วันอังคารที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2560

เครื่องแปลงไฟ กระแสตรง TM51จ่ายแรงดันไฟฟ้า 280โวลต์ไม่เกิน390โวลต์

อะไหล่และอุปกรณ์ ตามคลิป มีจำหน่าย ที่ sompong industrial electronics ท่านที่จะนำไปใช้ ส่วนรวม วัด โรงเรียน โรงพยาบาล  ศาสนสถาน ผมยินดี บริจาคให้ ไม่คิดมูลค่า ครับ ..ขอ อนุโมทนา..ครับ..

TM52A หมดแล้วครับ เบอร์ใหม่ ดูจากคลิป นะครับ เป็นเบอร์ GT15J331  และ PS21244 ครับผม..https://www.youtube.com/watch?v=A9fDfbeOZco
ทดสอบPower Module GT15J331 โดยใช้มอเตอร์สามเฟสครับ....ใช้งานจริง ต้องติดตั้งบนแผ่นระบายความร้อน..และติดพัดลม..ด้วยนะครับ
https://www.youtube.com/watch?v=YfVvJ-q1_fo
ระบบอินเวอร์เตอร์  inverter ใช้ร่วมกับโซล่าเซลล์ประหยัดไฟได้จริงหรือไม่ดูจากคลิปนี้ครับPOWER MODULE   ควบคุมมอเตอร์สามเฟส Tm52A  หมดแล้วนะครับ...วันนี้ต้องเป็นเบอร์ GT15J331 PS21244 ครับ..
TM 51 รับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงตั้งแต่ 24 Voltsถึง 300 Volts ครับ รับกระแสได้ 10 ถึง 15 Amps แล้วจะทำหน้าที่ เปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสตรง -ทีแรงดัน 370-375 Volts เพื่อนำไปจ่ายให้กับ ทำหน้าที่ขับมอเตอร์ สามเฟส 220/380 Volts สูงสุดที่ประมาณ 1/2 แรงม้า ถึง3 แรงม้าแนะนำให้ใช้ที่..1 แรงม้าครับ..บอร์ด Arduino ทำหน้าที่ สร้างและกำหนดค่าของสัญญาณ สามเฟส SINE WAVE แบบ PWM ครับ..มีจำหน่ายหลายที่ครับ ติดต่อกันเองก็แล้วกัน ถ้าหาไม่ได้ ลองโทรไปที่ 02 951 1356 และ 081-803-6553 นะครับ...LINE  pornpimon 1411 หรือ ติดต่อที่ s o m p o n g i n d u s t r i a l @ g mail .com m r s o m p o n g t @h o t mail.comm ก็ได้ครับ จำหน่าย PS 21244 MITSUBISHI SEMICONDUCTOR TRANSFER-MOLD TYPE INSULATED TYPE
6 DI 15 S -050 C 6 DI 15 S-050 D TM 51  สำหรับสร้างเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส...
วิธีทำให้ TM51จ่ายแรงดันไฟฟ้า 280โวลต์ไม่เกิน320โวลต์เพื่อใช้กับ PS21244 PS21963 PS219A2 MP6501A 6DI15S-050

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน รถยนต์ไฟฟ้ามาแล้วนะครับ เครื่...

ไฟลบภาค คอนโทรล ต่อกับ ขา 11 กับ 15 ของ PS21244 ครับ จุดเดียวกับ ไฟลบ ภาค เพาเวอร์ครับ...ต่อเป็นจุดกราวด์เพลน..ครับ..

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า แร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www..com/watch?v=zNyOWave-cw....
https://www..com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www..com/watch?v=2t3Ox2L5Pishttps://www..com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www..com/watch?v=ZgzGk_ZUpzwhttps://www..com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www..com/watch?v=lpthWsRW8yA 
หากใช้แบตเตอรี่รถยนต์ 100 แอมป์ 4 ลูก ประจุเต็มที่ เท่ากับ 4,800 วัตต์ 750 วัตต์ เท่ากับ หนึ่งแรงม้า จะเหมือนมี ม้า 1 ตัว ที่ วิ่งได้ ประมาณ 6 ชั่วโมง..ถ้า เครื่อง ทำงาน ตามปกติ..https://www..com/watch?v=15nlWecXYhQคลิปนี้ใช้โซล่าเซลล์ ครับ...
ดูรายละเอียดจากคลิป ง่ายกว่าครับ มีหลายคลิป เบื้องต้นทำสัญญาน 6 ตำแหน่งให้ ต่ำกว่า 0.5 Volt ครับ ค่า R PULL UP ใช้ 5.6 K-10K จะพอดีครับ ไฟเลี้ยง ต้องเรียบพอ ไม่ต่ำกว่า 15 Vdc ครับ รายละเอียดการต่อ PS21244 กับ MC3PHACแบบขนานและแบบธรรมดา...ชมการทดสอบจริงกับมอเตอร์ ห้าแรงไม่มีโหลด จากคลิปนี้ก็ได้ครับ...วงจรขนานที่ใช้ MOSFET STU 418 ยังใช้ไม่ได้..ไม่สมบูรณ์..ครับ...ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจhttps://www..com/watch?v=yXZhTqUhXqA
TM52A...หมดแล้ว.ใช้ PS21244 ขนานกัน....ได้ครับ....ขาย ic หาง่าย ใช้ง่าย PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 D 6DI15S-050 C MP6501A TM52A TM51 ใช้ทำเครื่องอินเวอร์เตอร์ เครื่องปรับรอบมอเตอร์ เครื่องแปลงไฟฟ้า PS21244 ราคาตัวละ 300 บาท 4 ตัว 1000 บาท ครับค่าส่ง Ems 100 บาท ครับ Line:pornpimon 1411 มือถือ 081-803-6553 เบอร์บ้าน 02-951-1356 sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน รถยนต์ไฟฟ้ามาแล้วนะครับ เครื่...

ไฟลบภาค คอนโทรล ต่อกับ ขา 11 กับ 15 ของ PS21244 ครับ จุดเดียวกับ ไฟลบ ภาค เพาเวอร์ครับ...ต่อเป็นจุดกราวด์เพลน..ครับ..

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า แร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www..com/watch?v=zNyOWave-cw....
https://www..com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www..com/watch?v=2t3Ox2L5Pishttps://www..com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www..com/watch?v=ZgzGk_ZUpzwhttps://www..com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www..com/watch?v=lpthWsRW8yA 
หากใช้แบตเตอรี่รถยนต์ 100 แอมป์ 4 ลูก ประจุเต็มที่ เท่ากับ 4,800 วัตต์ 750 วัตต์ เท่ากับ หนึ่งแรงม้า จะเหมือนมี ม้า 1 ตัว ที่ วิ่งได้ ประมาณ 6 ชั่วโมง..ถ้า เครื่อง ทำงาน ตามปกติ..https://www..com/watch?v=15nlWecXYhQคลิปนี้ใช้โซล่าเซลล์ ครับ...
ดูรายละเอียดจากคลิป ง่ายกว่าครับ มีหลายคลิป เบื้องต้นทำสัญญาน 6 ตำแหน่งให้ ต่ำกว่า 0.5 Volt ครับ ค่า R PULL UP ใช้ 5.6 K-10K จะพอดีครับ ไฟเลี้ยง ต้องเรียบพอ ไม่ต่ำกว่า 15 Vdc ครับ รายละเอียดการต่อ PS21244 กับ MC3PHACแบบขนานและแบบธรรมดา...ชมการทดสอบจริงกับมอเตอร์ ห้าแรงไม่มีโหลด จากคลิปนี้ก็ได้ครับ...วงจรขนานที่ใช้ MOSFET STU 418 ยังใช้ไม่ได้..ไม่สมบูรณ์..ครับ...ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจhttps://www..com/watch?v=yXZhTqUhXqA
TM52A...หมดแล้ว.ใช้ PS21244 ขนานกัน....ได้ครับ....ขาย ic หาง่าย ใช้ง่าย PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 D 6DI15S-050 C MP6501A TM52A TM51 ใช้ทำเครื่องอินเวอร์เตอร์ เครื่องปรับรอบมอเตอร์ เครื่องแปลงไฟฟ้า PS21244 ราคาตัวละ 300 บาท 4 ตัว 1000 บาท ครับค่าส่ง Ems 100 บาท ครับ Line:pornpimon 1411 มือถือ 081-803-6553 เบอร์บ้าน 02-951-1356 sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com

ปรับความเร็วมอเตอร์สามเฟส

หนทางแห่งการรู้แจ้ง เพื่อดับทุกข์มีประการเดียว คือ เห็นความคิดปรุงแต่งว่...

เราเป็นใครจิตของเรามาจากไหนดวงดาวนับไม่ถ้วน เพราะไม่มีที่สิ้นสุด รูปนามพิภพต่างๆ เป็นเหตุให้เกิด รูปนามพืช รูปนามพืชเป็นเหตุให้เกิด รูปนามสัตว์ เคลื่อนไหวได้ จึงเรียกกันว่า เป็นสิ่งมีชีวิต ความจริง รูปนามจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตมันก็เคลื่อนไหวได้ เพราะมันมีรูปกับนาม เป็นเหตุเป็นผลให้เกิดปฏิกิริยาอยู่ในตัว ให้เคลื่อนไหวตลอดกาล และ(เกิด) การเปลี่ยนแปลง บางอย่างเรามองด้วยตาเนื้อไม่เห็น จึงเรียกกันว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต เมื่อรูปนามของพืชเปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์ เป็นจุดตั้งต้นชีวิตของสัตว์ และเป็น เหตุให้เกิด จิต วิญญาณ การแสดง การเคลื่อนไหว เป็นเหตุให้เกิดกรรม สัตว์ชาติแรกมีแต่สร้างกรรมชั่ว สัตว์กินสัตว์ และ(มี)ความโกรธ โลภ หลง ตามเหตุ ปัจจัย ภายนอกภายในที่มากระทบ กรรมที่สัตว์แสดง มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 อย่าง ไปกระทบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส 5 อย่าง แล้วมาประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับ รูปปรมาณู ซึ่งเป็น สุขุมรูป แฝงอยู่ในความว่าง เราไม่สามารถมองเห็นด้วยตาได้ ที่แฝงอยู่ในความว่างระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้นไว้ได้หมดสิ้น เมื่อสัตว์ชาติแรกเกิดนี้ ได้ตายลง มี กรรมชั่ว อย่างเดียว เป็น เหตุให้สัตว์ต้องเกิดอีก เพื่อให้สัตว์ต้อง ใช้หนี้ กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ แต่สัตว์เกิดขึ้นมาแล้วหายอม ใช้หนี้เกิด กันไม่ มันกลับ เพิ่มหนี้ ให้เป็น เหตุเกิด ทวีคูณ ด้วยเพศผู้เพศเมียเกิดเป็น สุขุมรูป ติดอยู่ใน 5 กองนี้ เป็นทวีคูณจนปัจจุบันชาติ ดังนั้น ด้วยอำนาจกรรมชั่วในสุขุมรูป 5 กอง ก็เกิดหมุนรวมกันเข้าเป็น รูปปรมาณูกลม คงรูปอยู่ได้ด้วยการหมุนรอบตัวเอง มิหยุดนิ่ง เป็นคูหาให้จิตใจได้อาศัยอยู่ข้างใน เรียกว่า รูปวิญญาณ หรือจะเรียกว่า รูปถอด ก็ได้ เพราะถอดมาจากนามระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง ซึ่งเป็นสุขุมรูปแฝงอยู่ในความว่าง รูปวิญญาณ จึงมีชีวิตอยู่คงทนอยู่ ยืนนานกว่า รูปหยาบ มีกรรมชั่วคอยรักษาให้หมุนคงรูปอยู่ ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดฆ่าให้ตายได้ นอกจาก นิพพาน เท่านั้น รูปวิญญาณจึงจะสลาย ส่วนการแสดงกรรมของสัตว์ที่ประทับอยู่ในสุขุมรูป มีรูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 กองนั้นรวมกันเข้าเรียกว่า จิต จึงมี สำนักงานจิต ติดอยู่ในวิญญาณ 5 กอง รวมกันเป็นที่ทำงานของ จิตกลาง แล้วไปติดต่อกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอก ซึ่งเป็นสื่อติดต่อของจิต ดังนั้น จิต กับ วิญญาณ จึงไม่เหมือนกัน จิตเป็นผู้รู้สึกนึกคิด ส่วนวิญญาณเป็นคูหาให้จิตได้อาศัยอยู่ และเป็นยานพาหนะพาจิตไปเกิด หรือจะไปไหนๆ ก็ได้ เป็นผู้รักษา สุขุมรูป รูปที่ถอดจากรูปหยาบ มีรูปเพศผู้ เพศเมีย รูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย อยู่ในวิญญาณไว้ได้เป็นเหตุเกิดสืบภพต่อชาติ เมื่อสัตว์ตาย ชีวิตร่างกายหยาบของภพภูมิชาตินั้นๆ ก็หมดไปตามอายุขัย (ของ) ชีวิตร่างกายหยาบของภูมิชาตินั้นๆ ส่วนชีวิตแท้ รูป ปรมาณู วิญญาณ จะไม่ตายสลายตาม จะต้องไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ ตามเหตุปัจจัยของวัฏฏะหมุนเวียนเปลี่ยนไปด้วย ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณหมุนรอบตัวเอง นี้เอง เป็นเหตุให้จิตเกิดดับ สืบต่อ คอยรับเหตุการณ์ภายนอกภายในที่มากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตุเกิด เหตุดับ หรือปรุงแต่งต่อไป จนกว่า กรรมชั่ว-เหตุเกิด จะหมดไป ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขุม-รูปวิญญาณ ซึ่งเกิดมาจากกรรมชั่ว สืบต่อมาแต่ชาติแรกเกิด ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คงรูปอยู่ไม่ได้ มันก็กระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะที่ติดอยู่กับวิญญาณ มันก็จะกระจายไปกับรูปปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างที่คั่นช่องว่างของรูปปรมาณูทุกๆ ช่อง ฉะนั้น โดยปราศจากรูปปรมาณู ความว่างนั้น จึงบริสุทธิ์และสว่าง รวมเข้ากับความว่าง บริสุทธิ์ สว่าง ของจักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า นิพพาน เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนา ให้ก่อเกิดอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์จึงได้ทรงเสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน (นิพพานไม่มีอุปาทิเหลือ, ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ คือสิ้นทั้งกิเลสและชีวิต) เป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบโดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระพุทธองค์ก็คือ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนือ อรูปฌาน ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไปเพื่อทรงกระบวนการแห่งการสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ได้ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่าสิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา (เป็น) ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์ นี่แหละ กระบวนการกระทำจิตตน ให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่เผย แจ้งออกสู่สัตว์โลกให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือ ปฐมฌาน แล้วจึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เสด็จดับขันธ์ต่างๆ ไปทีละขันธ์ วิญญาณขันธ์แห่งชีวิต และร่างกายนั้น เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น พระองค์เริ่มดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อ วิภวตัณหา ได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้วจึงดับ สัญญาขันธ์ เลื่อนเข้าสู่ ตติยฌาน เมื่อ พระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแห่งชีวิต นั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ เมื่อพระองค์ดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ใหญ่สุดท้ายที่มีทั้งสิ้นแล้ว แล้วก็มาดับ เวทนาขันธ์ อันเป็น จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ที่ในจิตส่วนในคือ ภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดับ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้น

เราเป็นใครจิตของเรามาจากไหน

ดวงดาวนับไม่ถ้วน เพราะไม่มีที่สิ้นสุด รูปนามพิภพต่างๆ เป็นเหตุให้เกิด รูปนามพืช รูปนามพืชเป็นเหตุให้เกิด รูปนามสัตว์ เคลื่อนไหวได้ จึงเรียกกันว่า เป็นสิ่งมีชีวิต

ความจริง รูปนามจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตมันก็เคลื่อนไหวได้ เพราะมันมีรูปกับนาม เป็นเหตุเป็นผลให้เกิดปฏิกิริยาอยู่ในตัว ให้เคลื่อนไหวตลอดกาล และ(เกิด) การเปลี่ยนแปลง บางอย่างเรามองด้วยตาเนื้อไม่เห็น จึงเรียกกันว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต
เมื่อรูปนามของพืชเปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์ เป็นจุดตั้งต้นชีวิตของสัตว์ และเป็น เหตุให้เกิด จิต วิญญาณ การแสดง การเคลื่อนไหว เป็นเหตุให้เกิดกรรม
สัตว์ชาติแรกมีแต่สร้างกรรมชั่ว สัตว์กินสัตว์ และ(มี)ความโกรธ โลภ หลง ตามเหตุ ปัจจัย ภายนอกภายในที่มากระทบ กรรมที่สัตว์แสดง มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 อย่าง ไปกระทบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส 5 อย่าง แล้วมาประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับ รูปปรมาณู ซึ่งเป็น สุขุมรูป แฝงอยู่ในความว่าง เราไม่สามารถมองเห็นด้วยตาได้ ที่แฝงอยู่ในความว่างระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้นไว้ได้หมดสิ้น
เมื่อสัตว์ชาติแรกเกิดนี้ ได้ตายลง มี กรรมชั่ว อย่างเดียว เป็น เหตุให้สัตว์ต้องเกิดอีก เพื่อให้สัตว์ต้อง ใช้หนี้ กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ แต่สัตว์เกิดขึ้นมาแล้วหายอม ใช้หนี้เกิด กันไม่ มันกลับ เพิ่มหนี้ ให้เป็น เหตุเกิด ทวีคูณ ด้วยเพศผู้เพศเมียเกิดเป็น สุขุมรูป ติดอยู่ใน 5 กองนี้ เป็นทวีคูณจนปัจจุบันชาติ
ดังนั้น ด้วยอำนาจกรรมชั่วในสุขุมรูป 5 กอง ก็เกิดหมุนรวมกันเข้าเป็น รูปปรมาณูกลม คงรูปอยู่ได้ด้วยการหมุนรอบตัวเอง มิหยุดนิ่ง เป็นคูหาให้จิตใจได้อาศัยอยู่ข้างใน เรียกว่า รูปวิญญาณ หรือจะเรียกว่า รูปถอด ก็ได้ เพราะถอดมาจากนามระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง ซึ่งเป็นสุขุมรูปแฝงอยู่ในความว่าง รูปวิญญาณ จึงมีชีวิตอยู่คงทนอยู่ ยืนนานกว่า รูปหยาบ มีกรรมชั่วคอยรักษาให้หมุนคงรูปอยู่ ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดฆ่าให้ตายได้ นอกจาก นิพพาน เท่านั้น รูปวิญญาณจึงจะสลาย
ส่วนการแสดงกรรมของสัตว์ที่ประทับอยู่ในสุขุมรูป มีรูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 กองนั้นรวมกันเข้าเรียกว่า จิต จึงมี สำนักงานจิต ติดอยู่ในวิญญาณ 5 กอง รวมกันเป็นที่ทำงานของ จิตกลาง แล้วไปติดต่อกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอก ซึ่งเป็นสื่อติดต่อของจิต ดังนั้น จิต กับ วิญญาณ จึงไม่เหมือนกัน จิตเป็นผู้รู้สึกนึกคิด ส่วนวิญญาณเป็นคูหาให้จิตได้อาศัยอยู่ และเป็นยานพาหนะพาจิตไปเกิด หรือจะไปไหนๆ ก็ได้ เป็นผู้รักษา สุขุมรูป รูปที่ถอดจากรูปหยาบ มีรูปเพศผู้ เพศเมีย รูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย อยู่ในวิญญาณไว้ได้เป็นเหตุเกิดสืบภพต่อชาติ
เมื่อสัตว์ตาย ชีวิตร่างกายหยาบของภพภูมิชาตินั้นๆ ก็หมดไปตามอายุขัย (ของ) ชีวิตร่างกายหยาบของภูมิชาตินั้นๆ ส่วนชีวิตแท้ รูป ปรมาณู วิญญาณ จะไม่ตายสลายตาม จะต้องไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ ตามเหตุปัจจัยของวัฏฏะหมุนเวียนเปลี่ยนไปด้วย
ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณหมุนรอบตัวเอง นี้เอง เป็นเหตุให้จิตเกิดดับ สืบต่อ คอยรับเหตุการณ์ภายนอกภายในที่มากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตุเกิด เหตุดับ หรือปรุงแต่งต่อไป จนกว่า กรรมชั่ว-เหตุเกิด จะหมดไป ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขุม-รูปวิญญาณ ซึ่งเกิดมาจากกรรมชั่ว สืบต่อมาแต่ชาติแรกเกิด ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คงรูปอยู่ไม่ได้ มันก็กระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะที่ติดอยู่กับวิญญาณ มันก็จะกระจายไปกับรูปปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างที่คั่นช่องว่างของรูปปรมาณูทุกๆ ช่อง ฉะนั้น โดยปราศจากรูปปรมาณู ความว่างนั้น จึงบริสุทธิ์และสว่าง รวมเข้ากับความว่าง บริสุทธิ์ สว่าง ของจักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า นิพพาน
เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนา ให้ก่อเกิดอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์จึงได้ทรงเสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน (นิพพานไม่มีอุปาทิเหลือ, ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ คือสิ้นทั้งกิเลสและชีวิต) เป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบโดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระพุทธองค์ก็คือ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนือ อรูปฌาน
ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไปเพื่อทรงกระบวนการแห่งการสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ได้ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่าสิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา (เป็น) ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์
นี่แหละ กระบวนการกระทำจิตตน ให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่เผย แจ้งออกสู่สัตว์โลกให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือ ปฐมฌาน แล้วจึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เสด็จดับขันธ์ต่างๆ ไปทีละขันธ์ วิญญาณขันธ์แห่งชีวิต และร่างกายนั้น เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น
พระองค์เริ่มดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อ วิภวตัณหา ได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้วจึงดับ สัญญาขันธ์ เลื่อนเข้าสู่ ตติยฌาน เมื่อ พระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแห่งชีวิต นั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ
เมื่อพระองค์ดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ใหญ่สุดท้ายที่มีทั้งสิ้นแล้ว แล้วก็มาดับ เวทนาขันธ์ อันเป็น จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ที่ในจิตส่วนในคือ ภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดับ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้น

