้า พระอโนมทัสสีพุทธเจ้า พระปทุมพุทธเจ้า พระนารทพุทธเจ้า พระปทุมุตรพุทธเจ้า พระสุเมธพุทธเจ้า พระสุชาตพุทธเจ้า พระปิยทัสสีพุทธเจ้า พระอัตถทัสสีพุทธเจ้า พระธรรมทัสสีพุทธเจ้า พระสิทธัตถพุทธเจ้า พระติสสพุทธเจ้า พระปุสสพุทธเจ้า พระวิปัสสีพุทธเจ้า พระสิขีพุทธเจ้า พระเวสสภูพุทธเจ้า พระกกุสันธพุทธเจ้า พระโกนาคมนพุทธเจ้า พระกัสสปพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าในปัจจุบัน พระโคตมพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าในอนาคต (ตามคัมภีร์อนาคตวงศ์) พระศรีอริยเมตไตรย พระรามสัมพุทธเจ้า พระธรรมราชาสัมพุทธเจ้า พระธรรมสามีสัมพุทธเจ้า พระนารทสัมพุทธเจ้า พระรังสีมุนีสัมพุทธเจ้า พระเทวเทพสัมพุทธเจ้า พระนรสีหสัมพุทธเจ้า พระติสสสัมพุทธเจ้า พระสุมังคลสัมพุทธเจ้า พระธยานิพุทธะ พระไวโรจนพุทธะ พระอักโษภยพุทธะ พระอมิตาภพุทธะ พระรัตนสัมภวพุทธะ พระอโมฆสิทธิพุทธะ พระพุทธเจ้าองค์อื่นๆ ตามคติมหายาน อาทิพุทธะ พระไภษัชยคุรุ พระสัทธรรมวิทยาตถาคต พระสหัสประภาราชาศานติสถิตยตตถาคต พระประภูตรัตนะ Dharma wheel.svg บทความเกี่ยวกับศาสนาพุทธนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:พระพุทธศาสนา หมวดหมู่: อริยบุคคลอภิธานศัพท์ศาสนาพุทธบทความเกี่ยวกับ พุทธศาสนา ที่ยังไม่สมบูรณ์ รายการเลือกการนำทาง ไม่ได้ล็อกอินพูดคุยเรื่องที่เขียนสร้างบัญชีล็อกอินบทความอภิปรายเนื้อหาแก้ไขประวัติค้นหา ค้นหา วิกิพีเดีย ไป หน้าหลัก ถามคำถาม บทความคัดสรร บทความคุณภาพ เหตุการณ์ปัจจุบัน สุ่มบทความ มีส่วนร่วม เกี่ยวกับวิกิพีเดีย ศาลาประชาคม ปรับปรุงล่าสุด ติดต่อวิกิพีเดีย บริจาคให้วิกิพีเดีย วิธีใช้ เครื่องมือ หน้าที่ลิงก์มา การปรับปรุงที่เกี่ยวโยง อัปโหลดไฟล์ หน้าพิเศษ ลิงก์ถาวร สารสนเทศหน้า Wikidata ไอเท็ม อ้างอิงบทความนี้ พิมพ์/ส่งออก สร้างหนังสือ ดาวน์โหลดเป็น PDF รุ่นพร้อมพิมพ์ ภาษาอื่น English Español ភាសាខ្មែរ Polski แก้ไขลิงก์ หน้านี้แก้ไขล่าสุดเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2557 เวลา 14:54 น. อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน และอาจมีเงื่อนไขเพิ่มเติม ดูรายละเอียดที่ ข้อกำหนดการใช้งาน Wikipedia® เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร ติดต่อเรา นโยบายความเป็นส่วนตัวเกี่ยวกับวิกิพีเดียข้อปฏิเสธความรับผิดชอบผู้พัฒนาCookie statementรุ่นโมบายล์Wikimedia Foundation Powered by MediaWikiอนุพุทธะพระพุทธเจ้าสอน บอกว่า ตราบใดที่โลกยังมีผู้เจริญสติปัฏฐานอยู่ ตราบใดที่ยังมีผู้เจริญสติปัฏฐานอยู่ โลกจะไม่ว่างจากพระอรหันต์ การเจริญสติปัฏฐานก็คือการมีสติรู้ความจริงของร่างกาย การมีสติรู้ความจริงของความรู้สึกสุขรู้สึกทุกข์ทั้งหลาย การมีสติรู้เท่าทันความปรุงแต่งของจิตใจ ปรุงดีบ้าง ปรุงชั่วบ้าง การสติเห็นกระบวนการทำงานทางจิตใจ เช่นมันปรุงนิวรณ์ปรุงกิเลสขึ้นมาอย่างนี้ๆนะ มันปรุงโพชฌงค์ขึ้นมาได้อย่างนี้นะ หรือเห็นกระบวนการทำงานที่จิตปรุงความทุกข์ขึ้นมา เห็นกระบวนการทำงานที่ความทุกข์ดับไป นี้เรียกว่าเห็นปฏิจจสมุปบาท หน้าที่เรา เจริญสติปัฏฐาน มีสติ รู้กายรู้ใจ ตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่น และเป็นกลาง เคยได้ฟังคำสอนของพระพุทธเจ้า ถ้าเราทำลายความเห็นผิดนะ ว่าจิตนี้เป็นของดีของวิเศษ ขันธ์ ๕ เป็นของดีของวิเศษ ทำลายตัวนี้ได้ เชื้อเกิดจะถูกทำลายไป เมื่อขันธ์ ๕ ไม่ใช่ของดีแล้ว ความอยากให้ขันธ์ ๕ มันสุข ให้มันดี ให้มันสงบ ไม่มีแล้ว รู้ว่ามันไม่ดี ความอยากจะพ้นจากทุกข์ ให้ขันธ์ ๕ พ้นทุกข์ ก็ไม่มี เห็นไหม อยากให้พ้นทุกข์ก็ไม่มีนะ อยากให้สุขก็ไม่มีนะ เพราะรู้แจ้งแล้วว่าทุกข์แน่นอน พอรู้แจ้งอย่างนี้ หมดแรงดิ้น จิตที่หมดแรงดิ้นนี่แหละจะเห็นพระนิพพาน จิตที่ยังดิ้นอยู่ ยังอยากอยู่ นี่มีตัณหาอยู่ ไม่เห็นพระนิพพาน พวกเรามีบุญแล้วนะ ได้ฟังธรรม ฝึกรู้สึกตัวไปบ่อยๆ รู้สึกตัวแล้วอย่ารู้อยู่เฉยๆ ดูรูปดูนาม ดูกายดูใจ ดูขันธ์ ๕ ทำงานเรื่อยไป วันหนึ่งเราก็จะตามพระพุทธเจ้าของเราไปนะ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น