โลกว่างเปล่าคหบดีชื่อนกุลบิดาได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า “พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระองค์เป็นผู้แก่เฒ่า เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยแล้วโดยลำดับ มีกายกระสับกระส่าย เจ็บป่วยเนือง ๆ พระพุทธเจ้าข้า ก็ข้าพระองค์มิได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าและภิกษุทั้งหลายผู้ให้เจริญใจอยู่เป็นนิตย์ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดสั่งสอนข้าพระองค์ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดพร่ำสอนข้าพระองค์ด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ข้าพระองค์ตลอดกาลนานเถิด” พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า “นั่นถูกแล้ว ๆ คหบดี อันที่จริงกายนี้กระสับกระส่าย เป็นดังฟองไข่อันเปลือกหุ้มไว้ ดูก่อนคหบดี ก็บุคคลผู้บริหารกายนี้อยู่พึงรับรองความเป็นผู้ไม่มีโรคได้แม้เพียงครู่เดียว จะมีอะไรเล่านอกจากความเป็นคนเขลา ดูก่อนคหบดี เพราะเหตุนั้นแหละท่านพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เมื่อเรามีกายกระสับกระส่ายอยู่ จิตของเราจักไม่กระสับกระส่าย ดูก่อนคหบดี ท่านพึงศึกษาอย่างนี้แล” นกุลบิดาขอให้พระสารีบุตรอธิบายให้ฟัง พระสารีบุตรกล่าวว่า “ดูก่อนคหบดี ก็อย่างไรเล่าบุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่ายด้วย ชื่อว่าเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายด้วย ดูก่อนคหบดี คือปุถุชนในโลกนี้ผู้มิได้สดับย่อมเห็นรูปโดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมีรูป ๑ ย่อมเห็นรูปในตน ๑ ย่อมเห็นตนในรูป ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่าเราเป็นรูป รูปของเรา เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่าเราเป็นรูป รูปของเรา รูปนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะรูปแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาสจึงเกิดขึ้น (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มีนัยเดียวกัน) ดูก่อนคหบดี ด้วยเหตุอย่างนี้แลบุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย และเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่าย” “ดูก่อนคหบดี ก็อย่างไรเล่าบุคคลแม้เป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย แต่หาเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายไม่ ดูก่อนคหบดี คืออริยสาวกในธรรมวินัยนี้ผู้ได้สดับแล้ว ย่อมไม่เห็นรูปโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมีรูป ๑ ย่อมไม่เห็นรูปในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนในรูป ๑ ไม่เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่าเราเป็นรูป รูปของเรา เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่าเราเป็นรูป รูปของเรา รูปนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะรูปแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มีนัยเดียวกัน) ดูก่อนคหบดี อย่างนี้แลบุคคลแม้มีกายกระสับกระส่าย แต่หาเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายไม่” ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้แล้ว นกุลปิตุคหบดีชื่นชมยินดีภาษิตของท่านพระสารีบุตรฉะนี้แล

โลกว่างเปล่า

คหบดีชื่อนกุลบิดาได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า “พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระองค์เป็นผู้แก่เฒ่า เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยแล้วโดยลำดับ มีกายกระสับกระส่าย เจ็บป่วยเนือง ๆ พระพุทธเจ้าข้า ก็ข้าพระองค์มิได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าและภิกษุทั้งหลายผู้ให้เจริญใจอยู่เป็นนิตย์ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดสั่งสอนข้าพระองค์ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดพร่ำสอนข้าพระองค์ด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ข้าพระองค์ตลอดกาลนานเถิด”


พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า “นั่นถูกแล้ว ๆ คหบดี อันที่จริงกายนี้กระสับกระส่าย เป็นดังฟองไข่อันเปลือกหุ้มไว้ ดูก่อนคหบดี ก็บุคคลผู้บริหารกายนี้อยู่พึงรับรองความเป็นผู้ไม่มีโรคได้แม้เพียงครู่เดียว จะมีอะไรเล่านอกจากความเป็นคนเขลา ดูก่อนคหบดี เพราะเหตุนั้นแหละท่านพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เมื่อเรามีกายกระสับกระส่ายอยู่ จิตของเราจักไม่กระสับกระส่าย ดูก่อนคหบดี ท่านพึงศึกษาอย่างนี้แล”

นกุลบิดาขอให้พระสารีบุตรอธิบายให้ฟัง พระสารีบุตรกล่าวว่า “ดูก่อนคหบดี ก็อย่างไรเล่าบุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่ายด้วย ชื่อว่าเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายด้วย ดูก่อนคหบดี คือปุถุชนในโลกนี้ผู้มิได้สดับย่อมเห็นรูปโดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมีรูป ๑ ย่อมเห็นรูปในตน ๑ ย่อมเห็นตนในรูป ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่าเราเป็นรูป รูปของเรา เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่าเราเป็นรูป รูปของเรา รูปนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะรูปแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาสจึงเกิดขึ้น (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มีนัยเดียวกัน) ดูก่อนคหบดี ด้วยเหตุอย่างนี้แลบุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย และเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่าย”

“ดูก่อนคหบดี ก็อย่างไรเล่าบุคคลแม้เป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย แต่หาเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายไม่ ดูก่อนคหบดี คืออริยสาวกในธรรมวินัยนี้ผู้ได้สดับแล้ว ย่อมไม่เห็นรูปโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมีรูป ๑ ย่อมไม่เห็นรูปในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนในรูป ๑ ไม่เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่าเราเป็นรูป รูปของเรา เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่าเราเป็นรูป รูปของเรา รูปนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะรูปแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มีนัยเดียวกัน) ดูก่อนคหบดี อย่างนี้แลบุคคลแม้มีกายกระสับกระส่าย แต่หาเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายไม่”

ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้แล้ว นกุลปิตุคหบดีชื่นชมยินดีภาษิตของท่านพระสารีบุตรฉะนี้แล

ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบล...

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ

บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของ
พระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันใน
ที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแ­ล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคย
กันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมือง คือ พระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม
มีสุข เย็นสนิทไม่มีภัย ที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว
ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขย­แสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้­พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข­้าพระองค์แล้ว

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9

อุปกะคิดถึงเพื่อน เขาไม่มีเพื่อนเลยทีเดียวหรือในโลกนี้ คิดทบทวนอยู่เป็นเวลานาน ในที่สุดภาพแห่งนักพรตรูปงามมีสง่าราศีก็ปรากฏขึ้นในห้วงนึก

“เขาบอกว่าเขาชื่ออนันตชิน” อุปกะปรารภกับตนเอง “มีลักษณะดี มีแววแห่งความเมตตากรุณา คนอย่างนี้มันไม่ปฏิเสธคำขอร้องของผู้ตกยากบากหน้ามาพึ่งพิง”
ประกอบด้วยบูรพูปนิสัยอันแก่กล้า มีบารมีที่แก่เต็มที่แล้วคอยเตือน ในราตรีที่ดึกสงัดได้ยินเสียงน้ำค้างตกสู่ใบไม้ อุปกะตัดสินใจแน่วแน่ที่จะจากหมู่บ้านพรานเนื้อไป...ไปหาสหายซึ่งพบกันเพียงครู่เดียว แต่ลักษณะและวาจาเป็นที่ประทับใจของเขายิ่งนัก เขาชื่อ ‘อนันตชิน’
ในขณะนั้นแรงเร้าแห่งความรักลูกผุดพลุ่งขึ้นมา ทำให้เขาต้องถอนใจ ความอาลัยในลูกมีมากพอที่ช่วยหน่วงเหนี่ยวเขาไว้อีก ทำให้เขาคิด เมื่อคิดถึงลูกน้อย จิตใจของอุปกะรู้สึกอ่อนลง ดูเหมือนจะไม่อาจจากไปได้ แต่บารมีที่เคยบำเพ็ญมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหายได้มาเตือน และเร่งเร้าให้เขาคิดถึงพระอนันตชินอย่างแรง คืนนั้นเองอุปกะได้จัดแจงห่อของเท่าที่เป็นของตน และพอพาติดตัวไปได้ เตรียมออกจากวังหการชนบท
ก่อนออกเดินทางเขาอดที่จะมองลูกด้วยความอาลัยมิได้ ปุตตวิปโยคเป็นความเศร้าอย่างใหญ่หลวงสำหรับบิดา แต่ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจออกจากวังกหารคามตอนดึกสงัดคืนนั้น เวลานี้จิตใจของเขาคำนึงถึงแต่ภาพแห่งนักพรตรูปงามผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’
มีหลายครั้งที่เขาจะหวนกลับมาหาลูกน้องและบิดา (นายพราน) ผู้มีความปรารถนาดีต่อเขาตลอดมา แต่ความระอาใจต่อสุชาวดี ทำให้เขาหันหลังกลับมุ่งหน้าไปหาสหายอนันตชิน ซึ่งเขาก็ไม่แน่ใจว่าเวลานี้อยู่แห่งหนตำบลใด
ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด
จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น
เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง
เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้
- มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู
- ความรู้เป็นประดุจยาพิษ เพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษ เพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา
- แสงจันทร์และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว
- สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้ภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขมหรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้ สตรีจึงเอาใจออกห่างผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น
- ความรักในสมบัติ ความรักชีวิต ย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไปทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ
- ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมย์ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี
บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล
ปัจจุสกาล (ใกล้รุ่ง) วันนั้น พระอนันตชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกครอบจักรวาล มองดูอุปนิสัยแห่งเวไนยสัตว์ที่พระองค์พอจะโปรดได้ อุปกะเข้าไปในข่ายพระญาณแห่งพระองค์ ทรงทราบโดยตลอดว่า เช้าวันนี้อุปกะจะมาถึงเชตวัน จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้ประชุมสงฆ์ในเชตวนารามทั้งหมด แล้วตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย วันนี้ถ้ามีอาคันตุกะมาถามหาบุคคลผู้มีนามว่าอนันตชิน ก็ขอให้พาไปหาเราที่คันธกุฎี” ตรัสเท่านี้แล้ว ทรงให้โอวาทภิกษุสงฆ์เป็นกรณีพิเศษ เกี่ยวกับเรื่องความเคารพในปฏิสันถาร มีอาทิว่า
“ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน”
ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า
“พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?”
ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์
ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป
ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า
“ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว”
“ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน
“อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?”
อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด”
พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก
เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด
“ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง”
นานมาแล้ว มีมานพหนุ่มน้อยลามารดาบิดาไปเรียนศิลปวิทยา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา เมื่อเรียนจบแล้วจึงลาอาจารย์กลับบ้าน มารดาต้อนรับเขาด้วยความยินดียิ่ง เมื่อสนทนากันไป มารดาถามว่า ลูกได้เรียนอสาตมนต์แล้วหรือ ลูกชายตอบว่า ยังไม่ได้เรียน มารดาจึงขอร้องให้ไปเรียนอสาตมนต์เสียก่อน

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9

อุปกะคิดถึงเพื่อน เขาไม่มีเพื่อนเลยทีเดียวหรือในโลกนี้ คิดทบทวนอยู่เป็นเวลานาน ในที่สุดภาพแห่งนักพรตรูปงามมีสง่าราศีก็ปรากฏขึ้นในห้วงนึก

“เขาบอกว่าเขาชื่ออนันตชิน” อุปกะปรารภกับตนเอง “มีลักษณะดี มีแววแห่งความเมตตากรุณา คนอย่างนี้มันไม่ปฏิเสธคำขอร้องของผู้ตกยากบากหน้ามาพึ่งพิง”
ประกอบด้วยบูรพูปนิสัยอันแก่กล้า มีบารมีที่แก่เต็มที่แล้วคอยเตือน ในราตรีที่ดึกสงัดได้ยินเสียงน้ำค้างตกสู่ใบไม้ อุปกะตัดสินใจแน่วแน่ที่จะจากหมู่บ้านพรานเนื้อไป...ไปหาสหายซึ่งพบกันเพียงครู่เดียว แต่ลักษณะและวาจาเป็นที่ประทับใจของเขายิ่งนัก เขาชื่อ ‘อนันตชิน’
ในขณะนั้นแรงเร้าแห่งความรักลูกผุดพลุ่งขึ้นมา ทำให้เขาต้องถอนใจ ความอาลัยในลูกมีมากพอที่ช่วยหน่วงเหนี่ยวเขาไว้อีก ทำให้เขาคิด เมื่อคิดถึงลูกน้อย จิตใจของอุปกะรู้สึกอ่อนลง ดูเหมือนจะไม่อาจจากไปได้ แต่บารมีที่เคยบำเพ็ญมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหายได้มาเตือน และเร่งเร้าให้เขาคิดถึงพระอนันตชินอย่างแรง คืนนั้นเองอุปกะได้จัดแจงห่อของเท่าที่เป็นของตน และพอพาติดตัวไปได้ เตรียมออกจากวังหการชนบท
ก่อนออกเดินทางเขาอดที่จะมองลูกด้วยความอาลัยมิได้ ปุตตวิปโยคเป็นความเศร้าอย่างใหญ่หลวงสำหรับบิดา แต่ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจออกจากวังกหารคามตอนดึกสงัดคืนนั้น เวลานี้จิตใจของเขาคำนึงถึงแต่ภาพแห่งนักพรตรูปงามผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’
มีหลายครั้งที่เขาจะหวนกลับมาหาลูกน้องและบิดา (นายพราน) ผู้มีความปรารถนาดีต่อเขาตลอดมา แต่ความระอาใจต่อสุชาวดี ทำให้เขาหันหลังกลับมุ่งหน้าไปหาสหายอนันตชิน ซึ่งเขาก็ไม่แน่ใจว่าเวลานี้อยู่แห่งหนตำบลใด
ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด
จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น
เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง
เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้
- มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู
- ความรู้เป็นประดุจยาพิษ เพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษ เพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา
- แสงจันทร์และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว
- สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้ภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขมหรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้ สตรีจึงเอาใจออกห่างผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น
- ความรักในสมบัติ ความรักชีวิต ย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไปทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ
- ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมย์ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี
บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล
ปัจจุสกาล (ใกล้รุ่ง) วันนั้น พระอนันตชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกครอบจักรวาล มองดูอุปนิสัยแห่งเวไนยสัตว์ที่พระองค์พอจะโปรดได้ อุปกะเข้าไปในข่ายพระญาณแห่งพระองค์ ทรงทราบโดยตลอดว่า เช้าวันนี้อุปกะจะมาถึงเชตวัน จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้ประชุมสงฆ์ในเชตวนารามทั้งหมด แล้วตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย วันนี้ถ้ามีอาคันตุกะมาถามหาบุคคลผู้มีนามว่าอนันตชิน ก็ขอให้พาไปหาเราที่คันธกุฎี” ตรัสเท่านี้แล้ว ทรงให้โอวาทภิกษุสงฆ์เป็นกรณีพิเศษ เกี่ยวกับเรื่องความเคารพในปฏิสันถาร มีอาทิว่า
“ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน”
ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า
“พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?”
ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์
ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป
ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า
“ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว”
“ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน
“อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?”
อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด”
พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก
เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด
“ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง”
นานมาแล้ว มีมานพหนุ่มน้อยลามารดาบิดาไปเรียนศิลปวิทยา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา เมื่อเรียนจบแล้วจึงลาอาจารย์กลับบ้าน มารดาต้อนรับเขาด้วยความยินดียิ่ง เมื่อสนทนากันไป มารดาถามว่า ลูกได้เรียนอสาตมนต์แล้วหรือ ลูกชายตอบว่า ยังไม่ได้เรียน มารดาจึงขอร้องให้ไปเรียนอสาตมนต์เสียก่อน

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9

อุปกะคิดถึงเพื่อน เขาไม่มีเพื่อนเลยทีเดียวหรือในโลกนี้ คิดทบทวนอยู่เป็นเวลานาน ในที่สุดภาพแห่งนักพรตรูปงามมีสง่าราศีก็ปรากฏขึ้นในห้วงนึก

“เขาบอกว่าเขาชื่ออนันตชิน” อุปกะปรารภกับตนเอง “มีลักษณะดี มีแววแห่งความเมตตากรุณา คนอย่างนี้มันไม่ปฏิเสธคำขอร้องของผู้ตกยากบากหน้ามาพึ่งพิง”
ประกอบด้วยบูรพูปนิสัยอันแก่กล้า มีบารมีที่แก่เต็มที่แล้วคอยเตือน ในราตรีที่ดึกสงัดได้ยินเสียงน้ำค้างตกสู่ใบไม้ อุปกะตัดสินใจแน่วแน่ที่จะจากหมู่บ้านพรานเนื้อไป...ไปหาสหายซึ่งพบกันเพียงครู่เดียว แต่ลักษณะและวาจาเป็นที่ประทับใจของเขายิ่งนัก เขาชื่อ ‘อนันตชิน’
ในขณะนั้นแรงเร้าแห่งความรักลูกผุดพลุ่งขึ้นมา ทำให้เขาต้องถอนใจ ความอาลัยในลูกมีมากพอที่ช่วยหน่วงเหนี่ยวเขาไว้อีก ทำให้เขาคิด เมื่อคิดถึงลูกน้อย จิตใจของอุปกะรู้สึกอ่อนลง ดูเหมือนจะไม่อาจจากไปได้ แต่บารมีที่เคยบำเพ็ญมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหายได้มาเตือน และเร่งเร้าให้เขาคิดถึงพระอนันตชินอย่างแรง คืนนั้นเองอุปกะได้จัดแจงห่อของเท่าที่เป็นของตน และพอพาติดตัวไปได้ เตรียมออกจากวังหการชนบท
ก่อนออกเดินทางเขาอดที่จะมองลูกด้วยความอาลัยมิได้ ปุตตวิปโยคเป็นความเศร้าอย่างใหญ่หลวงสำหรับบิดา แต่ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจออกจากวังกหารคามตอนดึกสงัดคืนนั้น เวลานี้จิตใจของเขาคำนึงถึงแต่ภาพแห่งนักพรตรูปงามผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’
มีหลายครั้งที่เขาจะหวนกลับมาหาลูกน้องและบิดา (นายพราน) ผู้มีความปรารถนาดีต่อเขาตลอดมา แต่ความระอาใจต่อสุชาวดี ทำให้เขาหันหลังกลับมุ่งหน้าไปหาสหายอนันตชิน ซึ่งเขาก็ไม่แน่ใจว่าเวลานี้อยู่แห่งหนตำบลใด
ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด
จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น
เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง
เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้
- มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู
- ความรู้เป็นประดุจยาพิษ เพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษ เพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา
- แสงจันทร์และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว
- สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้ภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขมหรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้ สตรีจึงเอาใจออกห่างผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น
- ความรักในสมบัติ ความรักชีวิต ย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไปทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ
- ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมย์ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี
บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล
ปัจจุสกาล (ใกล้รุ่ง) วันนั้น พระอนันตชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกครอบจักรวาล มองดูอุปนิสัยแห่งเวไนยสัตว์ที่พระองค์พอจะโปรดได้ อุปกะเข้าไปในข่ายพระญาณแห่งพระองค์ ทรงทราบโดยตลอดว่า เช้าวันนี้อุปกะจะมาถึงเชตวัน จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้ประชุมสงฆ์ในเชตวนารามทั้งหมด แล้วตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย วันนี้ถ้ามีอาคันตุกะมาถามหาบุคคลผู้มีนามว่าอนันตชิน ก็ขอให้พาไปหาเราที่คันธกุฎี” ตรัสเท่านี้แล้ว ทรงให้โอวาทภิกษุสงฆ์เป็นกรณีพิเศษ เกี่ยวกับเรื่องความเคารพในปฏิสันถาร มีอาทิว่า
“ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน”
ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า
“พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?”
ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์
ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป
ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า
“ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว”
“ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน
“อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?”
อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด”
พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก
เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด
“ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง”
นานมาแล้ว มีมานพหนุ่มน้อยลามารดาบิดาไปเรียนศิลปวิทยา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา เมื่อเรียนจบแล้วจึงลาอาจารย์กลับบ้าน มารดาต้อนรับเขาด้วยความยินดียิ่ง เมื่อสนทนากันไป มารดาถามว่า ลูกได้เรียนอสาตมนต์แล้วหรือ ลูกชายตอบว่า ยังไม่ได้เรียน มารดาจึงขอร้องให้ไปเรียนอสาตมนต์เสียก่อน

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9อุปกะคิดถึงเพื่อน เขาไม่มีเพื่อนเลยทีเดียวหรือในโลกนี้ คิดทบทวนอยู่เป็นเวลานาน ในที่สุดภาพแห่งนักพรตรูปงามมีสง่าราศีก็ปรากฏขึ้นในห้วงนึก “เขาบอกว่าเขาชื่ออนันตชิน” อุปกะปรารภกับตนเอง “มีลักษณะดี มีแววแห่งความเมตตากรุณา คนอย่างนี้มันไม่ปฏิเสธคำขอร้องของผู้ตกยากบากหน้ามาพึ่งพิง” ประกอบด้วยบูรพูปนิสัยอันแก่กล้า มีบารมีที่แก่เต็มที่แล้วคอยเตือน ในราตรีที่ดึกสงัดได้ยินเสียงน้ำค้างตกสู่ใบไม้ อุปกะตัดสินใจแน่วแน่ที่จะจากหมู่บ้านพรานเนื้อไป...ไปหาสหายซึ่งพบกันเพียงครู่เดียว แต่ลักษณะและวาจาเป็นที่ประทับใจของเขายิ่งนัก เขาชื่อ ‘อนันตชิน’ ในขณะนั้นแรงเร้าแห่งความรักลูกผุดพลุ่งขึ้นมา ทำให้เขาต้องถอนใจ ความอาลัยในลูกมีมากพอที่ช่วยหน่วงเหนี่ยวเขาไว้อีก ทำให้เขาคิด เมื่อคิดถึงลูกน้อย จิตใจของอุปกะรู้สึกอ่อนลง ดูเหมือนจะไม่อาจจากไปได้ แต่บารมีที่เคยบำเพ็ญมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหายได้มาเตือน และเร่งเร้าให้เขาคิดถึงพระอนันตชินอย่างแรง คืนนั้นเองอุปกะได้จัดแจงห่อของเท่าที่เป็นของตน และพอพาติดตัวไปได้ เตรียมออกจากวังหการชนบท ก่อนออกเดินทางเขาอดที่จะมองลูกด้วยความอาลัยมิได้ ปุตตวิปโยคเป็นความเศร้าอย่างใหญ่หลวงสำหรับบิดา แต่ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจออกจากวังกหารคามตอนดึกสงัดคืนนั้น เวลานี้จิตใจของเขาคำนึงถึงแต่ภาพแห่งนักพรตรูปงามผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ มีหลายครั้งที่เขาจะหวนกลับมาหาลูกน้องและบิดา (นายพราน) ผู้มีความปรารถนาดีต่อเขาตลอดมา แต่ความระอาใจต่อสุชาวดี ทำให้เขาหันหลังกลับมุ่งหน้าไปหาสหายอนันตชิน ซึ่งเขาก็ไม่แน่ใจว่าเวลานี้อยู่แห่งหนตำบลใด ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้ - มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู - ความรู้เป็นประดุจยาพิษ เพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษ เพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา - แสงจันทร์และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว - สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้ภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขมหรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้ สตรีจึงเอาใจออกห่างผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น - ความรักในสมบัติ ความรักชีวิต ย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไปทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ - ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมย์ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล ปัจจุสกาล (ใกล้รุ่ง) วันนั้น พระอนันตชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกครอบจักรวาล มองดูอุปนิสัยแห่งเวไนยสัตว์ที่พระองค์พอจะโปรดได้ อุปกะเข้าไปในข่ายพระญาณแห่งพระองค์ ทรงทราบโดยตลอดว่า เช้าวันนี้อุปกะจะมาถึงเชตวัน จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้ประชุมสงฆ์ในเชตวนารามทั้งหมด แล้วตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย วันนี้ถ้ามีอาคันตุกะมาถามหาบุคคลผู้มีนามว่าอนันตชิน ก็ขอให้พาไปหาเราที่คันธกุฎี” ตรัสเท่านี้แล้ว ทรงให้โอวาทภิกษุสงฆ์เป็นกรณีพิเศษ เกี่ยวกับเรื่องความเคารพในปฏิสันถาร มีอาทิว่า “ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน” ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า “พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?” ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์ ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า “ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว” “ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน “อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?” อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด” พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด “ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง” นานมาแล้ว มีมานพหนุ่มน้อยลามารดาบิดาไปเรียนศิลปวิทยา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา เมื่อเรียนจบแล้วจึงลาอาจารย์กลับบ้าน มารดาต้อนรับเขาด้วยความยินดียิ่ง เมื่อสนทนากันไป มารดาถามว่า ลูกได้เรียนอสาตมนต์แล้วหรือ ลูกชายตอบว่า ยังไม่ได้เรียน มารดาจึงขอร้องให้ไปเรียนอสาตมนต์เสียก่อน

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9อุปกะคิดถึงเพื่อน เขาไม่มีเพื่อนเลยทีเดียวหรือในโลกนี้ คิดทบทวนอยู่เป็นเวลานาน ในที่สุดภาพแห่งนักพรตรูปงามมีสง่าราศีก็ปรากฏขึ้นในห้วงนึก “เขาบอกว่าเขาชื่ออนันตชิน” อุปกะปรารภกับตนเอง “มีลักษณะดี มีแววแห่งความเมตตากรุณา คนอย่างนี้มันไม่ปฏิเสธคำขอร้องของผู้ตกยากบากหน้ามาพึ่งพิง” ประกอบด้วยบูรพูปนิสัยอันแก่กล้า มีบารมีที่แก่เต็มที่แล้วคอยเตือน ในราตรีที่ดึกสงัดได้ยินเสียงน้ำค้างตกสู่ใบไม้ อุปกะตัดสินใจแน่วแน่ที่จะจากหมู่บ้านพรานเนื้อไป...ไปหาสหายซึ่งพบกันเพียงครู่เดียว แต่ลักษณะและวาจาเป็นที่ประทับใจของเขายิ่งนัก เขาชื่อ ‘อนันตชิน’ ในขณะนั้นแรงเร้าแห่งความรักลูกผุดพลุ่งขึ้นมา ทำให้เขาต้องถอนใจ ความอาลัยในลูกมีมากพอที่ช่วยหน่วงเหนี่ยวเขาไว้อีก ทำให้เขาคิด เมื่อคิดถึงลูกน้อย จิตใจของอุปกะรู้สึกอ่อนลง ดูเหมือนจะไม่อาจจากไปได้ แต่บารมีที่เคยบำเพ็ญมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหายได้มาเตือน และเร่งเร้าให้เขาคิดถึงพระอนันตชินอย่างแรง คืนนั้นเองอุปกะได้จัดแจงห่อของเท่าที่เป็นของตน และพอพาติดตัวไปได้ เตรียมออกจากวังหการชนบท ก่อนออกเดินทางเขาอดที่จะมองลูกด้วยความอาลัยมิได้ ปุตตวิปโยคเป็นความเศร้าอย่างใหญ่หลวงสำหรับบิดา แต่ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจออกจากวังกหารคามตอนดึกสงัดคืนนั้น เวลานี้จิตใจของเขาคำนึงถึงแต่ภาพแห่งนักพรตรูปงามผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ มีหลายครั้งที่เขาจะหวนกลับมาหาลูกน้องและบิดา (นายพราน) ผู้มีความปรารถนาดีต่อเขาตลอดมา แต่ความระอาใจต่อสุชาวดี ทำให้เขาหันหลังกลับมุ่งหน้าไปหาสหายอนันตชิน ซึ่งเขาก็ไม่แน่ใจว่าเวลานี้อยู่แห่งหนตำบลใด ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้ - มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู - ความรู้เป็นประดุจยาพิษ เพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษ เพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา - แสงจันทร์และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว - สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้ภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขมหรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้ สตรีจึงเอาใจออกห่างผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น - ความรักในสมบัติ ความรักชีวิต ย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไปทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ - ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมย์ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล ปัจจุสกาล (ใกล้รุ่ง) วันนั้น พระอนันตชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกครอบจักรวาล มองดูอุปนิสัยแห่งเวไนยสัตว์ที่พระองค์พอจะโปรดได้ อุปกะเข้าไปในข่ายพระญาณแห่งพระองค์ ทรงทราบโดยตลอดว่า เช้าวันนี้อุปกะจะมาถึงเชตวัน จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้ประชุมสงฆ์ในเชตวนารามทั้งหมด แล้วตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย วันนี้ถ้ามีอาคันตุกะมาถามหาบุคคลผู้มีนามว่าอนันตชิน ก็ขอให้พาไปหาเราที่คันธกุฎี” ตรัสเท่านี้แล้ว ทรงให้โอวาทภิกษุสงฆ์เป็นกรณีพิเศษ เกี่ยวกับเรื่องความเคารพในปฏิสันถาร มีอาทิว่า “ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน” ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า “พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?” ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์ ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า “ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว” “ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน “อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?” อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด” พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด “ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง” นานมาแล้ว มีมานพหนุ่มน้อยลามารดาบิดาไปเรียนศิลปวิทยา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา เมื่อเรียนจบแล้วจึงลาอาจารย์กลับบ้าน มารดาต้อนรับเขาด้วยความยินดียิ่ง เมื่อสนทนากันไป มารดาถามว่า ลูกได้เรียนอสาตมนต์แล้วหรือ ลูกชายตอบว่า ยังไม่ได้เรียน มารดาจึงขอร้องให้ไปเรียนอสาตมนต์เสียก่อน

พระพุทธเจ้าสอนอะไร

มันดิ้นไม่เลิกจิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู

วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2560

วิธีดูกาย เวทนา จิต ธรรม

ตอน ยี่สิบ


อานาปานสติ ขั้นที่ สิบหก

(การตามเห็นความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ)

    อานาปานสติขั้นที่สิบหก หรือข้อที่สี่แห่งจตุกกะที่สี่ มีหัวข้อว่า “ภิกษุนั้น ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำจักหายใจเข้า ดังนี้ ; ย่อมทำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ จักหายใจออก ดังนี้.” (ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ;ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.)

    สิ่งที่จะต้องวินิจฉัยในอานาปานสติขั้นนี้ คือ ทำอย่างไรเรียกว่าเป็นการสลัดคืน ;และทำอย่างไรจึงจะเรียกว่า ปฏินิสสัคคานุปัสสี คือผู้ตามเห็นความสลัดคือนอยู่เป็นประจำ. สำหรับสิ่งที่จะต้องสลัดคืนก็หมายถึงทั้ง ๓ ประเภท กล่าวคือ เบญจขันธ์ สฬายตนะ และ ปฏิจจสมุปบาทมีอาการสิบสอง เช่นเดียวกับในอานาปานสติขั้นที่แล้วมา. ส่วนการทำในบทศึกษาทั้งสามนั้น มีอาการ อย่างเดียวกับที่กล่าวแล้วในอานาปานสติขั้นที่สิบสาม. คำว่า สลัดคืน หรือปฏินิสสัคคะ นั้น มีลักษณะ ๒ อย่าง คือ การสลัดคืนซึ่งสิ่งนั้นออกไปโดยตรง อย่างหนึ่ง ; หรือมี จิตน้อมไปในนิพพานอันเป็นที่ดับสนิทแห่งสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น อีกอย่างหนึ่ง. อย่างแรกมีความหมายเป็นการสลัดสิ่งเหล่านั้นออกไปในทำนองว่าผู้สลัดยังคง อยู่ในที่เดิม ; อย่างหลังมีความหมายไปในทำนองว่า สิ่งเหล่านั้นอยู่ในที่เดิม ส่วนผู้สลัดผลหนีไปสู่ที่อื่น.ถ้ากล่าวอย่างบุคคลาธิษฐานก็เหมือนอย่างว่า เป็นคนละอย่าง แต่ย่อมมีผลในทางธรรมาธิษฐานเป็นอย่างเดียวกัน เปรียบเหมือนบุคคลที่สลัดสิ่งอันเป็นที่รักที่พอใจ เขาจะกระทำโดยเอาสิ่งเหล่านั้นไปทิ้งเสีย หรือจะกระทำโดยวิธีหนีไปให้พ้นจากสิ่งเหล่านั้นก็ตาม ผลย่อมมีอยู่เป็นอย่างเดียวกัน คือความปราศจากสิ่งเหล่านั้น.การที่ท่านกล่าวไว้เป็น ๒ อย่างดังนี้ เพื่อการสะดวกในการที่จะเข้าใจสำหรับบุคคลบางประเภทที่มีสติปัญญาต่างกัน มีความหมายในการใช้คำพูดจาต่างกัน เท่านั้น ; แต่ถ้าต้องการความหมายที่แตกต่างกันจริง ๆ แล้ว ก็พอที่จะแบ่งออกได้เป็น ๒ อย่าง ดังนี้ คือ :-
    (๑) สิ่งใดยึดถือไว้ โดยความเป็นของ ของตน (อตฺตนียา) การสลัดคืนสิ่งนั้นกระทำได้ด้วยการสละสิ่งนั้นเสีย กล่าวคือการพิจารณาจนเห็นว่าไม่ควรจะถือว่าเป็นของของตน.
    (๒) สิ่งใดที่ถูกยึดถือไว้โดยความเป็นตน (อตตา) การสละสิ่งนั้น ๆ นั้นกระทำได้ด้วยการน้อมไปสู่นิพพาน กล่าวคือ ความดับสนิทแห่งสิ่งนั้น ๆ เสีย.

    อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาโดยละเอียดแล้วจะเห็นได้ว่า สิ่งที่ยึดถือไว้โดยความเป็นของตนนั้น สลัดได้ง่ายกว่าสิ่งที่ยึดถือไว้โดยความเป็นตัวตน ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่ยึดถือไว้โดยความเป็นของตน นั้นเป็นเพียงสิ่งเกาะอยู่กับตน หรือเป็นบริวารของตน จึงอยู่ในฐานะที่จะทำการสลัดคืนได้ก่อน. ข้อนี้เปรียบเทียบได้ง่าย ๆ กับความรู้สึกว่า ตัวกูและของกู : สิ่งที่เป็น “ของกู” อาจจะปลดทิ้งไปได้โดยง่าย กว่าสิ่งที่เป็น “ตัวกู” ซึ่งไม่รู้จะปลดอย่างไร จะทิ้งอย่างไร ขืนทำไปก็เท่ากับเป็นการเชือดคอตัวเองตาย ซึ่งยังไม่สมัครจะทำ. แต่สำหรับสิ่งที่เป็น“ของกู” นั้น อยู่ในวิสัยที่จะสละได้ ด้วยความจำใจก็ตาม ด้วยความสมัครใจเพื่อแลกเปลี่ยนกับสิ่งอื่น เป็นต้นก็ตาม หรือแม้เพราะหลุดมือไปเองก็ยังเป็นสิ่งที่อาจจะมีได้ ; ส่วนสิ่งที่เรียกว่าตัวกูนั้นยังเป็นสิ่งที่มืดมนท์ต่อการที่จะสลัดออกไป หรือหลุดออกไปเอง ทั้งนี้เป็นเพราะมันเป็นตัว ๆ เดียวกันกับที่ยืนโยงอยู่ในฐานะที่เป็นประธานของการกระทำทุกอย่าง. ฉะนั้น การที่จะสลัดคืนเสียซึ่งตัวกู จักต้องมีอุบายที่ฉลาดไปกว่าการสละของกู. เมื่อกล่าวโดยบุคคลาธิษฐานก็เป็นการกล่าวได้ว่า เมื่อตัวกูอยากสลัดตัวเองขึ้นมาจริง ๆ แล้ว ก็ต้องวิ่งเข้าหาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งสามารถทำลายตัวกูให้หมดไปโดยไม่มีส่วนเหลือ และข้อนี้ก็เป็นการแสดงให้เห็นความหมายที่แตกต่างกันอยู่เป็น ๒ ประการ กล่าวคือ “ตัวกู” ได้สลัดสิ่งซึ่งเป็นของกูแล้ว เหลือแต่ตัวกู จึงวิ่งเข้าไปสู่สิ่งซึ่งสามารถดับตัวกูได้สิ้นเชิงอีกต่อหนึ่ง. ความแตกต่างในตัวอย่างนี้ ย่อมแสดงให้เห็นความแตกต่าง ๒ อย่าง ดังที่กล่าวแล้วข้างต้นได้โดยชัดเจน คือจิตสลัดสิ่งทั้งหลายทั้งปวงเป็นการสลัดคืนอย่างที่หนึ่ง และจิตแล่นไปสู่นิพพานอันเป็นที่ดับของสิ่งทั้งปวงรวมทั้งจิตเองด้วย นี้ก็อย่างหนึ่ง เป็น ๒ อย่างด้วยกัน ดังนี้.

    ถึงกระนั้นก็ตาม เมื่อกล่าวในทางปฏิบัติจริง ๆ แล้ว ความแตกต่างทั้ง ๒ อย่างนี้ ก็ยังคงเป็นเพียงความแตกต่างในทางนิตินัยไปตามเดิม ส่วนทางพฤตินัยนั้นย่อมมีวิธีปฏิบัติ และผลแห่งการปฏิบัติอย่างเดียวกันแท้.วิธีปฏิบัติเพื่อความสลัดเบญจขันธ์ หรืออายตนะออกไปนั้น มิได้หมายถึงการสลัดอย่างวัตถุ เช่นการโยนทิ้งออกไปเป็นต้นได้ แต่หมายถึงการสลัดด้วยการถอนอุปาทานหรือความยึดมั่นอย่างใดอย่างหนึ่งให้ ได้จริง ๆ เท่านั้น. การถอนอุปาทานนั้น ต้องกระทำด้วยการทำความเห็นแจ้งต่อ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาจนกระทั่งเห็นความว่างจากตัวตน ไม่ว่าจะเป็นตนฝ่ายที่เป็นเจ้าของ หรือเป็นตนฝ่ายที่ถูกยึดถือเอาเป็นของของตน. เมื่อว่างจากตนทั้งสองฝ่ายดังนี้แล้ว จึงจะถอนอุปาทานได้ และมีผลเป็นความไม่ยึดถือสิ่งซึ่งเป็นต้นเหตุแห่งความทุกข์ไว้อีกต่อไป. แม้ในการพิจารณา เพื่อถอนความยึดถือในเบญจขันธ์ หรืออายตนะส่วนใดส่วนหนึ่ง ซึ่งถูกยึดถือว่าตน ก็ต้องทำโดยวิธีเดียวกันแท้ คือพิจารณาเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อีกนั่นเอง หากแต่เลี่ยงไปในทำนองว่า ทั้งหมดนี้เมื่อเป็นอย่างนี้มันเป็นทุกข์ เมื่อไม่อยากทุกข์ก็น้อมจิตไปเพื่อความดับสนิทไม่มีเหลือของสิ่งเหล่านี้ เสีย จะได้ไม่มีอะไรทุกข์อีกต่อไป เรียกว่าเป็นการน้อมไปสู่นิพพานหรือมีจิตแล่นไปสู่นิพพาน แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่า ต้องรอไปจนกว่าร่างกายจะแตกดับ หรือว่าจะต้องรีบทำลายร่างกายนี้เสียด้วยการฆ่าตัวตาย ดังนี้ก็หาไม่.การฆ่าตัวตายไม่ได้ทำให้อุปาทานนั้นหมดไป กลับเป็นอุปทานอีกอย่างหนึ่ง อย่างเต็มที่อยู่ทีเดียว จึงจะฆ่าตัวตายได้. ส่วนการรอไปจนร่างกายแตกทำลายนั้นไม่ใช่วิธีของการปฏิบัติ และการแตกทำลายของร่างกายนั้น มิได้หมายความว่าเป็นการหมดอุปาทาน เพราะคนและสัตว์ตามธรรมดาสามัญก็มีการแตกตายทำลายขันธ์อยู่เองแล้วเป็น ประจำทุกวัน ไม่เป็นการทำลายอุปทานได้ ด้วยอาการสักว่าร่างกายแตกทำลายลง. เพราะฉะนั้นการฆ่าตัวเองตายก็ดี การรอไปจนแตกทำลายเองก็ดี ไม่เป็นการดับอุปาทานที่ยึดถือว่าตัวตนได้แต่อย่างใดเลย จึงไม่แล่นไปสู่นิพพานได้ด้วยการทำอย่างนั้น ยังคงทำได้แต่โดยวิธีที่ยังมีชีวิตอยู่นี่แหละ.

    เมื่อพิจารณาเห็นว่า ถ้ามีความยึดถือว่าตัวตนอยู่เพียงใดแล้ว ก็จะต้องมีความทุกข์นานาชนิดอยู่ที่ตนเพียงนั้น จึงน้อมจิตไปในทางที่จะไม่ให้มีตนเพื่อเป็นที่ตั้งของความทุกข์อีกต่อไป นิ้เรียกว่ามีจิตน้อมไปเพื่อความดับสนิทของตน ซึ่งเรียกได้ว่าน้อมไปเพื่อนิพพาน แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาทำการปฏิบัติ เพื่อให้เห็น อนิจจัง ทุกขังอนัตตา ในระดับสูงสุด ซึ่งทำให้ไม่รู้สึกว่ามีตัวตนเหลืออยู่จริง ๆ มีแต่สังขารธรรมล้วน ๆ หมุนไปตามเหตุตามปัจจัยของมัน. สิ่งที่เรียกว่าความทุกข์ เช่นความแก่ความตาย เป็นต้น ก็รวมอยู่ในกลุ่มนั้น คือเป็นสังขารธรรมส่วนหนึ่งในบรรดาสังขารธรรมทั้งหมด ที่หมุนเวียนไปตามเหตุตามปัจจัยของมัน ไม่มีส่วนไหนที่มีความยึดถือว่าเป็นตัวเราหรือของเรา แม้แต่จิตที่กำลังรู้สึกนึกคิดได้ หรือกำลังมองเห็นความเป็นไปของสังขารธรรมเหล่านั้นอยู่ จิตนั้นก็มิได้ยึดถือตัวมันเองว่าเป็นตัวตน หรือยึดถือตัวมันว่าเป็นจิต – ผู้รู้ ผู้เห็น : แต่กลับไปเห็นว่าตัวจิตนั้นก็ดี การรู้การเห็นนั้นก็ดี เป็นแต่เพียงสังขารธรรมล้วน ๆ อีกนั่นเอง และเห็นว่าสังขารธรรมทั้งหมดทั้งสิ้นนั้น ก็เป็นสักว่าสังขารธรรม คือเป็นธรรมชาติหรือธรรมดาที่เป็นอยู่อย่างนั้นเอง หาใช่เป็นตัวเป็นตนเป็นเราเป็นเขา เป็นผู้ยึดครองหรือถูกยึดครอง ดังนี้เป็นต้นแต่ประการใด เมื่อจิตเข้าถึงความว่างจากตัวตนอย่างแท้จริง ดังนี้แล้ว ก็เท่ากับเป็นการดับตัวเองโดยสิ้นเชิง ซึ่งเรียกว่านิพพานในที่นี้.

    เพราะฉะนั้นปฏินิสสัคคะ คือการสลัดคืนชนิดที่ใช้อุบายด้วยการทำจิตให้แล่นไปสู่นิพพานนั้น ก็มีวิธีปฏิบัติ มีความหมายแห่งการปฏิบัติ และมีผลแห่งการปฏิบัติเป็นอย่างเดียวกันกับปฏินิสสัคคะ ชนิดที่มีอุบายว่าสลัดสิ่งทั้งปวงเสีย ;เพราะว่าอุบายทั้ง ๒ วิธีนี้ ล้วนแต่มีความหมายอย่างเดียวกัน คือทำความว่างจากตัวตนหรือที่เรียกว่าสุญญตานั้นให้ปรากฏขึ้นมาให้จนได้ ถ้าไปเพ่งความว่างของฝ่ายสิ่งที่ถูกยึดถือก็เรียกว่าสลัดสิ่งเหล่านั้นออกไป แต่ถ้าเพ่งความว่างของฝ่ายที่เป็นผู้ยึดถือกล่าวคือจิต ก็กลายเป็นการทำ จิตนั้นให้เข้าถึงความว่าง (คือเป็นนิพพานไปเสียเอง) ความมุ่งหมายจึงเป็นอย่างเดียวกัน คือเป็นการให้ทั้ง ๒ ฝ่ายเข้าถึงความว่างโดยเสมอกัน ความทุกข์ก็เกิดขึ้นไม่ได้ : และโดยพฤตินัยทั้ง ๒ อย่างนั้นเป็นอย่างเดียวกัน คือมีแต่เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าถึงที่สุดจริง ๆ แล้วมันก็ดับทุกข์ทั้งปวงได้ด้วยกันทั้งนั้น. และการที่ให้สิ่งทั้งหลายทั้งปวงว่างไปโดยที่จิตยังเหลืออยู่เป็นตัวตนไม่ ต้องว่างนั้น เป็นสิ่งที่มีไม่ได้หรือทำ ไม่ได้เพราะว่าสิ่งที่เรียกว่าความว่างนั้น มันมีเพียงอย่างเดียวตัวเดียวหรือสิ่งเดียวถ้าลงเข้าถึงจริง ๆ แล้ว มันจะทำให้ว่างหมด ทั้งฝ่ายผู้ยึดถือ และฝ่ายสิ่งที่ถูกยึดถือทั้งหลายทั้งปวง ฉะนั้น โดยพฤตินัยเมื่อปฏิบัติถึงที่สุดแล้ว ย่อมว่างไปทั้งสองฝ่ายพร้อมกันในทันใดนั้นเอง ; ถ้าผิดจากนี้มันเป็นเพียงความว่างชนิดอื่น คือความว่างที่ไม่จริงแท้ เป็นความว่างชั่วคราว และเพียงบางขั้นบางตอนของการปฏิบัติที่ยังไม่ถึงที่สุด มีผลเพียงทำ ให้ปล่อยวางสิ่งนั้น ๆ ได้ชั่วคราว และก็ปล่อยได้เฉพาะแต่ฝ่ายที่ปล่อยง่าย เช่นฝ่ายที่ถูกยึดถือไว้โดยความเป็นของของตน หรือของกูบางส่วนเท่านั้น แต่ไม่กระทบกระเทือนถึงตัวตนหรือตัวกูเลย. ต่อเมื่อใดสุญญตาหรือความว่างอันแท้จริงปรากฏออกมา เมื่อนั้นจึงจะว่างอย่างแท้จริง และไม่มีอะไรรอหน้าเป็นตัวตนอยู่ได้ ตัวตนฝ่ายการกระทำ ก็ดี ตัวตนฝ่ายที่ถูกกระทำก็ดี ตัวการกระทำ นั้น ๆ ก็ดี ตัวผลแห่งการกระทำ นั้น ๆ ก็ดี ไม่ว่าจะถูกจัดไว้เป็นฝ่ายกุศลหรือฝ่ายอกุศล หรือฝ่ายอัพ์ยากฤต คือมิใช่ทั้งกุศลและอกุศลก็ดีย่อมเข้าถึงความว่างไปด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น. อาการแห่งการสลัดคืน กล่าวคือปฏินิสสัคคะมีขึ้นได้ถึงที่สุดโดยไม่ต้องมีใครเป็นตัวผู้สละคืน เพราะเป็นของว่างไปด้วยกันทั้งหมด แม้แต่ตัวการสลัดคืน ตัวสิ่งที่ถูกสลัดคืน ก็ยังคงเป็นของว่างกล่าวคือเป็นความดับสนิทแห่งความมีตัวตนนั่นเอง. ฉะนั้น เมื่อกล่าวโดยปรมัตถ์หรือโดยความจริงอันสูงสุดแล้ว ย่อมกล่าวได้ว่าความว่างอย่างเดียวเท่านั้น เป็นตัวความสลัดคืนอย่างแท้จริง และมีเพียงอย่างเดียว หามีเป็น ๒ อย่างหรือหลายอย่างดังที่กล่าวโดยโวหารแห่งการพูดจา ด้วยการแยกเป็นฝักฝ่าย ดังที่กล่าวอย่างบุคคลาธิษฐานข้างต้นนั้นไม่.

    เบญจขันธ์ก็ดี อายตนะภายในทั้งหกก็ดี อาการปรุงแต่งซึ่งกันและกันของสิ่งเหล่านั้น อันเรียกว่าปฏิจจสมุปบาทก็ดี เป็นสิ่งที่อาจถูกสลัดคืนโดยสิ้นเชิงได้ด้วยการทำให้เข้าถึงความว่าง ดังที่กล่าวแล้วนั่นเอง.การพิจารณาเบญจขันธ์โดยความเป็นของว่าง๑ นั้น ย่อมเป็นการสลัดคืนซึ่งเบญจขันธ์อยู่ในตัวมันเอง กล่าวคือ ก่อนหน้านี้รับหรือยึดถือเบญจขันธ์บางส่วนว่า เป็นตัวตน บางส่วนว่า เป็นของตน ด้วยอำนาจของอุปาทาน บัดนี้เบญจขันธ์นั้นถูกพิจารณาเห็นตามที่เป็นจริง คือเป็นของว่างไปหมดไม่เป็นที่ตั้งแห่งอุปาทานอีกต่อไป อุปาทานจึงดับลง. เมื่ออุปาทานดับก็ไม่มีอะไรที่จะเป็นเครื่องยึดถือ และเบญจขันธ์ก็เป็นของว่างไปแล้ว. เมื่อไม่มีการยึดถือหรือการรับไว้เช่นนี้ ก็มีผลเท่ากับเป็นการสลัดคืน ทั้งที่ไม่ต้องมีตัวผู้สลัดคืนเพราะจิตและอุปาทานก็กลายเป็นของว่างจากตัว ตนไป.

    สรุปความได้ว่า การพิจารณาเบญขันธ์ให้เป็นของว่างนั่นแหละ คือการสลัดเบญขันธ์ทิ้งออกไปซึ่งเรียกว่า ปริจจาคปฏินิสสัคคะ ; และพิจารณาเห็นจิตเป็นของว่างจากตัวตนนั่นแหละคือการทำจิตให้แล่นเข้าไปสู่ นิพพาน อันเป็นที่ดับของเบญจขันธ์ทั้งปวงซึ่งรวมทั้งจิตนั้นเองด้วย อันนี้เรียกว่า ปักขันทนปฏินิสสัคคะ. การพิจารณาเบญจขันธ์เป็นของว่าง ก็คือการพิจารณาโดยความเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาจนถึงที่สุด ตามนัยอันกล่าวแล้วโดยละเอียดขั้นที่สิบสามเป็นต้น.การพิจารณาอายตนะภายใน ทั้งหก โดยความเป็นของว่าง ก็มีลักษณะอย่างเดียวกันกับเรื่องของเบญจขันธ์ เพราะอายตนะภายในทั้งหกนั้นเป็นส่วนหนึ่งของเบญจขันธ์ได้แก่ขันธ์ที่ทำ หน้าที่รู้อารมณ์ที่มาสัมผัสนั่นเอง หรืออีกอย่างหนึ่งก็กล่าวได้ว่าหมายถึงกลุ่มแห่งเบญจขันธ์ ในขณะที่ทำหน้าที่รับอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ นั่นเอง การทำให้สิ่งทั้งหกนี้เป็นของว่าง ก็คือการพิจารณาโดยความเป็นสังขาร หรือความเป็นธรรมชาติล้วน ๆ หามีความเป็นตัวตนแต่อย่างใดไม่ แต่มีลักษณะเป็นเครื่องกลไกตามธรรมชาติของมันเอง ในการที่จะรับอารมณ์ได้ ตามธรรมดาของรูปธรรมและนามธรรมที่กำลังจับกลุ่มกันอยู่ซึ่งสามารถทำอะไรได้ อย่างน่ามหัศจรรย์ จนเกิดความสำคัญผิดไปว่า สิ่งเหล่านี้เป็นอัตตาหรือตัวตน หรือว่ามีอัตตาตัวตนอยู่ในสิ่งเหล่านี้. การพิจารณาสิ่งเหล่านี้จนกระทั่งเห็นโดยความเป็นของว่างนั้น จัดเป็นปักขันทนปฏินิสสัคคะโดยแท้ โดยใจความก็คือแยกขันธ์ส่วนที่เป็นจิตออกมาพิจารณาโดยความเป็นของว่างนั่น เอง.

    การพิจารณาอาการแห่งปฏิจจสมุปบาท โดยความเป็นของว่างนั้นเป็นการพิจารณาให้เห็นว่า กลไกโดยอัตโนมัติของรูปธรรมและนามธรรมกล่าวคือ การปรุงแต่งนั่นนี่สืบกันไปเป็นสายไม่มีหยุดนั้น ก็เป็นเพียงกลไกตามธรรมชาติของรูปธรรมนามธรรมที่สามารถทำหน้าที่อย่างนั้น เองได้โดยอัตโนมัติในตัวธรรมชาติเองล้วน ๆไม่ต้องมีอัตตาหรือเจตภูตเป็นต้นอะไรที่ไหนเข้าไปเป็นตัวการในการกระทำ หรือใช้ให้ทำแต่อย่างใดเลย มันเป็นเพียงการเคลื่อนไหวของธรรมชาติล้วน ๆ ปรุงแต่งกันเองในเมื่อเข้ามาเกี่ยวข้องกันมีการกระทำตอบแก่กันและกัน ผลักดันเป็นเหตุและผลแก่กันและกัน จึงเกิดอาการปรุงแต่งเรื่อยไปไม่มีหยุด. เพราะฉะนั้น รูปธรรมและนามธรรมเหล่านั้น ในขณะที่กำลังเป็นเหตุเป็นปัจจัยก็ดี หรือในขณะที่กำลังเป็นผลหรือเป็นวิบากก็ดีและอาการต่าง ๆที่มันปรุงแต่งกันเพื่อให้เกิดเป็นผลมาจากเหตุแล้วผลนั้นกลายเป็นเหตุต่อ ไปในทำนองนี้อย่างไม่มีหยุดหย่อนก็ดี ล้วนแต่เป็นอาการตามธรรมชาติของรูปธรรมนามธรรมล้วน ๆ ไม่มีอัตตาหรือตัวตนอะไรที่ไหนที่มีส่วนเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยเลยทุกส่วนจึง ว่างจากความหมายแห่งความเป็นตัวตน และความเป็นของของตนโดยสิ้นเชิง. นี้คืออาการสลัดคืนออกไปเสียได้ซึ่งปฏิจจสมุปบาทธรรมทุก ๆ ส่วนทั้งที่เป็นส่วนเหตุ และส่วนผล และส่วนที่กำลังเป็นเพียงอาการปรุงแต่ง. ฉะนั้นจึงเป็นอันกล่าวได้ว่าการสลัดคืนซึ่งกลุ่มแห่งปฏิจจสมุปบาทนี้ เป็นทั้งบริจาค-ปฏินิสสัคคะ และเป็นทั้งปักขันทนปฏินิสสัคคะ กล่าวคือ สลัดคืนเสียได้ทั้งส่วนที่เป็นเบญจขันธ์ คือส่วนที่เป็นผล และทั้งส่วนที่ถูกสมมติว่าเป็นจิตเป็นผู้ทำกิริยาอาการเหล่านั้น อันเกิดขึ้นจากความไม่รู้จริง หรือความหลงผิดโดยสิ้นเชิง.

    เมื่อประมวลเข้าด้วยกันทั้ง ๓ อย่าง ก็เป็นอันกล่าวได้ว่าเป็นการสลัดคืนเสียซึ่งโลกในฐานะเป็นอารมณ์และสลัดคืน เสียซึ่งจิตในฐานะเป็นผู้เสวยอารมณ์คือโลก และสลัดเสียซึ่งการเกี่ยวข้อง หรือการปรุงแต่งผลักดันกันต่าง ๆ บรรดาที่มีอยู่ในโลก ที่ปรุงแต่งโลก หรือที่เกี่ยวพันกันระหว่างโลกกับจิตซึ่งเป็นผู้รู้สึกต่อโลก เมื่อสละคืนเสียได้ทั้งหมด ๓ ประเภทดังนี้แล้ว ก็เป็นอันว่าไม่มีอะไรเหลืออยู่สำหรับเป็นที่ตั้งของความทุกข์หรือความยึด ถือซึ่งเป็นเหตุแห่งความทุกข์อีกเลยแม้แต่น้อย มีอยู่ก็แต่ความไม่มีทุกข์ ความดับเย็น ความสงบรำงับ ความหลุดพ้น ความปล่อยวาง ไม่มีการแยกถือโดยประการทั้งปวง หรืออะไรอื่นก็ตามแล้วแต่จะเรียก แต่รวมความว่าเป็นที่สิ้นสุด หรือเป็นที่จบลงโดยเด็ดขาดของสังสารวัฏฏ์ กล่าวคือกระแสของความทุกข์ ซึ่งเรานิยมเรียกภาวะเช่นนี้ว่าเป็นการลุถึงนิพพาน.ทั้งหมดนี้เป็นการแสดง ให้เห็นได้ว่าปฏินิสสัคคะคือการสลัดคืนนั้นมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไรกับ ความหมายของคำว่านิพพาน.

    ส่วน ปัญหาที่ว่าทำอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่าปฏินัสสัคคานุปัสสี กล่าวคือผู้ตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำนั้น อธิบายว่าผู้ปฏิบัติอานาปานสติมาจนถึงขั้นนี้แล้ว จะต้องเปลี่ยนกฎเกณฑ์ในการกำหนดพิจารณากันเสียใหม่ คือย้ายให้สูงขึ้นไป ให้เกิดมีความรู้สึกชัดแจ้งในการสลัดคือนของตน. คือหลังจากเห็นความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาแล้ว เกิดความพอใจในการที่คลายความยึดถือหรือในความดับแห่งสังขารทั้งปวงแล้ว ทำจิตให้วางเฉยต่อสังขารทั้งหลาย ที่ได้พิจารณาเห็นโดยความเป็นของว่างอย่างแท้จริงอยู่ทุกลมหายใจเข้า – ออก.ทางที่ดีที่สุดเขาจะต้องย้อนไปเจริญอานาปานสติขึ้นมาใหม่ ตั้งแต่ขั้นที่หนึ่ง แล้วค่อยเพ่งพิจารณาทุกสิ่งทุกอย่างที่ปรากฏ นับตั้งแต่ลมหายใจ นิมิตและองค์ฌานขึ้นมาจนถึงธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือดยตรงเช่นสุข เวทนาในฌานและจิตที่กำหนดสิ่งต่าง ๆ ให้เห็นโดยความเป็นของควรสลัดคืน หรือต้องสลัดคืนอย่างที่ไม่ควรจะยึดถือไว้แต่ประการใดเลย ;แล้วเพ่งพิจารณาไปในทำนองที่สิ่งเหล่านั้นเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ยิ่งขึ้นไปตามลำดับ จนจิตระกอบอยู่ด้วยความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด ต่อสิ่งเหล่านั้น ประกอบอยู่ด้วยธรรมเป็นที่ดับแห่งสิ่งเหล่านั้น คือความเห็นแจ่มแจ้ง ว่าสิ่งเหล่านั้นไม่ได้มีตัวตนอยู่จริง จนกระทั่งได้ปล่อยวาง หรือว่างจากความยึดถือในสิ่งเหล่านั้นยิ่งขึ้นไปตามลำดับจนกว่าจะถึงที่สุด แห่งกิจที่ต้องทำ คือปล่อยวางด้วยสมุจเฉทวิมุตติจริง ๆ.

    แม้ในระยะต้น ๆ ที่ยังเป็นเพียงตทังควิมุตติ คือพอสักว่ามาทำอานาปานสติ จิตปล่อยวางเองก็ดี และในขณะแห่งวิกขัมภนวิมุตติ คือจิตประกอบอยู่ด้วยฌานเต็มที่มีการปล่อยวางไปด้วยอำนาจของฌานนั้นจนตลอด เวลาแห่งฌานก็ดี ก็ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ต้องพยายามกระทำด้วยความระมัดระวัง อย่างสุขุมแยบคายที่สุดอยู่ทุกลมหายใจเข้า – ออกจริง ๆ. เมื่อกระทำอยู่ดังนี้ จะเป็นารกระทำที่กำหนดอารมณ์อะไรก็ตามในระดับไหนก็ตาม ล้วนแต่ได้ชื่อว่าเป็นปฏินิสสัคคานุปัสสีด้วยกันทั้งนั้น.เมื่อกระทำอยู่ ดังนี้ก็ชื่อว่าเป็นการเจริญธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน-ภาวนาขั้นสุดท้ายเป็น ภาวนาที่แท้จริง ประมวลมาได้ซึ่งสโมธานธรรม ๒๙ ประการในระดับสูงสุดของการปฏิบัติบำเพ็ญอานาปานสติ ในขั้นที่เป็นวิปัสสนาภาวนาโดยสมบูรณ์.
วินิจฉัยในอานาปานสติขั้นที่สิบหกสิ้นสุดลงเพียงเท่านี้.

    สำหรับจตุกกะที่สี่นี้ จัดเป็นธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐานภาวนาด้วยกันทั้งนั้น. ขั้นแรกพิจารณาความเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งสรุปรวมลงได้เป็นสุญญตา มีความหมายสำคัญอยู่ตรงที่ว่างอย่างไม่น่ายึดถือ ขืนยึดถือก็เป็นทุกข์.ขั้นต่อมากำหนดพิจารณา ในการทำความจางคลายจากความยึดถือ ต่อสิ่งเหล่านั้นเพราะเกลียดกลัวโทษ กล่าวคือ ความทุกข์อันเกิดมาจากความยึดถือ. ขั้นต่อมาอีกกำหนดพิจารณาไปในทำนองที่จะให้เห็นว่า มันมิได้มีตัวตนอยู่จริงไปทั้งหมดทั้งสิ้นหรือทุกสิ่งทุกอย่าง การยึดถือเป็นยึดถือลม ๆ แล้ง ๆ เพราะว่าตัวผู้ยึดถือก็ไม่ได้มีตัวจริง สิ่งที่ถูกยึดถือก็ไม่ได้มีตัวจริง แล้วการยึดถือมันจะมีตัวจริงได้อย่างไร ;พิจารณาไปในทางที่จะดับตัวตนของสิ่งทั้งปวงเสียโดยสิ้นเชิง. ส่วนขั้นที่สี่อันเป็นขั้นสุดท้ายนั้น กำหนดพิจารณาไปในทางที่สมมติเรียกได้ว่า บัดนี้ได้สลัดทิ้งสิ่งเหล่านั้นออกไปหมดแล้ว ด้วยการทำให้มันว่างลงไปได้จริง ๆ คือสิ่งทั้งปวงเป็นของว่างไปแล้ว และ จิตก็มีอาการที่สมมติเรียกว่า “เข้านิพพานเสียแล้ว” คือสลายตัวไปในความว่างหรือสุญญตานั้น ไม่มีอะไรเหลืออยู่เป็นตัวตน เพื่อยึดถืออะไร ๆ ว่าเป็นของตนอีกต่อไปเลย.

    การปฏิบัติหมวดนี้ ได้ชื่อว่าพิจารณาธรรม ก็เพราะพิจารณาที่ตัวธรรม ๔ ประการโดยตรง คือพิจารณาที่ อนิจจตา วิราคะ นิโรธะ และปฏินิสสัคคะ โดยนัยดังที่กล่าวแล้วต่างจากจตุกกะที่หนึ่ง เพราะในที่นั้นพิจารณากายคือลมหายใจ ;ต่างจากจตุกกะที่สอง เพราะในที่นั้นพิจารณาเวทนาโดยประการต่าง ๆ ; ต่างจากจตุกกะที่สาม เพราะในที่นั้นพิจารณาที่จิตโดยวิธีต่าง ๆ ; ส่วนในที่นี้เป็นการพิจารณาที่ธรรม กล่าวคือ สภาวะธรรมดา ที่เป็นความจริงของสิ่งทั้งปวง ที่รู้แล้วให้จิตหลุดพ้นจากทุกข์ได้ ต่างกันเป็นชั้น ๆ ดังนี้.
อานาปานสติ จตุกกะที่สี่จบ.

ประมวลจตุกกะทั้งสี่

    จตุกกะที่หนึ่งเป็นสมถภาวนาล้วน ส่วนจตุกกะที่สองและที่สามเป็นสมถภาวนาที่เจือกันกับวิปัสสนาภาวนาส่วนจตุ กกะที่สี่นี้ เป็นวิปัสสนาภาวนาถึงที่สุด.สมถภาวนา คือการกำหนดโดยอารมณ์หรือนิมิต เพื่อความตั้งมั่นแห่งจิต มีผลถึงที่สุดเป็นฌาน ; ส่วนวิปัสสนาภาวนานั้น กำหนดโดยลักษณะคือความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ทำจิตให้รู้แจ้งเห็นแจ้งในสิ่งทั้งปวงมีผลถึงที่สุดเป็นญาณ : เป็นอันว่าอานาปานสติทั้ง ๑๖ วัตถุนี้ ตั้งต้นขึ้นมาด้วยการอบรมจิตให้มีกำลังแห่งฌานด้วยจตุกกะที่หนึ่ง แล้วอบรมกำลังแห่งญาณให้เกิดขึ้นผสมกำลังแห่งฌานในจตุกกะที่สอง ที่สาม โดยทัดเทียมกัน และกำลังแห่งญาณเดินออกหน้ากำลังแห่งฌาน ทวียิ่งขึ้นไปจนถึงที่สุดในจตุกกะที่สี่ จนสามารถทำลายอวิชชาได้จริงในลำดับนั้น.

วินิจฉัยในอานาปานสติ อันมีวัตถุสิบหก และมีจตุกกะสี่ สิ้นสุดลงเพียงเท่านี้.

มองเห็นความจริงของกายของใจฝั่งข้างนี้อันเป็นที่น่ารังเกียจ เต็มไปด้วย ภัยอันตรายนั้น เป็นชื่อแห่งร่างกายของตน คำว่า ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษม ปลอดภัยนั้น เป็นชื่อแห่งนิพพาน คำว่า แพนั้น เป็นชื่อแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ คือ สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ คำว่า พยายามข้ามไปด้วยมือและเท้า เป็นชื่อแห่งวิริยารัมภะ คำว่า ผู้เป็นพราหมณ์ว่ายข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้วขึ้นบกไป เป็นชื่อแห่งพระอรหันต์

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก...

สมาธิไม่ใช่เรื่องยากอะไร จิตมันฟุ้งซ่านไป ฟุ้งไปในอารมณ์โน้นฟุ้งไปในอารมณ์นี้ ถ้าเรามีสติรู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน ความฟุ้งซ่านจะดับโดยอัตโนมัติ มันมีกฎของธรรมะข้อนึงก็คือ กิเลสกับกุศลเนี่ยจะไม่เกิดร่วมกัน สติเป็นตัวกุศลนะ เพราะนั้นถ้าเมื่อไหร่เรามีสติอยู่ จิตฟุ้งซ่านเรามีสติรู้ทันปั๊บ จิตสงบอัตโนมัติ

งั้นวิธีที่เราจะทำจิตให้สงบเนี่ยไม่ใช่เรื่องยาก ถ้าเราไม่รู้วิธีแล้วมันก็ยาก เช่นเราอุตสาห์ไปนั่งสมาธินะ นั่งกันเป็นวันๆพุทโธไปหายใจไป ฝึกกันแรมปีนะกว่าจะค่อยๆสงบได้บ้าง บางทีสงบมากๆไปอีกซึมไปเลย ออกจากสมาธิมานะใจก็ซึมๆเซื่องๆ หรือเวลาอยู่ในสมาธิมีความสุขมาก ออกมากระทบอารมณ์ข้างนอกนะ ใจทนไม่ไหว มันคล้ายๆเรามีชีวิตอยู่แต่ในห้องปลอดเชื้อ พอออกมาสู่อากาศข้างนอกโดนเชื้อโรคแป๊บเดียวตายเลย เวลาติดอยู่ในสมาธินะใจสงบสบายมีความสุขนึกว่าไม่มีกิเลส พอออกมากระทบอารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกายใจเท่านั้น กิเลสระเบิดเปรี้ยงปร้างเลย งั้นสมาธิอย่างนั้นไม่ค่อยได้เรื่องอะไรหรอก
เราลองมาฝึกสมาธิชนิดใหม่นะ สมาธิ วิธีการไม่ได้ยากอะไร ความจริงหลวงพ่อไม่ได้คิดเองหรอกนะ มีคำสอนอันนี้อยู่ตั้งแต่ในพระไตรปิฎกก็มี ในสามัญญผลสูตรนะพระพุทธเจ้าสอนอชาตศตรู รู้ทันนิวรณ์ที่เกิดขึ้นที่จิต นิวรณ์มันจะดับอัตโนมัติ อย่างความฟุ้งซ่านเกิดขึ้นที่จิตนะเรารู้ทันว่าจิตฟุ้งซ่านปุ๊บ ความฟุ้งซ่านดับ ทันทีที่นิวรณ์ดับสมาธิเกิด มันง่ายแค่นี้เอง
ครูบาอาจารย์สอนหลวงพ่อภาวนามานะ ท่านสอนให้รู้ทันที่จิตนี้เอง สมาธิมันเกิดขึ้นได้ง่ายๆเลย อย่างใจเราฟุ้งซ่านเก่งมั้ย วันนึงวันนึงนะใจเราหนีไปคิดนับครั้งไม่ถ้วน ร้อยครั้งพันครั้งหมื่นครั้งนะหนีทั้งวัน นั้นเราคอยมีสติรู้ทันนะจิตมันไหลไปแล้ว จิตมันฟุ้งซ่านไปแล้ว จิตมันหนีไปคิดแล้ว ให้เราคอยรู้ทันไว้ ถ้าเรารู้ทันจิตที่ไหลไปคิดจิตจะตั้งมั่น จิตจะตื่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ใช่ผู้คิดผู้นึกผู้ปรุงผู้แต่ง จิตที่เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานเนี่ยเป็นจิตที่มีสมาธิที่ดี สมาธิอย่างนี้เป็นสมาธิที่สำคัญสำหรับการเจริญปัญญา

เมื่อเดินปัญญาแก่รอบเต็มที่แล้ว จิตจะรวมเข้าอัปปนาเอง ในนาทีที่จะตัดสินความรู้บรรลุ อริยมรรค อริยผล ... เจริญปัญญาให้มาก มีแค่ขณิกสมาธินะ ทุกวันพยายามไหว้พระสวดมนต์ไว้ ทำในรูปแบบ จิตหนีไปคิดแล้วรู้ทัน ฝึกให้มันมีขณิกสมาธิ แล้วมาเดินปัญญา รู้กาย รู้ใจ ในชีวิตประจำวัน ...สิ่งใดเกิดขึ้นแล้ว แล้วสิ่งนั้นดับไป อย่างนี้ก็ใช้ได้ ถ้าถึงขนาดเห็นองค์ฌานเกิดดับอย่างนี้มีน้อยเต็มที
ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่­­อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไป ด้วยกำล­­ัง ของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมา ให้เรารู้สึก­­ได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเ­­ห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณ­­าว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกัน­­นะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2560

พระนิพพานคืออะไรภาวนาต่อไป ปฏิบัติต่อไป ปัญญาแก่กล้ามากขึ้นๆ ก็เห็นเลยว่าสิ่งที่ไม่ใช่เราเนี่ยเป็นแค่รูปธรรมนามธรรมทั้งหลายที่มันไม่ใช่ตัวเรา มันเป็นตัวอะไร? มันเป็นตัวทุกข์ล้วนๆเลย เราจะภาวนาจนวันหนึ่งเห็นความจริงนะ ว่ากายนี้เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ จิตนี้เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ ถ้าภาวนาได้อย่างนี้นะมันจะเกิดอาการของจิตที่อัศจรรย์มาก คือมันจะสลัด คืนกาย คืนใจ ให้โลกไป เราจะเข้าถึงอิสระภาพทางจิตใจที่แท้จริงเลย จิตใจที่เข้าถึงสภาวะอันนี้ ไม่มีจุด ไม่มีที่ตั้ง ไม่มีขอบเขต ไม่มีการไป ไม่มีการมา กว้างขวาง เต็มโลกเต็มจักรวาลไปหมด เป็นภาวะที่อิสระอย่างแท้จริง ภาวะอย่างนี้เนี่ยเป็นบรมสุข เป็นความสุขที่ไม่มีอะไรเหมือน ไม่มีความแปรปรวนใดๆอีก เป็นความสุขที่คงที่ ไม่แปรปรวน สิ่งเหล่านี้เนี่ยมีอยู่ในคำสอนของพระพุทธเจ้า ในขณะที่ความสุขอย่างโลกๆที่คนในโลกไขว่คว้ากันเนี่ยเป็นความสุขที่แปรปรวนตลอดเวลา อย่างพวกเราก็เที่ยวหาความสุขมาตั้งแต่เกิดนะ แสวงหาความสุขมาเรื่อยๆ ความสุขมันก็เป็นของแปลก เหมือนๆจะได้มานะ แต่ก็หลุดมือไปทุกที เหมือนจะได้แล้วก็หายไป เหมือนจะได้แล้วก็หายไป ความสุขอย่างโลกๆเป็นความสุขที่อิงอาศัยคนอื่น อิงอาศัยสิ่งอื่น อิงอาศัยคนอื่น เช่นตอนเด็กๆเราต้องอยู่กับพ่อกับแม่ เราถึงจะมีความสุข เป็นวัยรุ่นนะเรามีเพื่อน เราถึงจะมีความสุข ต่อมามีครอบครัว มีความสุข มันอิงอาศัยคนอื่น อิงอาศัยสิ่งอื่น หรืออยากมีชื่อเสียง ชื่อเสียงเนี่ยเรามีชื่อเสียงเองไม่ได้ คนอื่นเขาให้ชื่อเสียง ต้องอาศัยเค้าอีก หรือมีความสุขเพราะมีรูปที่พอใจ เพราะมีเสียง ได้รูป ได้เสียง ได้กลิ่น ได้รส ได้สัมผัสที่พอใจ ความสุขของเราอิงอาศัยของข้างนอก อิงอาศัยคนอื่น อิงอาศัยสิ่งอื่น เช่นต้องได้กินอย่างนี้ถึงจะมีความสุข ต้องได้ยินแบบนี้ถึงจะมีความสุข ได้กลิ่นอย่างนี้มีความสุข กลิ่นอย่างนี้ไม่สุขอะไรอย่างนี้ จิตใจทิ่วิ่งหาความสุขนะมันพล่านไปตลอดเวลา เพราะความสุขนี้มันอิงอาศัยคนอื่น อิงอาศัยสิ่งอื่น ไม่ใช่สุขได้ด้วยตนเอง เมื่อมันอิงอาศัยของข้างนอก อิงอาศัยคนอื่น เราต้องง้อเค้านะ เราเสียอิสระภาพของเราไป เรารักใครเราก็เสียอิสรภาพกับคนๆนั้นน่ะ ต้องเอาใจเค้า ต้องอะไรเค้า พระพุทธเจ้าถึงสอนนะ “ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์” คือที่ใดเราไปผูกพันรักใคร่ผูกพันกับสิ่งใด เราเอาชีวิตของเราไปฝากไว้กับสิ่งนั้นกับคนนั้นน่ะ เราต้องคอยระวัง กลัวจะสูญเสียเค้าไป กลัวจะสูญเสียสิ่งนั้นไป ชีวิตเราหาความสุขที่แท้จริงไม่ได้ พระพุทธเจ้าเกิดมาเป็นกษัตริย์ มีสมบัติในโลกเยอะ มีอะไรต่ออะไรสวยๆงามๆเยอะ ท่านก็ยังเห็นว่ามันหาสาระแก่นสารอะไรไม่ได้ ความสุขที่อิงอาศัยคนอื่น อิงอาศัยสิ่งอื่น คนที่ท่านรักนะถึงวันหนึ่งก็ต้องตายไป เนี่ยท่านรู้แล้วว่าพ่อท่านต้องแก่ต้องตาย ตัวท่านเองก็ไปไม่รอด ถึงวันหนึ่งก็ต้องแก่ต้องตาย ท่านเลยละความสุขปลอมๆเหล่านั้นนะ มาแสวงหาความสุขอันยิ่ง ความสุขอันยิ่งจริงๆนะ พอพ้น ค้นพบนะ คือพระนิพพานนั่นเอง นิพพานมีจริงๆ นิพพานไม่ใช่โลกอุดมคติ ไม่ใช่ยูโทเปียนะ ไม่ใช่อะไรสักอย่างหนึ่งซึ่งไม่มีจริงแล้วตั้งขึ้นมาเพื่อหลอกให้เราทำความดี นิพพานเป็นสภาวะซึ่งมีอยู่จริงๆ มีอยู่ต่อหน้าต่อตา ไม่เคยหายไปไหนเลย แต่จิตของเราเองแหละไม่มีคุณภาพพอที่จะสัมผัสพระนิพพาน นิพพานเป็นสภาวะที่สิ้นตัณหาสิ้นความอยาก เรียกว่าวิราคะ ใจของเรามีความอยากอยู่ตลอดเวลา อยากเห็นรูป อยากได้กลิ่น อยากได้รส อยากได้สัมผัสทางกาย อยากคิดนึกที่สนุกสนานทางใจ เพลิดเพลินทางใจ เนี่ยใจเรามีความอยากเกิดขึ้นตลอดเวลา พอใจเรามีความอยากนะ จะไปเป็นสภาวะที่พ้นจากความอยากไม่ได้ ก็ไม่เห็นพระนิพพาน นิพพานเป็นสภาวะที่สิ้นความปรุงแต่ง เรียกว่าวิสังขาร ใจของเราปรุงแต่งตลอดเวลา เดี๋ยวก็ปรุงชั่วเดี๋ยวก็ปรุงดี บางคนนะเมื่อรู้สึกชั่วก็ไม่เอา ดีก็ไม่เอา เลยปรุงความว่างๆ ไปปรุงความว่างขึ้นมา ปรุงชั่ว เรียกว่า อปุญญาภิสังขาร ปรุงดี เรียกว่า ปุญญาภิสังขาร ปรุงความว่างความไม่มีอะไร เรียก อเนญชาภิสังขาร รากเหง้าของมันก็อันเดียวกันคืออวิชชานั่นเอง ไม่รู้ ความไม่รู้จริง ไม่เห็นแจ้งอริยสัจ ความปรุงแต่งเกิดขึ้นเมื่อไหร่ก็ไม่เห็นนิพพานซึ่งเป็นสภาวะที่พ้นจากความปรุงแต่ง นิพพานเป็นวิมุตตินะ หลุดพ้นจากอาสวะกิเลสที่ห้อหุ้ม จิตของเรามีอาสวะที่ห่อหุ้มอยู่ตลอดเวลา เมื่อวันใดที่อริยมรรคเกิด ทำลายอาสวะไป เมื่อจิตเป็นอิสระไม่มีเปลือกหุ้มนะ จิตเป็นอิสระไป เรียกว่าวิมุตติ งั้นจิตของเราเองแหละที่ทำให้เราไม่เห็นพระนิพพาน เราก็ต้องมาพัฒนาจิตใจของเราให้มีคุณภาพนะ พัฒนายังไงให้สิ้นตัณหา ให้สิ้นความอยาก สิ้นตัณหาได้นะมันก็จะสิ้นความปรุงแต่งได้นะ คือเมื่อไรมีวิราคะ สิ้นตัณหา ก็จะเกิดวิสังขาร ไม่ปรุงแต่ง ก็เกิดวิมุตติ หลุดพ้นออกไป การที่จะมาฝึกจิตฝึกใจให้พ้นจากความอยากเนี่ยไม่ใช่พูดเอาเล่นๆ มีวิธีการปฏิบัติที่ต้องลงมือทำ การลงมือปฏิบัติไม่ใช่ทำอย่างอื่นเลย การปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาเนี่ยคือการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง พระพุทธเจ้าสอนธรรมะที่สำคัญที่สุดชื่ออริยสัจ ท่านบอกว่าอริยสัจเป็นธรรมสำคัญนะ ถ้าไม่รู้แจ้งอริยสัจแล้วเราจะต้องเวียนว่ายตายเกิด ไม่เห็นพระนิพพานหรอก อริยสัจข้อแรกคือ ทุกข์ พวกเรายังไม่เห็นความจริงว่ากายนี้ใจนี้เป็นทุกข์ เรียกว่าเราไม่รู้ทุกข์ เมื่อเราไม่รู้ว่ากายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์นะ มันก็เกิดสมุทัยคือเกิดความอยาก อย่างเราไม่รู้ความจริงว่าร่างกายเป็นตัวทุกข์ เราก็อยากให้ร่างกายเป็นสุขถาวร อยากให้มันสวยมันงามถาวร มันหนุ่มมันสาวถาวร อยากให้มันแข็งแรงถาวร อยากให้มันเป็นอมตะไม่รู้จักตาย ความอยากเนี่ยเกิดจากความไร้เดียงสาที่เราไม่รู้ความจริงว่ากายนี้เป็นตัวทุกข์ ถ้าวันใดที่สติปัญญาเราแก่กล้านะ จะเห็นว่ากายนี้เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ ไม่ใช่เห็นอย่างที่พวกเราเห็น พวกเราเห็นอะไร? เราเห็นว่าร่างกายเนี่ยเป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง รู้สึกไหม ร่างกายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง เมื่อเราเห็นว่าร่างกายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง ความดิ้นรนของจิตก็จะเกิดขึ้น ดิ้นรนยังไง? ดิ้นรนจะให้ร่างกายมีความสุข ดิ้นรนจะให้ร่างกายไม่ทุกข์ เนี่ยเกิดความดิ้นของจิตขึ้นมา ความทุกข์ทางใจมันจะเกิดขึ้น ไม่เห็นพระนิพพานแล้ว นิพพานเป็นสันติ เป็นความสงบสุขของจิตของใจเรานี้เอง ถ้าเมื่อไรเราเห็นความจริงว่ากายเป็นทุกข์ล้วนๆ ความอยากที่จะให้กายเป็นสุขจะไม่เกิด ความอยากให้กายพ้นทุกข์ก็ไม่เกิด ความอยากทั้งหลายไม่ว่าจะมีมากมายแค่ไหนนะ ย่อลงมาประมวลลงมาแล้วก็สรุปได้นิดเดียว เพราะอยากให้กายให้ใจเป็นสุข อยากให้กายให้ใจพ้นทุกข์ ลองไปสังเกตดู ความอยากนานาชนิดที่พวกเรามีนะ จุดสุดท้ายเลย จุดที่ลึกที่สุดเลยนะ คือมันอยากให้กายให้ใจเป็นสุข อยากให้กายให้ใจพ้นทุกข์ ถ้าปัญญาแก่รอบนะเห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ ความอยากให้กายเป็นสุขไม่มี ความอยากให้กายพ้นทุกข์ไม่มี ความอยากไม่มี ถ้าวันใดเห็นว่าจิตนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ ซึ่งพวกเรายังไม่เห็น เราเห็นว่าจิตของเรานี้เป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง รู้สึกไหม จิตใจของเราเป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง มันมีทางเลือก เราก็จะดิ้นรนหาความสุข ดิ้นรนหนีความทุกข์อยู่ตลอดเวลา ดิ้นรนหาความสุขก็มีนานาชนิดตามสติปัญญานะ บางคนก็ดิ้นรนหาความสุขด้วยการสนองความต้องการตลอดเวลา อยากอะไรก็ได้อันนั้นมาเราก็มีความสุข คิดว่าถ้ามีความอยากเกิดขึ้นตอบสนองมันได้แล้วมีความสุข เพราะงั้นอยากมันไม่ได้คงที่ พออยากได้อันนี้ ได้มาปุ๊บ มันอยากอันอื่นต่อไปอีกแล้ว เพราะงั้นใจเลยไม่มีความสุขสักที หิวตลอดเวลาเลย งั้นภาวนาเรื่อยๆไปนะ วันหนึ่งเห็นว่าตัวจิตเป็นทุกข์ล้วนๆ ตรงที่เห็นตัวจิตเป็นทุกข์ล้วนๆเนี่ย ความอยากให้จิตเป็นสุขจะไม่เกิดขึ้น ความอยากให้จิตพ้นทุกข์จะไม่เกิดขึ้น แล้วมันจะไม่ยึดถือจิต ตรงที่ไม่ยึดถือจิตเนี่ยเป็นการปฏิบัติในขั้นสูงสุดนะ ที่หลวงพ่อเล่าเรียนมาจากครูบาอาจารย์ทุกๆองค์นะ ลงท้ายก็มาลงตรงนี้หมดเลย

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าลูกจะขอทราบเกี่ยวกับเรื่องอานิสงส์สักเรื่องหนึ่งว่า วิธีที่จะกราบพระให้ถูกต้องตามแบบฉบับ เพื่อจะมีผลานิสงส์มาก ๆ นั้น จะต้องกราบแบบไหน ขอแบบฉบับวัดท่าซุงเป็นตัวอย่างด้วยเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ ให้กราบด้วยความเคารพอย่างเดียวพอ ให้จิตเคารพนะ ก่อนที่จะกราบพระพุทธเจ้า นึกถึง พระพุทธเจ้า นึกถึงพระพุทธรูปก่อน กราบครั้งที่ ๒ กราบพระธรรม นึกถึงดอกมะลิแก้ว ให้ไหลจาพระโอษฐ์ พระพุทธเจ้าลงหัวเรา กราบครั้งที่ ๓ นึกถึงพระสงฆ์องค์ใดองค์หนึ่งที่เราเคารพ... พอ เอาใจสำคัญกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ถ้าใจไม่เคารพ ไม่มีความหมาย สมาทานพระกรรมฐาน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าคำสมาทานกรรมฐานของหลวงพ่อ ปรากฏว่าลูกท่องไม่ได้เลย ลูกใช้อย่างนี้เจ้าค่ะ พอหลับตาปุ๊บ ลูกบอกว่า กรรมฐานทั้งหลายที่หลวงพ่อให้ลูก ขอสมาทานทั้งหมด ณ กาลบัดนี้แล้วก็หลับตาเลย หลวงพ่อ ใช้ได้เลย ๆ อ้าว นี่ได้จริง ๆ แต่ว่าอย่าลืมนึกถึง พระพุทธเจ้า อย่าเอาแค่หลวงพ่อนะ ว่ากรรมฐานที่หลวงพ่อเรียนมานี่ เป็นของพระพุทธเจ้า ขอยอมรับกรรมฐานทั้งหมด ที่พระพุทธเจ้าสอนทุกสิกขาบท แล้วนอนภาวนา “พุทโธ” หลับไปเลย... ใช้ได้ พื้นฐานการเจริญพระกรรมฐาน ผู้ถาม หลวงพ่อครับ การเจริญพระกรรมฐาน ต้องมีพื้นฐานอะไรบ้างครับ? หลวงพ่อ พื้นฐานเหรอ... ถ้าเป็นชายต้องมีกางเกง... พื้นฐานจริง ๆ ก็มี ศรัทธา ความเชื่อ ตัวนี้ตัวเดียว พระศาสนาเรา ถ้าไม่มีความเชื่อเสียอย่างเดียว ไม่มีอะไรเป็นผล และต้องใช้ ปัญญา ร่วมด้วยนะ เขาแนะนำกันมาเราคิดดู มันควรหรือไม่ควร แต่อีกสิ่งที่เป็นฤทธิ์ มันเกินวิสัยที่เราจะคิด อย่างฤทธิ์ของวิชชา ๓ ฤทธิ์ของอภิญญา ฤทธิ์ของปฏิสัมภิทาญาณ นี่เราคิดไม่ได้ เพราะขืนคิดบ้า คิดยังไงมันก็ไม่ลงตัว มันจะเหมือนกับที่เราคิดไม่ได้ เราจะตัดความสามารถของฤทธิ์ก็ตัดไม่ลง อย่าง วิชชา ๓ มีทิพจักขุญาณ ถือว่ามีฤทธิ์ทางใจ ตามธรรมดาเราไม่สามารถเห็นสิ่งของที่ลี้ลับได้ใช่ไหม... แต่ถ้าเขาได้ ทิพจักขุญาณ..คุณ! ไม่มีอะไรหนาเขาเลย อย่าว่าแต่วางข้างหน้าเลย วางมุมรูปไหนเขาก็รู้ วางโลกไหนก็ได้ทุกโลก นี่ถ้าเขารู้จักใช้นะ ที่ฝึกไปแล้วไม่รู้จักใช้นี่เยอะ ๙๐ เปอร์เซ็นต์ เศษ ๆ หน่อย ๆ เอาไปแล้วไม่รู้จะใช้อะไรดี บางทีก็ปล่อยบูดไปเลยมีเยอะแยะจริง ๆ แล้วถ้าได้แล้วเขาต้องฝึกซ้อม ทำอยู่เสมอๆ ได้ง่ายเกินไปเลยปล่อยหายง่าย อย่างนี้มีเยอะแยะ ทำสมาธิจิตว่าง ผู้ถาม กระผมทำสมาธิจนรู้สึกว่ามีสติอย่างเดียว แล้วเห็นเงาดำแอบเข้ามา ขอถามหลวงพ่อว่า อย่างนี้จิตว่างหรือเปล่า ทำถูกต้องหรือไม่สำหรับแนวกรรมฐาน? หลวงพ่อ จิตไม่ว่าง ยังมีความรู้สึกอยู่ ทำน่ะ ทำถูก แต่จิตไม่ว่าง การทำให้จิตว่างนะ ไม่มีนะ คนถามเข้าใจด้วยนะ จิตว่างนี่ไม่มี จิตมันมีสภาพเกาอยู่ ๓ อย่าง คือ ๑.เกาะชั่ว ๒.เกาะดี ๓.อยู่เฉย ๆ ไม่เกาะชั่วไม่เกาะดี ตัวนี้ว่าง คือจิตมีอารมณ์ของพระนิพพาน ถ้าคำว่า “ว่าง” ในที่นี้ ก็ว่างเฉพาะอารมณ์ที่เป็นกิเลส ส่วนอารมณ์ที่เป็นกุศลมันก็ไม่ว่างเหมือนกัน เป็นอันว่า จิตจริงๆ มีสภาพไม่ว่างนะ ถ้าจะถามว่า เวลานั้นจิตว่างจากความชั่วหรือไม่อย่างนี้ควรถาม อย่างนั้นต้องตอบว่า ตอนนั้นจิตว่างจากความชั่ว ๕ อย่าง ที่เรียกกันว่า นิวรณ์ คือ 1. กามฉันทะ ความพอใจในรูปสวย เสียเพราะ กลิ่นหอม รสอร่อย สัมผัสระหว่างเพศ 2. ปฏิฆะ อารมณ์ไม่พอใจ 3. ความง่วง 4. ความฟุ้งซ่าน 5. สงสัย สมาธิเล็กน้อย ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะกราบเรียนถามเกี่ยวกับ เรื่องสมาธิเล็กน้อย คือว่าสมาธิของลูกนี่ จะได้แค่ ประมาณ ๒-๓ นาที หลังจากนั้นไปอารมณ์จะฟุ้ง แล้วก็ทุกวันเป็นอย่างนี้ ไม่สามารถจะแก้ได้ ขอบารมีหลวงพ่อช่วยแก้เรื่องการปฏิบัติของลูก ให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไปด้วยเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ พอแล้ว ๒ นาทีพอแล้ว อย่าลืมนะวันละ ๒ นาที ๑๐ วันเท่าไหร่ ๑๐๐ ปีเท่าไหร่ วิธีที่ทรงสมาธิให้ทรงตัว จับ อานาปานุสสติ โดยเฉพาะ ฝึกลมหายใจเข้าออกหายใจเข้าหายใจออกนับเป็น ๑ ถึง ๑๐ ใช่ไหม... ตั้งใจคิดว่าถ้ายังไม่ถึง ๑๐ จิตมันวอกแวกนะ เริ่มต้นใหม่เอาให้ถึง ๑๐ ให้ได้ วิธีดีที่สุดเอาตามนี้นะ เอาดีอย่างพระพุทธเจ้าทรงตรัสกับ พระสารีบุตร ซิว่า “สารีปุตตะ ดูก่อนสารีบุตร บุคคลใดทำจิตให้ว่างกิเลสวันหนึ่งชั่วขณะจิตหนึ่ง ตถาคตขอกล่าวว่า บุคคลนั้นมีจิตไม่ว่างจากฌาน” สองนาทีนี่ มันว่างจากกิเลสนะ ... ใช้ได้ ทำสมาธิรำคาญเสียง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง บ้านของลูกอยู่ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช มีความข้องใจเกี่ยวกับเรื่องประหลาดที่บ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็คือว่า เวลาสวดมนต์ทำกรรมฐาน จะมีเสียงสวดมนต์บ่นพึมพำ ๆ เป็นผู้ชายบ้าง เป็น ผู้หญิงบ้าง เป็น เด็กบ้าง แล้วก็ทำความรำคาญให้กับลูก ในขณะเจริญพระกรรมฐานเสมอ ๆ ขอเรียนถามหลวงพ่อว่า จะมีวิธีกำจัดพวกเหล่านี้ได้อย่างไร จะได้ไม่รบกวนในการเจริญกรรมฐานต่อไปเจ้าคะ? หลวงพ่อ เอาแล้ว... หากินพลาดบทแล้ว ผู้ถาม ก็รำคาญนี่ครับ... หลวงพ่อ! หลวงพ่อ ถ้ารำคาญแสดงว่าสมาธิไม่พอ ถ้าหากว่าจิตเข้าถึงปฐมฌาน จะไม่รำคาญในเสียง แต่ความจริงนะ ถือว่าเป็นคนมีโชค สามารถได้ยินเสียงของพวกอมนุษย์ได้ อย่างนี้มีโชคนะถือว่าดี เขาสงเคราะห์ แต่บังเอิญถ้าผู้นั้นใช้กำลังใจไม่พอกับความดีที่เขาให้ เอาใหม่ ตั้งใจใหม่ ถ้ามันมาบ่นให้ฟังเพลินไปเลย คือต้องฝึกนะ ต้องฝึกสู้กับเสียง เพราะฌานขั้นต้น จะไม่รำคาญในเสียง เสียงได้ยินเขาพูดทุกอย่าง ร้องรำทำเพลง แต่เราจะไม่รำคาญในเสียงเขาคุย แสดงว่าคนนี้ยังมีจิตไม่ถึงฌานที่ ๑ ยังไม่เต็มปีติเลย แต่ความจริงตัวที่ได้ยินมันมาจากปีติ อันดับแรกถึงปีติ ได้ยินใช่ไหม ต่อไปจิตตก ตกจากปีติ ยังไม่ถึง ฌาน ๑ นั่งกรรมฐานมีคนดึง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง เวลาลูกนั่งพระกรรมฐานที่บ้านก็ตาม ที่ห้องพระก็ตาม ส่วนใหญ่ก็ถนัดเรื่องพุทโธ ที่ประหลาดใจก็คือว่า เวลานั่งภาวนาไปคล้าย ๆ จะมีใครก็ไม่ทราบ ดึงไปข้างหน้าหงายไปข้างหลัง เอียงไปข้าง ๆ ตัวโยกเยก เขาเรียกกรรมฐานโยกเยกเป็นเพราะอะไรครับ? หลวงพ่อ อย่างนี้เขาเรียก โอกกันติกาปีติ ปีติตัวที่ ๓ จิตเริ่มดีแล้ว แต่ทว่าเทวดาประจำบ้านท่านบอกว่า อารมณ์หยาบไปเวลาขึ้นต้น อาจารย์อ่านฉันก็ถามเทวดาท่าน...ไม่ยาก ท่านบอกเวลาเริ่มต้นอารมณ์หยาบไป ใช้อย่างนี้นะ ก่อนเริ่มต้น พอนั่งปั๊บ หายใจยาว ๆ แรง ๆ สัก ๕-๖ ครั้ง เป็นการระบายอารมณ์หยาบ ต่อไปอาการอย่างนั้นจะคลายตัว พออาจารย์ถามฉันก็ถามท่านเหมือนกัน ท่านก็เลยบอก... ใช้ได้ ผู้ถาม อ้อ... ที่หลวงพ่อตอบเก่ง เพราะมีถามตอบอย่างนั้นหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่... อีกหลายต่อ อย่างเมื่อคืนนี้อุทิศเจ๊งจั๊ง หลายต่อยุ่งเลย ผู้ถาม ผมจะขอต่ออีกนิดคือว่า บางครั้งจะเห็นเป็นคล้าย ๆ ดวงสีขาว ๆ คล้าย ๆ แก้ว ลูกไม่ทราบว่าเป็นเพราะอะไรครับ? หลวงพ่อ นั่นละถูกแล้ว ปีติ พออารมณ์ใจเข้าถึงปีติ อารมณ์เริ่มเป็นทิพย์ เมื่ออารมณ์เริ่มเป็นทิพย์ เริ่มเห็นนิมิตที่ไม่มีภาพจริง ๆ นะ มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นเป็นของธรรมดา ผู้ถาม ครับ ๆ ที่เห็นนั่นก็เป็นของดีนะ หลวงพ่อ ดีแล้ว แต่ว่าใช้อามรณ์ให้ละเอียดกว่านั้นนะ อย่าลืมเอาแบบเกณฑ์ทหาร เขาทำอย่างไร หายใจเข้าลึก ๆ หายใจออกแรง ๆ ใช่ไหม... สัก ๕-๖ ครั้งระบายอารมณ์หยาบ ผู้ถาม แล้วก็บอกว่า สมัยก่อนลูกเจ็บไข้ได้ป่วยเป็นโรคหัวใจ โรคโน่นโรคนี่ บัดนี้ลูกหายพอสมควรแล้ว จึงขอกราบขอบพระคุณที่หลวงพ่อเมตตาให้กรรมฐานปฏิบัติ แล้วลูกหายจากโรคภัยไข้เจ็บเจ้าค่ะ หลวงพ่อ ยังหายไม่หมดนะ ผู้ถาม เหลืออะไรครับ หลวงพ่อ โรคสงสัย ทำสมาธิตัวโยก ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง เวลาที่ลูกสวดมนต์ก็ดี ฟังเทปก็ดี ตัวโยกไปเยกมาระงับไม่อยู่ แต่ก็แปลกนะครับ สบายใจดีมาก อย่างนี้เป็นเพราะอะไรครับ ถ้าจะแก้ไขให้ดีไปกว่านี้อีก หลวงพ่อจะแก้ไขอย่างไรครับ? หลวงพ่อ รู้แค่เฉพาะโยกไปนะ แต่เยกมาไม่รู้นะ อย่างนั้นเขาเรียก โอกกันติกาปีติ เร่งรัดมันจะเสีย อยากจะโยกก็เชิญมันโยกไปตามชอบใจ ถ้าปีติตัวนี้เต็มอารมณ์เมื่อไร ก็เลิกโยก มีอารมณ์ดิ่งเป็นฌาน ทำสมาธิง่วงนอน ผู้ถาม หลวงพ่อขอรับ กระผมนั่งกรรมฐานทีไรแล้วเกิดนิวรณ์ตัวที่ ๓ คือง่วงนอนมากเหลือเกิน กระผมทำตามหลวงพ่อแนะนำทุกอย่าง อาบน้ำ ล้างหน้า แหงนดูฟ้า ปรากฏว่าแก้ไม่ตกเลยสักที เลยกลุ้มใจ อยากจะพึ่งบารมีหลวงพ่อให้หาวิธีแบบใหม่ที่ไม่ง่วงนอนด้วยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ มีอีกวิธีไม่ทำนี่ ถ้าง่วงก็นอนหลับไปเลย อันนี้ได้ผลนะ ดีกว่าทรมาน เพราะว่าภาวนาไป ถ้าเวลานั้นจิตไม่ถึงฌานมันจะหลับไม่ได้ ถ้านอนแล้วภาวนา ถ้าจิตถึงฌานจะตัดหลับทันที ช่วงเวลาหลับกี่ชั่วโมงก็ตาม ยังทรงฌานนั้นอยู่ ควรทำแบบนี้นะ อย่าทรมาน ง่าย ๆ หากินสะดวก ๆ เรียนกับพระขี้เกียจ... สบายมาก เพราะฉันหากินแบบขี้เกียจมาตลอดเวลาแบบไหนที่ได้ง่ายลงทุนน้อยเอาเลย นั่งสมาธิศีรษะสั่น ผู้ถาม กระผมฝึกสมาธิอยู่ที่บ้าน พอถึงระดับหนึ่งเกิดศีรษะสั่นอย่างรุนแรง พอตอนเช้าคอระบมไปหมด ทำยอย่างไรดีขอรับ? หลวงพ่อ ความจริงก็ดีเหมือนกันนะ ก็ต้องสั่นให้มันหายระบมต้องแก้กัน ความจริงไม่เป็นไรปล่อยไปเรื่อย ๆ ก็แล้วกันนะ เวลานั้นก็ถือว่าขณะนั้นจิตเข้าถึง อุเพงคาปีติ ว่าหยาบไปหน่อยคอจึงระบม ถ้าจิตละเอียดนี่จะไม่เป็นอย่างนั้น จะไม่มีอาการอื่น คงจะมีจิตกระสับกระส่ายกังวลนะ พอถึง อาการสั่นหัวละก็...จิตหยาบ ทำสมาธิตกใจ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกได้เจริญพระกรรมฐานเป็นเวลาช้านานแล้ว มีปัญหาอยู่ที่ตรงที่ว่า พอจิตของลูกใกล้ ๆ จะเป็นสมาธิ จะมีสิ่งประหลาด ๆ ทำให้ลูกตกใจอยู่เสมอ จึงทำให้การเจริญกรรมฐานของลูกไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร อยากจะปรึกษาหลวงพ่อว่า วิธีที่จะแก้ปัญหาแบบนี้ ควรจะแนะนำให้ลูกปฏิบัติอย่างไรเจ้าคะ? หลวงพ่อ นั่นเป็นของธรรมดานะ ได้ยินเสียง ปึงปัง ๆ ๆ คล้าย ๆ ใครยิงปืนใกล้ ๆ ก็มี เป็นของธรรมดาเขาลอง ๆ ตอนนั้นจิตเป็นอุปจารสมาธิ เขาลองดูว่าเราจะตกใจไหม ส่วนใหญ่เป็นเทวดาชั้นจาตุมหาราช ผู้ถาม อ้อ ... นี่เกี่ยวกับเรื่องเทวดาเขาทดสอบ หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ทำสมาธิรู้เรื่องในอดีต ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกนั่งทำสมาธิอยู่เพียงแป๊บเดียว เรื่องราวในอดีตมันปรากฏเหมือนในจอโทรทัศน์ แวบมา ๆ อย่างนั้นแหละ ลูกก็มาเกิดความสงสัยว่า อย่างนี้จิตของลูกฟุ้งซ่านอยู่หรือเปล่าเจ้าคะ? หลวงพ่อ เป็นเรื่องธรรมดานะ เมื่อจิตสงบเรื่องราวในอดีตก็เกิดขึ้นเป็นเรื่องธรรมดานะ แต่ว่าถ้าจะทรงอารมณ์ให้รักษาอานาปา มันต้องมาแน่ มาก็ช่างมัน มันแล้วไปแล้ว นั่งสมาธิลมออกหู ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา นั่งสมาธิแล้วปรากฏว่าลมออกทางใบหู เสียงดัง ปี๊ด...ปี๊ด หลวงพ่อ ก็ยังดี ดีกว่าออกต่ำ ดังปุ๋ง ปุ๋ง (หัวเราะ) ผู้ถาม แต่ทีนี้เวลาจิตรวมเป็นสมาธิแล้ว ได้เห็นเป็นดวง ๆ มีกลมบ้าง บางทีก็ดำ บางทีก็ขาว ลอยเข้ามาจะชนลูกตา ลูกก็ต้องผงะ ลืมตาแล้วก็นั่งสมาธิใหม่ แล้วก็ลอยมาแล้วก็ชนอยู่อย่างนี้เป็นประจำ ใช้ทั้ง พุทโธ ใช้ทั้ง นะมะพะธะ แต่ไม่สมารถจะแก้ปัญหานี้ได้ ขอความเมตตาหลวงพ่อช่วยแนะนำหรือแก้ไขครั้งนี้ด้วยเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ จะแก้ทำไม เขาไม่แก้กันหรอก นั่นเป็น นิมิต ของ อานาปานุสสติ ใครเขาแก้กันละ เวลานั้นอานาปานุสสติกำลังเข้าถึงปีติ จึงเกิดภาพนี้ขึ้น เขียวบ้าง แดงบ้าง ขาวบ้างตามใจ แล้วแต่เขาจะเกิดของเขา ก็ไปกลัวของดี กลัวสวรรค์ นั่งสมาธิปวดขา ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกปฏิบัติพระกรรมฐานตามแนวของหลวงพ่อทุกประการ ที่แก้ไม่ตกมีอยู่อย่างเดียวนั่นคือ นั่งไปไม่ถึง ๒-๓ นาที จะมีความรู้สึกปวดที่ขาทันที ลองเปลี่ยนแล้วมันก็เป็นอย่างนี้อีก ลูกอยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า การกำหนดจิตไม่ให้ปวด การกำหนดจิตไม่ให้มีเวทนา เพื่อจะได้นั่งนาน ๆ เหมือนหลวงพ่อ จะทำอย่างไรดีขอรับ? หลวงพ่อ ก็ไม่เป็นไร บีบจมูกสักหนึ่งชั่วโมง หายเอง... ตาย... ไม่เจ็บไม่ป่วยถ้ามันมีเวทนาอย่างนั้น ก็ใช้วิปัสสนาญาณช่วยซิ เกิดมาเป็นทุกข์อย่างนี้ จะเล่นแต่สมถะ ที่ว่าทำตามทุกอย่างนั้นไม่จริง .... ไม่จริง ฉันเล่นทุกอย่าง ถ้าป่วยขึ้นมาฉันเล่น วิปัสสนาญาณช่วย ฉันว่าทั้งสองอย่างนะ แต่นี่ล่อสมถะอย่างเดียว ไม่ใช้ปัญญาเข้าช่วย ในเมื่อนั่งมันเมื่อยก็ลุกขึ้นยืน ยืนเหมื่อยก็เดิน เดินเมื่อยก็นอน นอนเมื่อยก็นั่ง นั่งเมื่อยก็เดิน นั่งเรียบ ๆ ไม่ดี ก็นั่งเก้าอี้ก็ได้ ผู้ถาม กรรมฐานนั่งเก้าอี้ได้หรือครับ...หลวงพ่อ? หลวงพ่อ โอ้ย...นั่งบนตอไม้ยังได้เลย นั่งยอดไม้ก็ได้ ที่ไหนก็ได้ มันอยู่ที่ใจ ให้ร่างกายสบายก็แล้วกัน ผู้ถาม ก็ตกลงว่าเปลี่ยนเสียนะ อิริยาบถใดมันไม่ไหวก็...อ๋อ...ต้องใช้วิปัสสนาญาณช่วยจะได้ประโยชน์มาก หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ มีความจำเป็น นั่งสมาธิตัวร้อน ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าคะ มีเด็กอายุประมาณ ๒๑-๒๒ ปีเจ้าค่ะ เขาเห็นพ่อเขานั่งสมาธิแล้วก็นั่งบ้าง พอถึงแค่นั้นเขาบอกทันทีว่า ตัวเขาร้อนไปหมดเลย ทนไม่ไหว เขาเลิกสาเหตุเพราะอะไรเจ้าคะ? หลวงพ่อ เรื่องนี้ตอบไม่ได้ ไม่เคยปรากฏ ผู้ถาม เขาบอกร้อนไปหมดเลย เขาไม่ทำเขากลัว หลวงพ่อ ใช่ ๆ ต้องมีบาปอะไรอย่างใดอย่างหนึ่งเข้ามาขวางนะ ผู้ถาม แล้วสมมุติว่าเขาพยายามจะทำต่อ หลวงพ่อ เอ... ถ้าทำต่อไปได้ก็ดี ทำน้อย ๆ นะ ผู้ถาม พอรู้สึกร้อนก็หยุดซะ หลวงพ่อ ใช่ ๆ หยุดซะ ไม่ช้าก็หาย เอาอย่างนี้นะ ไอ้ตัวร้อน นี่ก็คือตัวบาปเก่า มันคงขวางทาง ถ้าการเจริญสมาธิอย่างน้อยจะขึ้นสวรรค์ ถ้าอย่างนั้นต่อไปก็เป็นพรหม ต่อไปก็ไปนิพพาน ขึ้นสูงหนีมัน มันก็ขวางตัว และถ้าเราสามารถหาทางต่อสู้ด้วยการพอรู้สึกตัวว่าร้อน จะร้อนมากเกินไปเราก็เลิก ไม่ยอมแพ้มันก็หมดเรื่องดีกว่า นั่ง ๆ หนัก ๆ เข้ามันจะหายร้อนเองนะ รู้สึกถ้าร้อนจิตกระสับกระส่ายก็เลิกซะ ถือเอาบุญเข้ามาผสมทีละหน่อยเหมือนน้ำนะ ไอ้ความร้อนเหมือนไฟใช่ไหม... น้ำค่อยๆใส่ไป ถ้าน้ำมากขึ้นมาไฟมันก็ดับ เอาอย่างนั้นก็แล้วกันนะ ทำสมาธิไม่ได้ดี ผู้ถาม หลวงพ่อขอรับ ผมทำสมาธิทุกวัน ๆ ละ หนึ่ง ชั่วโมง มาเป็นเวลา ๒๐ ปีแล้วครับ มันไม่ไปเหนือไปไม่ไปใต้เลย ไม่ทราบว่าติดขัดอะไร หรือมีกรรมเวรประเภทไหมมาปิดบัง ขอบารมีหลวงพ่อ ช่วยแก้ไขหน่อยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ สมาธินี่ถ้าทำเฉย ๆ ก็ไม่ไปไหนนะ มันก็อยู่แค่ ฌาน ถึงฌานหรือเปล่าก็ไม่รู้ น่ากลัวจะไม่ถึงฌาน น่ากลัว ตะเกียกตะกายอยู่ข้างฌาน มันขึ้นฌานไม่ไหว ไต่บันไดแกร๊ก ๆ แต่ความจรงิถ้าเรื่องสมาธิจริง ๆ นะ ถ้าหากว่าได้จริง ๆ ก็อยู่แค่ฌาน ๔ ฌาน ๔ แล้วก็ไม่ไปไหนละ ก็ทรงตัวบ้าง เดินหน้าบ้าง ถอยหลังบ้าง ไปข้างหน้า ๑ ก้าว ถอยหลัง ๕ ก้าว ทีนี้ผลการปฏิบัติจริง ๆ เขาไม่ได้มุ่งสมาธิ ต้องหวังตัด สังโยชน์ ถ้าจะบอกว่า วิปัสสนาญาณก็จะมากเกินไป ความจริงถ้ามุ่งตัดสังโยชน์ ก็ต้องดูอารมณ์ใจตัวตัด ไม่ใช่ดูสมาธิ อันดับแรก ความโลภ อยากได้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นมีในเราหรือเปล่า เบาลงไปไหม ประการที่ ๒ ความโกรธ เบาไหม ประการที่ ๓ ความหลง เบาลงไหม สิ่งที่มีความสำคัญคือ 1. ลืมความตายหรือเปล่า 2. เคารพพระไตรสรณคมน์จริงจังไหม 3. มีศีล ๕ บริสุทธิ์ไหม 4. หวังพระนิพพานจริงจังหรือเปล่า...? เขาดูตรงนี้นะ มุ่งเอาสมาธิกลุ้มใจตาย มันไม่มีการทรงตัว เวลาใดร่างกายดีไม่มีอารมณ์กลุ้ม สมาธิก็ทรงตัวใช่ไหม... ร่างกายอ่อนเพลียหน่อย สมาธิก็ทรุดตัว เอาแต่สมาธิไปไม่รอด ผู้ถาม เมื่อภาวนาไปไม่ได้ อย่างนี้จะมีโอกาสบรรลุธรรมเบื้องสูงหรือเปล่าครับ? หลวงพ่อ ทะลุธรรมแน่ จุดหมายปลายทางเขาคือสังโยชน์ ผู้ถาม ทีนี้ถ้าหากว่าไม่ได้อะไรเลย แต่ถ้าตั้งใจว่าตายเมื่อไหร่ไปนิพพานเมื่อนั้น พอจะไปได้ไหมครับ... หลวงพ่อ? หลวงพ่อ พอเห็นทาง...แต่ไม่เข้าทาง ผู้ถาม ๒๐ ปีแล้วนะครับ หลวงพ่อ ๑๐๐ ปีก็ไม่ได้ ถ้าเข้าทางจริงต้องคิดว่า ๑.ชีวิตนี้จะต้องตาย ตัวสักกายทิฏฐินะ ๒.วิจิกิจฉา ไม่สงสัยในคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระอริยสงฆ์ ๓.มีศีล ๕ บริสุทธิ์ และก็ ๔.มีจิตมุ่งเฉพาะพระนิพพาน อันนี้ถึงจะได้ อันนี้ถึงจะเข้าทางหรือเข้าเขตเลย ฝึกสมาธิไม่ได้ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าเกี่ยวกับเรื่องสมาธินี่ผมโชคดี ทำมาด้วยตนเองเป็นเวลา ๒ ปีแล้ว โดยการอ่านหนังสือบ้าง ฟังวิทยุบ้าง ดูโทรทัศน์บ้าง โดยใช้คำภาวนาว่า พุทโธ แต่ว่าไม่ได้รู้ไม่ได้เห็นอะไรเลย แม้แต่นิมิตเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ไม่ได้ กระผมตั้งใจว่าจะมาฝึกมโนมยิทธิ เลิก พุทโธ โดยมาใช้ นะมะพะธะ จะมีทางเป็นไปได้ไหมครับ? หลวงพ่อ เดี๋ยวก่อน...ขอตอบก่อน พวกที่ใช้ นะมะพะธะ เขาไม่ได้เลิก พุทโธ เวลาจะใช้มโนมยิทธิเขาก็ใช้ นะมะพะธะ คือ นะมะพะธะ เป็นของพระพุทธเจ้าท่าน อย่าไปเลิกนะ ถ้าเลิก “พุทโธ” ล่ะซวย พุทโธ ก็คือพระพุทธเจ้า นะมะพะธะ เป็นคาถาบทหนึ่งในธาตุ ๔ ของกรรมฐาน ๔๐ ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนบอกคาถาบทนี้เอาไว้ใช้เป็นกำลังในการฝึกมโนมยิทธิ ถ้าลืมเจ้าของเก่า คือพระพุทธเจ้า ก็เจ๊ง! ก็เป็นอันว่า จะมาฝึกมโนมยิทธิมาฝึกแต่อย่าทิ้ง “พุทโธ” ว่าง ๆ ก็ใช้ พุทโธ แบบสบาย ๆ เวลาจะใช้มโนมยิทธิเราก็ใช้ นะมะพะธะ ก็มีหลาย ๆ อย่าง มีทั้งขา มีทั้งรถ “พุทโธ” เหมือนมีขามีแขน “นะมะพะธะ” เหมือนมีรถนั่งอย่างดี เป็นเครื่องบินก็ได้ นะมะพะธะ ผู้ถาม หลวงพ่อครับ อย่างคำภาวนาว่า “นะมะพะธะ” เป็น พุทธานุสสติกรรมฐาน หรือครับ “นะมะพะธะ” แปลว่าอะไรครับ? หลวงพ่อ “นะมะ” แปลว่า นมัสการ “พะธะ” แปลว่า ไหว้พระพุทธเจ้า เรื่องจริงนะ “นะมะพะธะ” ที่แปลว่า ธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ เขาไม่ได้ภาวนา เขาพิจารณานะ คำว่า “นะมะพะธะ” ที่ท่านมาบอกจริง ๆ บอกว่า ไม่ใช่ธาตุ ๔ เป็นการนมัสการพระพุทธเจ้าเป็น พุทธานุสสติกรรมฐาน ภาวนาแล้วจิตตกวูบไป ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกภาวนา พุทโธ กับ อานาปา ควบกันไปก็ปรากฏว่า จิตสงบมันก็ไม่ใช่ แต่ว่าเป็นอุปจารสมาธิก็ไม่เชิง มันจะมีจุด ๆ หนึ่งอย่างนี้ขอรับ จิตมันไปตกวูบ พอวูบไปปั๊บ ผมก็เกิดความกลัว ก็ภาวนาใหม่ เริ่มต้นใหม่ก็วูบอีก ลักษณะแบบนี้แก้ไม่ตก ไม่รู้จะแก้ยังไง ขอพึ่งบารมีหลวงพ่อแนะนำวิธีลูกหย่อยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ อาการแบบนี้นะ ขณะที่จิตสบาย ขณะนั้นจิตตั้งอยู่ในปฐมฌาน แต่ว่าสมาธิไม่ทรงตัว สมาธิตก ฌานเริ่มตก มีวูบเสียว ๆ คล้ายตกต้อนไม้ใหญ่ นั่นเขาเรียก จิตพลัดจากฌาน วิธีแก้ไม่ยาก เพราะว่าเริ่มต้นทีแรกลมหยาบเกินไป ให้ใช้หายใจยาว ๆ แบบเกณฑ์ทหารน่ะ ๕-๖ ครั้ง หายใจแรงๆ ยาว ๆ นะ ทำอย่างนี้ทุกวัน ๆ ไม่ช้า อาการจะหาย ขับลมหยาบทิ้งไปก่อน อันนี้ไม่ยาก ภาวนาพุทโธไม่เห็นอะไร ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าลูกได้ปฏิบัติภาวนาสมาธิกรรมฐานแบบ “พุทโธ” มาหลายปีแล้ว ปรากฏผลว่าไม่ได้เห็นอะไรเลยสักอย่าง ได้แต่เงียบกริบ อันนี้จะเกี่ยวกับว่า เป็นเพราะเวรกรรมชิตก่อนทำไว้อย่างไร ชาตินี้เวลาทำสมาธิจึงไม่ได้รู้ไม่ได้เห็น เหมือนกับคนอื่นเขาเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ ก็สมาธิเขาทำเพื่อเงียบ ตั้งใจสงัด จิตสงัดจากกิเลส ทีนี้การทำสมาธิเขาไม่ได้หมายถึงการเห็น ไอ้นั่นที่ปฏิบัติเป็น สุกขวิปัสสโก ถ้าต้องการเห็นต้องเป็น เตวิชโช หรือ ฉฬภิญโญ คนละหมวดนี่ ปฏิบัติให้ถูกหมวดซินะ ถ้าเป็นเตวิชโชก็สามารถเห็นได้ ระลึกชาติได้ ถ้าเป็นฉฬภิญโญเห็นได้ด้วย ไปถึงด้วย ใช่ไหม ต่างกัน มโนมยิทธินี่ก็มันบวกวิชชา ๓ กับอภิญญา คือว่าใหญ่กว่าวิชชา ๓ แต่เป็นอภิญญาขนาดเล็ก อิริยาบถ ผู้ถาม มีพระออกโทรทัศน์เมื่อสองวัน ท่านบอกว่าปฏิบัติอย่างนี้ได้ผลอะไรนะ ขวาหงาย ยกแล้วก็ย่าง แล้วก็ยก จำไม่ได้ ปิ๊ดปี้ปิ๊ด เหมือนจราจรนั่นแหละ ท่านบอกอย่างนี้นะ ของอาตมานี่ไม่นานหรอก แค่ ๓ ปีก็พอรู้ผล ๓ ปีนะ พอจะรู้ผลนะ หลวงพ่อ มโนมยิทธินี่ช้าไปนะ ปุ๊บปั๊บ ได้ไปเลย ยังกับปฏิบัติ “วิปัสสนาจราจร” แน่ะ เห็นว่าทำออกโทรทัศน์ขำดีนี่ก็แปลกดีเหมือนกัน ความจริงมีหรือเปล่าครับ? หลวงพ่อ แบบนี้จะเป็น มหาสติปัฏฐาน อิริยาบถ แต่ว่ายาวไปมหาสติปัฏฐานก็เพียงว่า จะยกเท้าย่างเท้าให้รู้อยู่ ก้าวไปข้างหน้า ก้าวไปข้างหลัง จะกินจะกลืน ไอ้ตอนกินนี่รู้ ตอนกลืนไม่รู้ รู้ไม่ทันกลืนลงก่อน พอกินปั๊บก็เลยเข้าไปเลย เอาแค่ให้รู้ตัวอยู่เสมอ สติสัมปชัญญะใช่ไหม ความจริงไม่มีอะไร เขาพร้อมแล้วนะ ถ้าได้แล้วไม่มีอะไร ต้องระวัง เป็นไปเองโดยอัตโนมัติ อย่างตานี่กระพริบอยู่เสมอผงจะมายังไม่ทันรู้ ใช่ไหม... ตากระพริบแล้ว ข้อนี้ฉันใด พระอริยเจ้าตามขั้นเหมือนกัน ท่านทำตามหน้าที่ของท่าน จิตทำไปเอง เจริญมหาสติปัฏฐาน ผู้ถาม หลวงพ่อขา ลูกเจริญพระกรรมฐานโดยใช้องค์มหาสติปัฏฐานเป็นหลักใหญ่ บางครั้งจิตก็วูบ บางครั้งก็สว่าง บางครั้งก็คล้าย ๆ จะหมดความรู้สึก มีอาการปฏิบัติไปถึงจุดนี้ทีไร ก็มีอันจะต้องเลิก เพราะใจหนึ่งก็อยากได้ อีกใจหนึ่งก็กลัวตาย ขอให้หลวงพ่อช่วยแนะนำวิธีแก้ไขอารมณ์นี้ เพื่อการเจริญปฏิบัติของลูกได้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป สู่มรรคผลนิพพานในชาติปัจจุบันนี้ด้วยเถิดเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ กลับไปอ่านใหม่ ผู้ถาม อ่านอะไรครับ? หลวงพ่อ มหาสติปัฏฐานสูตรแต่ละข้อ สอนถึงอรหันต์ทั้งหมดทุกข้อ ไม่จำเป็นต้องทำทั้งหมด ทำข้อใดข้อหนึ่งก็ถึงอรหันต์ อ่านให้จบตอนท้ายนะ “ไม่ยึดถือโน่นไม่ยึดถือนี่ ไม่ยึดถืออะไรทั้งหมด” เขาทำเพียงข้อเดียว ไอ้ที่ทำนั่นยึดสมถะมากกว่า วิปัสสนา สมถะ คืออารมณ์สมาธิให้ทรงตัว จิตทรงตัว วิปัสสนา คือหาความเป็นจริง กลับไปอ่านใหม่ อ่านไปใช้ปัญญาคิดตามด้วยนะ นิดเดียว ผู้ถาม เป็นอันว่าไปไม่ยาก หลวงพ่อ ไม่ยาก ผู้ถาม ไปไม่ยากก็แสดงว่าเคยทำ หลวงพ่อ ถูกแล้ว มหาสติปัฏฐาน ๔ สั้น ๆ ผู้ถาม หลวงพ่อขอรับ ผมไปพบมหาสติปัฏฐาน ๔ ในพระตรีปิฎก ท่านว่าไว้อย่างนี้ จะต้องปฏิบัตินานถึง ๗ ปี ถึงจะมีโอกาสได้มรรคผลนิพพานได้ กระผมไม่ชอบครับ นานเกินไป อยากจะมาขอพึ่งบารมีหลวงพ่อว่ามหาสติปัฏฐาน ๔ สั้น ๆ ไปนิพพานได้ง่ายของวัดท่าซุงน่ะ มีบ้างไหมครับ? หลวงพ่อ มี ๆ ๆ ก็ตัวอย่างใช่ไหม ที่พระพุทธเจ้าเทศน์ให้ ท่านพาหิยะ ฟังว่า “พาหิยะ...เธอจงอย่าสนใจในรูป” เท่านี้ ท่านเป็นพระอรหันต์ ผู้ถาม อ๋อ เท่านี้ สั้นที่สุดเลยนะครับ หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ เท่านี้เอง เป็นอรหันต์พร้อมปฏิสัมภิทาญาณ ผู้ถาม แล้วที่ลูกหลานทั้งหลายกำลังฟังกถาอันนี้ เดี๋ยวเกิดบรรลุทีเดียวพร้อมกันหมดทำยังไงครับ? หลวงพ่อ ก็ดีซิ ช่วยกันบิณฑบาต อย่าลืมนะ คนที่นั่งมีกี่คน ถ้ามีสักพันคน อย่าลืมว่าในประเทศไทยมี ตั้ง ๕๕ ล้านคน ทำสมาธิปวดหัว ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง กระผมเป็นโรคประสาทประหลาดนิดหนึ่ง คือว่าโดยปรกติแล้ว ร่างกายสมบูรณ์แบบทุกอย่างทุกประการ แต่เวลาจะนั่งสมาธิเป็นเวลา ๑๐ ปีมาแล้ว มีอาการดังต่อไปนี้คือ พอนั่งปุ๊บ พอจิตสบายจะมีความรู้สึกทางที่ศีรษะ แล้วเหมือนมีอะไรเลื่อนไป เลื่อนมาอยู่บนศีรษะรอบ ๆ แต่พอเลิกนั่งแล้ว หายเหมือนปลิดทิ้ง นั่งทีไรก็เป็นอย่างนี้เป็นประจำ จึงขอคำแนะนำจากหลวงพ่อว่า อาการเช่นนี้จะมีวิธีแก้ไขอย่างไร ประการใดหรือไม่ขอรับ? หลวงพ่อ แก้อิริยาบถดีกว่า ถ้านั่งไม่ดีแบบนั้นใช้นอน คือใช้ยืนหรือใช้เดินก็ได้ ถนัดนอนก็นอน ดีกว่า สบายกว่า ผู้ถาม กรรมฐานนอนได้หรือครับ...หลวงพ่อ? หลวงพ่อ นั่ง นอน ยืน เดิน มีผลเสมอกันจ้ะ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน อย่างฉันนี้นอนมา ๙๐ เปอร์เซ็นต์ ผู้ถาม นอนกรรมฐานหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่ สบายมาก เข้าทั้งตัวเลย ผู้ถาม อ้อ นี่รับสารภาพเลย หลวงพ่อ ทำไม โกหกทำไม พระ? อีตอนที่ฉันลาพุทธภูมินะ และพระท่านมาบอกว่า ถ้าคุณจะลาพุทธภูมิให้ลาได้ แต่ต้องมีเงื่อนไข ภายใน ๑๒ ปีนี่ตายไม่ได้ นักเรียนทุน ๑๒ ปีผ่านมาแล้ว ก็มาอีก ๑๐ ปียังไม่ตายไม่ได้ ผ่านไปแล้วตอนนี้กำหนด ฉันขี้เกียจกำหนด ถึงเวลาก็ไม่ตาย เตรียมตั้งท่าทุกทีก็ไม่ตายสักที ผู้ถาม อ้อ ได้ทุนถาวร หลวงพ่อ ได้ทุนถาวร ก็เป็นอันว่าตอนนั้นท่านบอกว่า เมื่อสัญญาตกลงนั้นน่ะ เราคิดว่ามีชีวิตช่วงนี้อยู่กี่ปีก็ช่างมัน ก็ดีกว่าเกิดอีก ๑ ชาติ มันมีทุกข์ไม่เท่ากับเกิดอีก ๑ ชาติ ใช่ไหม... ก็ตกลงกับท่าน เป็นอันว่าขอลาพุทธภูมิ ท่านก็อนุมัติพอท่านอนุมัติ ท่านก็สั่งว่านับตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป เวลา ๔ ทุ่มตรง ฉันจะมาสอนเธอ เวลา ๒-๓ ทุ่มครึ่งให้เลิกรับแขก ทีนี้พอถึงเวลา ๓ ทุ่มครึ่ง ฉันก็บอกแขก ตอนนั้นคุยกับแขกกลางคืนด้วยนะ ทีนี้มันเคยคุยถึง ๕ ทุ่ม ๖ ทุ่ม ใช่ไหม... ก็มีบางคนบอกว่า ยังไม่ถึงเวลาครับ ก็เลยบอกยังไม่ถึงเลวลาของแกก็ช่าง เวลาของฉันมันถึงแล้ว ฉันเข้าห้อง แกนั่งอยู่ยามก็แล้วกัน ฉันก็เข้าห้องฉันซิ เรื่องอะไรงานต้องเป็นงาน งานเรามีใช่ไหม พอเข้าไปในห้องก็เตรียมตัวบูชาพระ ล้างหน้าล้างตาบูชาพระพอ ๔ ทุ่มเป๋ง ท่านมาทันทีตามเวลาเลย เป๋ง...ถึงเลย ในห้องมีแสงสว่างคล้ายกับไฟหลายแสนแรงเทียน...สวยมาก มาถึงปั๊บแทนที่ท่านจะบอกนั่ง ท่านบอกเธอเหนื่อยมาตั้งแต่เช้า...เพลียนอนฟังและจงคิดตามฉันพูด ท่านสอนตั้งแต่ ๔ ทุ่ม ถึง ตี ๒ ถึง ๑ เดือน สอนวิชาอะไรรู้ไหม “ทุกข์” ทุกข์ตัวเดียว ฉันมีความรู้อริยสัจแค่ “ทุกข์” ตัวเดียวนะ ผู้ถาม หนึ่งเดือนหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่ ๑ เดือนเต็ม ค่อย ๆ พูดไปทีละข้อ ท่านพูดละเอียดมาก พูดช้า ๆ ให้คิดตาม พอถึงตี ๒ ก็กลับ อย่างนี้ทุกคืน ๑ เดือน เป็นอันว่านอนดี ถ้านอนภาวนาทุกขเวทนามันไม่เครียดใช่ไหม ถ้ามันจะหลับให้ปล่อยหลับไปเลย อย่าฝืนไว้เพราะจิตถ้าเริ่มเป็นสมาธิ กำลังใจจะรวมตัว พอถึงฌานปั๊บ จะตัดหลับ เมื่อหลับแล้วหลับกี่ชั่วโมง ก็ถือว่าทรงฌานอยู่เท่าเวลานั้น เวลาหลับเขาถือว่า “ทรงฌาน” อันนี้ได้กำไรมาก ถ้าจิตเริ่มเป็นสมาธิกำลังใจจะรวมตัวมาทีละน้อย พอสมาธิมั่นคงพอถึงฌานปั๊บ มันตัดหลับทันที ตัดหลับแบบนี้สังเกตเวลาตื่น ถ้าจิตทรงฌานก่อนหลับจริงเวลาตื่น พอรู้สึกครึ่งหลับครึ่งตื่น มันจะภาวนามาเลย ไม่ต้องบังคับ เขาภาวนาเลย ภาวนาด้วยกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออด้วย เวลานั้นจะเป็นไปตามนั้น ผู้ถาม ถ้าปุ๊บปั๊บตายขณะนั้น ก็... หลวงพ่อ ไปตามกำลังฌาน เขาถือว่าก่อนจะหลับอยู่ฌานไหน เวลาหลับก็ทรงฌานนั้น ถ้าหากว่าตายขณะหลับก็ไปตามกำลังของฌาน ถ้าเป็นฌานโลกีย์ธรรมดา ก็ไปเป็นพรหม แน่นอน ถ้าบังเอิญเวลาก่อนจะหลับ มันใช้วิปัสสนาญาณควบคิดว่าการเกิดเป็นมนุษย์มันเป็นทุกข์ เราไม่ต้องการมันอีก ร่างกายเต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก เป็นทุกข์อย่างนี้เราไม่ต้องการอีก คำว่า “ไม่ต้องการร่างกาย” นี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ ถ้าตายเวลานั้น จะไปนิพพานทันที ผู้ถาม อย่างนี้ไม่ต้องลงทุนอะไรเลยนะครับ? หลวงพ่อ ก็ต้องลงทุนนอนหน่อย (หัวเราะ) นั่ง นอน ยืน เดิน มีผลเสมอกัน ผู้ถาม ขอถามอีกนิดหนึ่งครับ ตอนที่สมเด็จท่านสอนทุกข์นี่ใช้ภาษาอินเดียหรือภาษาอะไรครับ? หลวงพ่อ ภาษาไทยชัดมาก เพราะมาก เสียงเพราะจริง ๆ เสียงกังวาล อย่าลืมว่าพระพุทธเจ้าคนภาษาไหน เวลาเทศน์จะเป็นภาษานั้นหมด เวลาฟัง ๑๐ ภาษาก็ต่างคนต่างรู้เป็นภาษาของตนเอง เป็นอัจฉริยะไง อัศจรรย์ยังไงล่ะ เทศนาปาฏิหาริย์ เทศน์เป็นปาฏิหาริย์ แต่ใครนั่งด้านไหนก็ตาม จะถือว่าพระพุทธเจ้าหันหน้าไปหาเสมอ ไม่มีคำว่า “หลัง” ไม่มีคำว่า “ข้าง” ดีไหม ผู้ถาม เสียดายนะ เกิดทันตอนนั้นป่านี้ก็ หลวงพ่อ ป่านนี้ก็ลงอเวจีไปแล้ว (หัวเราะ) นั่งสมาธิเวียนศีรษะ ผู้ถาม คือว่าไม่ทราบเป็นเพราะเหตุไร เวลานั่งสมาธิคราวใดจะมีความรู้สึกเวียนศีรษะ มีความคลื่นเหียนเป็นอย่างมาก แต่เมื่อลูกตรวจดูแล้ว ก็ปรากฏว่าในอดีตชิตเคยมีแมวกัดลูก เมื่อนั่งทีไรก็มีอาการอย่างนี้เกิดขึ้นทุกครั้ง จึงอยากจะกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า ก่อนนั่งควรจะทำอย่างไร... อาการอย่างนี้จึงจะไม่เกิดขึ้นอีกเจ่าคะ? หลวงพ่อ ลำบากเหมือนกันนะ เอาอย่างนี้ซิ ก่อนจะนั่ง อุทิศส่วนกุศลให้ ขอให้แมวอโหสิกรรมเสียก่อน แล้วก็ทำจิตให้เป็นสุข อย่าให้เครียดเกินไป กรรมฐานทำใจให้สบาย ๆ ถ้าเครียดเกินไป มันก็เวียนหัวเหมือนกัน อาจจะเครียดเกินไปละมั้ง จะตั้งใจเอาดีมากไปนะ ผู้ถาม อ๋อ ทำกรรมฐานนี่ ต้องใจสบาย ๆ หรือครับ? หลวงพ่อ ก็ มัชฌิมาปฏิปทา ไงล่ะ เธอทั้งหลายจงละส่วนสุด ๒ อย่าง คือ ๑.กามสุขัลลิกานุโยค คืออย่าอยากได้เกินไป ๒.อัตตกิลมถานุโยค เคร่งครัดเกินไป ถ้าส่วนสุด ๒ อย่าง อย่างหนึ่งอย่างใดมีกับเธอ เธอจะไม่บรรลุมรรคผล ขอทุกคนจงตั้งอยู่ใน มัชฌิมาปฏิปทา คือ “พอสบาย ๆ” ทำสมาธินิ่ง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพ คือเวลาที่ลูกนั่งปฏิบัติพระกรรมฐาน เวลาจิตสงบแล้วจะนิ่งไปเลย นิ่งไปชนิดที่เรียกว่า ไม่รับรู้ไม่รับทราบ มันนิ่งไปเฉย ๆ ข้างล่างก็ไม่ไป ข้างบนก็ไม่ไป ลูกก็เกรงว่าถ้าหากตายไปในลักษณะนิ่งไม่รู้สึกอย่างนี้จะไปในที่ไม่ดีไม่ชอบเป็นแน่ จึงกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า มีคำแนะนำอย่างไรต่อไปจากนิ่งเจ้าคะ? หลวงพ่อ มันนิ่ง ต่อไปก็นอน โธ่เอ๋ย เขาก็ต้องการกันแค่นิ่ง ไอ้นิ่งเป็นอารมณ์ของฌาน มันเป็นอุเบกขาใช่ไหมล่ะ ถ้าจิตเป็นอุเบกขาจัดว่าเป็นฌานสูง ต้องการกันแค่นั้น จะไปนิพพานหรือไม่ไปนิพพานอยู่ที่อารมณ์ต้น ก่อนที่เราจะภาวนาต้องพิจารณาใคร่ครวญก่อน ตัดสินใจว่าเราจะไปที่ไหนก่อน ถ้าตายแล้วจะไปไหน อย่างที่เคยบอกไว้นะ แล้วเราก็ภาวนา ถ้าจิตเป็นสมาธิถ้าตายเมื่อไร เราก็ไปตามที่เราต้องการเมื่อนั้น อารมณ์ดิ่ง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง หลวงพ่อ พูดถึงเรื่องอารมณ์ดิ่งในการทำสมาธินั้น หลวงพ่อบอกว่า เป็นอารมณ์ฌาน ทีนี้พอลูกมาทำบุญกับหลวงพ่อ พอเห็นหน้าหลวงพ่อปุ๊บ ก็มีอารมณ์ดิ่งอย่างนั้นปั๊บทันที อยากจะหลับตาทำสมาธิก็หลับไม่ได้ ทำไมจึงเป็นอย่างนั้นเจ้าคะ? หลวงพ่อ ความจริงไม่จำเป็นจะต้องนั่งหลับตาหรอก ถ้าดิ่งแบบนั้นก็มีสมาธิแบบนั้น ก็มีสมาธิ ๒ อย่าง สังฆานุสสติ กับ จาคานุสสติ นึกถึงพระเป็นสังฆานุสสติ อันนี้ดีมาก ผู้ถาม พูดถึงว่าถ้าจะให้ดียิ่งขึ้นไปกว่านี้ ตอนอารมณ์ดิ่งจะต้องทำอะไรเพิ่มเติมอีกเจ้าคะ? หลวงพ่อ โดดขึ้นหลังคา เอาขาไปแขวนกับต้นไม้ หัวห้อยลงมา ไม่ต้องหรอก เอาแค่นั้นพอนะถ้าเลยไปต้องทำแบบนั้น ภาวนาปนเป ผู้ถาม กราบเท้านมัสการหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ขณะนี้ลูกใช้คาถาเงินล้านของหลวงพ่อผสมปนเปกันไป จนกระทั่งไม่แน่ใจเสียแล้ว กล่าวคือคาถาก็ว่าเต็มบท อานาปาก็จัก พิจารณาขันธ์ ๕ ก็คิด นิพพานก็จะไป ทำไปทำมาเดี๋ยวนี้ชักขลุกขลักเสียแล้ว ก็เลยเริ่มต้นแบบเดิมอีก ก็อยากกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า อันนี้เป็นเพราะอารมณ์ของจิตของลูกฟุ้งซ่านไปหรือเปล่า และจะแก้ไขอย่างไรครับ? หลวงพ่อ ใช้เวลาซิ เวลาไหนจะใช้อะไร แต่ว่า อานาปานุสสติ ต้องใช้ประกอบเสมอไปนะ ทุกอย่างจะทำอะไรก็ตาม ต้องขึ้นต้นด้วยอานาปานุสสติ กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ว่าช้า ๆ สบาย ๆ อักขระชัดเจน ขณะภาวนามีอารมณ์ฟุ้งซ่าน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ปัจจุบันนี้การปฏิบัติธรรมของกระผมชักจะแย่ลงไปเลยเกิดปัญหาขึ้นมาว่า ในขณะที่กำลังภาวนา “นะมะ” เข้า “พะธะ” ออก ปรากฏใจของลูกแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งอยู่กับองค์ภาวนา ส่วนหนึ่งฟุ้งซ่านออกไปข้านอก ฟุ้งซ่านไร้สาระ อารมณ์แบบนี้เกิดขึ้น จึงทำให้ตัวเองต้องวิตกกังวลว่า หากตายในขณะที่จิตซีกหนึ่งฟุ้งซ่าน จะตกนรกเป็นอย่างแน่ ขอบารมีหลวงพ่อช่วยชี้แนะแก้ไขด้วยเถิดขอรับ หลวงพ่อ ไม่เป็นไร... แบ่งเป็นสองซีก ซีกที่ภาวนาอยู่เกิดเป็นนางฟ้าและพรหม อีกซีกหนึ่งเกิดในนรก เดี๋ยวก่อนที่เขาถามมานี่เป็นเรื่องธรรมดานะ ถ้ายังไม่ถึงอรหันต์เพียงใด ความฟุ้งซ่านย่อมมีกับคน แต่ให้ดูกำลังใจว่า เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ไหม เอาแค่นี้พอ ถ้าจิตยังมีความเคารพอยู่ถือว่าไม่เหลวงไหล เรื่องคิดออกนอกทางเป็นของธรรมดา ดูตัวอย่าง พระอัสสชิ พระอัสสชินี่เป็นพระอรหันต์รุ่นแรกรุ่น ๕ องค์ เวลาที่จะนิพพานเป็นโรคทางกระเพาะหนัก ปั่นป่วนมาก จิตใจก็ฟุ้งซ่าน ก็ให้พระไปนิมนต์พระพุทธเจ้ามา พอพระพุทธเจ้ามาก็กราบทูลว่า “บัดนี้ความดีของข้าพระพุทธเจ้าสบายตัวเสียแล้ว ความดีหมดไปเหลือแต่ความชั่ว ... จิตฟุ้งซ่าน พระพุทธเจ้าถามว่า “อัสสชิ เธอระงับกายสังขารไม่ได้หรือ” (คืออานาปา) ท่านบอก “ระงับไม่อยู่ครับ มันฟุ้งใหญ่ มันเสียด” พระพุทธเจ้าถามว่า “อัสสชิ เธอเห็นว่าร่างกายเป็นของเธอหรือ” ท่านบอก “ไม่ใช่ พระเจ้าข้า” ในเมื่อมีความรู้สึกอย่างนี้ พระพุทธเจ้าบอกว่า “ความดีของเธอไม่เสื่อม ยังทรงตัวอยู่” พระอรหันต์ก็ฟุ้งซ่านเหมือนกันเวลาป่วยหนัก และที่คิดว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรามันไม่มี คือไม่ต้องการโลกต่อไป ใช่ไหม สำหรับญาติโยมที่ถามเมื่อกี้นี้ ไม่เป็นไรนะ จิตยังเคารพพระอยู่...เป็นใช้ได้ เคยเป็นมิจฉาทิฏฐิ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง กระผมเคยเป็นมิจฉาทิฏฐิอยู่ครั้งหนึ่ง คือคิดว่าพระอรหันต์ที่เหาะได้ แสดงว่ากิเลสยังไม่หมด เพียงแค่ปรามาสเท่านี้เอง ปรากฏว่าภายหลังผมเจริญพระกรรมฐานแล้ว สมาธิไม่เคยผ่องใสเลย กระผมขอกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า กระผมต้องการนิพพานในชาตินี้ เมื่อเป็นอย่างนี้อยู่ จะมีทางแก้ไขอย่างไรหรือไม่ขอรับ? หลวงพ่อ ขอขมาโทษต่อพระพุทธเจ้า ปรามาสตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไป ขอขมาโทษเป็นส่วนตัวไม่หาย ต้องขอขมาโทษตรงต่อพระพุทธเจ้านะ ครวญเพลงทำสมาธิได้ดี ผู้ถาม เวลาปรกติแล้ว ลูกก็ปฏิบัติตามคำสั่งหลวงพ่อมาด้วยดีโดยตลอด แต่ที่จะออกนอกคอกอยู่สักนิด ก็คือว่า เวลาที่ลูกครวญเพลงเบา ๆ ทีไร อารมณ์จะเป็นสมาธิ เห็นอะไรต่ออะไร แบบชนิดที่ว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ แต่พอจับคำภาวนานั่งสมาธิกลับไม่เห็นอะไรเลย ในลักษณะอย่างนี้ จึงทำให้กระผมมีความอึดอัดเป็นอย่างมาก เกรงว่าครวญเพลงเกิดสมาธิ ตายแล้วตกนรก หลวงพ่อ อ้าว ๆ ที่นรกไม่มีเพลงนะ ถ้าพวกเพลงนี่ต้องไปอยู่ ดาวดึงส์ ทั้งรำทั้งเพลงเลย ความจริงการครวญเพลงของเขา จิตเป็นสมาธิขั้นอุปจารสมาธิ ครวญเพลงก็ดีหรือว่าสวดมนต์ก็ตาม หรือว่าฟังเทศน์ก็ตาม เวลานี้จิตอยู่ในขั้นอุปจารสมาธิ เวลานั้นอารมณ์เป็นทิพย์ เห็นอะไรได้ สำหรับคนนี้เวลานั่งทำสมาธิแน่นเกินไป เลยอุปจารสมาธิ ถ้าถอยกำลังใจตั้งอยู่อุปจารสมาธิจะเห็นชัดกว่ามาก ผู้ถาม ครับ...! การดูมหรสพ ผู้ถาม ลูกชอบดูละคร โขน หนัง เรียกว่าติดเอามาก ๆ เลย มีความลุ่มหลงเป็นอย่างมาก ลูกอยากจะเรียนถามว่า การดูมหรสพเพื่อเป็นแนวทางพระกรรมฐานนั้น เราควรจะดูแบบไหน และใช้ปัญญาแบบไรเจ้าคะ? หลวงพ่อ ใช้ปัญญาแบบ พระสารีบุตร พระโมคคัลลาน์ เอาอย่างนี้ซิ ถ้าดูแบบวิปัสสนาญาณ ก็เห็นว่าผู้แสดงนี้เป็นทุกข์ ไม่ทุกข์เขาไม่มาแสดง เขาต้องการสตางค์เพราะเขาไม่มีเงิน ต่อมาแสดงเมื่อมันเหนื่อยก็ทุกข์ คนแสดงก็ดี คนดูก็ดี ไม่ช้าก็ตายเหมือนกันหมด ทุกคนต่างคนต่างตาย พระสารีบุตร พระโมคคัลลาน์ คิดแบบนี้ ท่านบอกว่า คนที่แสดงมหรสพก็ตาม คนดูก็ตาม ทั้งหมดนี้มีอายุไม่ถึง ๑๐๐ ปีก็ตายหมด ไอ้เราก็ต้องก็ตาย ไอ้เราก็ต้องกตายเหมือนกัน ทีนี้ในโลกนี้มีของคู่กัน มีผู้หญิงก็ต้องมีผู้ชาย มีมืดก็ต้องมีสว่าง ฉะนั้น ธรรมที่ทำให้คนตายมีอยู่ ธรรมที่ทำให้คนไม่ตายก็ต้องมี เบื่อวัฏฏจักร ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา หนูไม่เคยปฏิบัติกรรมฐาน ไม่เคยฟังเทศน์เลย แต่มีความรู้สึกอย่างนี้เจ้าค่ะ คือเบื่อในวัฏฏะเจ้าค่ะ มันเกิดขึ้นเองโดยไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก่อน (เบื่อแบบนี้ไว้ใจได้หรือเปล่าก็ไม่รู้) ตอนนี้ลูกก็มีอายุแค่ ๓๔ ปี อยากจะอยู่สัก ๕๐-๖๐ ปี แล้วก็ตั้งใจจะไปไม่กลับเลย อารมณ์อย่างนี้ ลูกควรจะเพิ่มเติมอย่างไรอีกเจ้าคะ? หลวงพ่อ อารมณ์นี้ดี ... เป็นนิพพิทาญาณ ไม่เคยเจริญกรรมฐานเลยนะ ไม่แน่หรอก เพราะว่าชาตินี้ไม่ได้เจริญ แต่ชาติก่อนเจริญ ผลของบุญนี่นะ ถ้าสนองขึ้นมาเมื่อใด สังเกตในสมัยพระพุทธเจ้า คนไม่เคยเรียนอะไรเลย ฟังเทศน์จบเดียวเป็นอรหันต์พร้อมไปด้วยปฏิสัมภิทาญาณ นั่นแสดงว่าบุญเก่าเขาเต็ม รายนี้ก็เหมือนกัน จะถือว่าไม่เคยเจริญกรรมฐานไม่ได้ ชาตินี้ไม่ได้ทำแต่ชาติก่อนทำ บุญอันนั้นมาสนอง แต่ระวังให้ดีนะ มันเป็นฌานโลกีย์ มันเสื่อมได้ ต้องระมัดระวังให้มาก สมาธิเสื่อม ดูข้างล่าง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกเชื่อคำแนะนำของหลวงพ่อทุกอย่าง แต่ว่าเรื่องสมาธินี่ ไม่ทราบว่าระยะนี้เป็นอย่างไร ชอบตกอยู่เรื่อย ๆ พยายามยกเอาจิตขึ้นสู่องค์ภวังค์ ขึ้นมาแป๊บเดียวมันก็หล่นลงไปอีก เบื่อเหลือเกินเจ้าค่ะ สมาธินึกขึ้นได้ว่าหลวงพ่อแก้ปัญหาเก่ง สามารถจะยกจิตขึ้นมาได้ ขอให้หลวงพ่อช่วยแนะนำอีกเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ ขอยืมบุ้งกี๋เหล็กเขามา เอาตักจิตยกขึ้นมา (หัวเราะ) เอาอย่างนี้ซิ เรื่องนี้เป็นของธรรมดา ทำไป ๆ ต่อไปเมื่อกำลังจะดีบ้าง กิเลสมาร ก็เข้ากวนใจ ทุกคนเป็นเหมือนกัน ก็เกิดมีอารมณ์เบื่อบ้าง มีอารมณ์มืดบ้าง พอดีร่างกายไม่ค่อยสบายก็มีอารมณ์มืด ทีนี้การภาวนามันมีสองอย่าง อารมณ์ทรงตัว กับ อารมณ์คิด ถ้าทรงตัวไม่ไหวก็ใช้อารมณ์คิด คิดว่ายังไง มันจะแก่ก็ช่างมัน มันจะตายก็ช่างมัน มันจะป่วยก็ช่างมันหวยจะกินก็ช่างมัน ฝึกไว้มันจะชิน คิดว่าทุกอย่างมันเป็นไปตามกฎของกรรม ขึ้นชื่อว่ากฎของกรรม ไม่มีใครหลีกเลี่ยงได้ พระพุทธเจ้าเองยังโดน เราก็เหมือนกัน ขอทำชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายตายแล้วเลิกกัน... ไปนิพพาน อารมณ์แทรกซ้อน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง เวลาลูกเริ่มไหว้พระสวดมนต์ อันดับแรกจะต้องหาวาจนน้ำตาไหลทั้ง ๆ ที่ไม่เคยง่วง อีกอย่างหนึ่งชอบมีอารมณ์แทรกซ้อน เวลาเจริญอานาปานุสสติกรรมฐาน คิดโน่นคิดนี่ เผลอ ๆ ก็เป็นฝ่ายอกุศลอารมณ์อย่างนี้จะมีวิธีแก้ไขอย่างไรหรือไม่ เพราะเป็นปรกติเลยขอรับ? หลวงพ่อ เป็นของธรรมดา ทุกคนเป็นเหมือนกัน เขาเรียกว่า นิวรณ์ นิวรณ์ตัวที่ ๒ กับนิวรณ์ตัวที่ ๔ นิวรณ์ตัวที่ ๒ คืออารมณ์โกรธไม่พอใจ นิวรณ์ตัวที่ ๔ คือ อารมณ์ฟุ้งซ่าน เราก็ถอยหลังเสียใหม่ พักสักประเดี๋ยวหนึ่ง ดูอะไรให้มันเพลิน ๆ พอเริ่มใหม่ปั๊บ จับลมหายใจเข้าออก เอาจิตจับเฉพาะลมหายใจเข้าออกให้มันทรงตัว ทีสองทีก็เป็นที่พอใจแล้ว ทำอารมณ์ก่อนผ่าตัด ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม หมอจะผ่าตัดลูกด้วยเหตุที่เป็นเนื้องอก ลูกไม่อยากผ่าตัดเลยเพราะกลัวตาย แต่ก็ไม่เชิงกลัว (เอ๊ะ ยังไง) คือลูกอยากจะถามหลวงพ่อเดี๋ยวนี้ว่า ก่อนที่เขาจะลงมือผ่าตัด ลูกควรจะทำอารมณ์พระกรรมฐานแบบไหน เวลาตายตอนนั้นจะได้ตายสบาย? หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ซิ พุทโธ นึกถึงพระพุทธเจ้าหรือพระพุทธรูปก็ได้ ไง ๆ ก็ยังไม่ตายวันนี้ เขายังไม่ถึงเวลาตาย ไอ้เวลาตายคือเวลาไม่หายใจ นี่ผ่าตัดอีกสัก ๓ ครั้งก็ยังไม่ตายคนนี้นะ แต่ว่า เขาต้องการอารมณ์กรรฐานนะ ... ดีแล้ว พุทโธ ก็แล้วกันสำคัญมาก ถ้าหากว่าได้มโนมยิทธิจับพระนิพพานเป็นอารมณ์พุ่งไปนิพพานเลย ไปนิพพานนี่ดีนะ คือว่าหมอไปทำฟันฉันทั้งหมดนี่ ๒๘ ครั้ง ขูดบ้าง เจาะบ้างอะไรบ้างนะ ฉันกลัวปวดกลัวเสียวฉันก็เปิดไปนิพพาน หมอต้องเรียกเวลาเลิก ผู้ถาม ทำไมครับ หลวงพ่อ? หลวงพ่อ ไม่รู้สึก เพลิน คราวหนึ่งเมื่อรู้สึกจะเสียว พอเริ่มเสียวนิด ฉันก็เปิดไปเลย หมอก็ทำไปตั้งแต่ ๒ โมงครึ่งเช้า ถึง ๕ โมง ๑๕ นาที หมอเรียกฉันรู้สึกตัว ถามหมอเสร็จแล้วหรือ หมอถามว่าเจ็บไหม พอแกถามว่าเจ็บไหม ทีนี้ไปเลย (หัวเราะ) ความจริงยังไม่เจ็บนะ ก็เลยคิดว่าน่ากลัวมันจะเจ็บจะเสียว ใช่ไหม... เขาถามว่าเจ็บไหม เสียวไหม หลวงพ่อ? ฉันก็ไม่พูด ไปเลย ผู้ถาม จะผ่าตัดหรือจะทำอะไร เราจู๊ดไปเลย นี่ หลวงพ่อ นึกถึงนิพพานไว้เป็นอารมณ์ ถ้าบังเอิญมันตายเวลานั้น ก็ไปนิพพานเลย ทำสมาธิชอบโกรธ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกทำสมาธิทีไร กิเลสตัวหนึ่งที่ลูกแก้ไม่ได้ คืออารมณ์โกรธ เวลาปรกติก่อนนั่งสบาย หัวเราะร่าเริง พอเข้านั่งสมาธิทีไร เดี๋ยวไอ้โน่น เดี๋ยวไอ้นี่มารบกวน โดยสถานที่นั้นก็เงียสนิท ทีนี้ก่อนจะนั่งจะตั้งจิตอธิษฐานว่าอย่างไร เวลาทำกรรมฐานจึงจะไม่มีอารมณ์โกรธเจ้าคะ? หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ซิ ไม่โกรธหนอ ๆ ๆ (หัวเราะ) ผู้ถาม หายไหมครับ หลวงพ่อ อาจจะไม่หาย ก็ทำใจสบาย คิดว่าเป็นเรื่องธรรมดาเสียงที่อื่นจะเข้ามาก็เป็นเรื่องของเขา เพราะเสียงนี้เราไม่ต้องการ สิ่งที่เราต้องการคือคำภาวนากับรู้ลบมหายใจเข้าออกเท่านี้ก็พอแล้ว ชอบถูกนินทา ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อเจ้าขา ลูกมีเวรมีกรรมอะไรก็แก้ไม่นาย ทำบุญสงเคราะห์อนุเคราะห์คนอื่นทีไร ทีแรกเขาก็ยกยอปอปั้นดี พอลับหลังก็นินทาแหลกเลย ในลักษณะอย่างนี้ทำให้ลูกมีอารมณ์ขุ่นหมอง จิตเศร้าหมองเป็นประจำ ขอกรรมฐานของหลวงพ่อช่วยแนะนำอารมณ์ประเภทนี้ด้วยเถิดเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ แก้อารมณ์เรอะ ฉันคิดว่าแก้อาการ ผู้ถาม อารมณ์กับอาการไม่เหมือนกันหรือครับ? หลวงพ่อ ไม่เหมือน... อาการคือถูกนินทา อารมณ์ก็ขุ่นมัวอาการอย่างนี้นะฉันเจอเป็นปรกติ พระเจ้าอยู่หัวท่านเคยตรัส สมัยก่อนเคยไปเฝ้าท่านนะ ท่านก็เล่าเรื่องคนนินทาท่านให้ทราบ ท่านเล่าหลายเรื่อง มาตอนหลังท่านบอกว่า เมื่อก่อนนี้เขาหาว่าผมฆ่าพี่ แต่เดี๋ยวนี้เขาหาว่าผมฆ่าพ่อตา เขาลือบอกว่า พ่อตาผมเป็นไข้ เอาเหล้ากรอกปากแล้วพาวิ่งตายไปเลย ก็เลยบอกว่า พระองค์แบบไหน อาตมาก็แบบนั้นแหละ ให้เขาเขาก็ด่า ไม่ให้เขาเขาก็ด่า แต่เราให้เป็นการตัดกิเลสของเราเป็นของธรรมดา ท่านถามหลวงพ่อคิดยังไงครับ เลยบอกว่าใช้คาถาบทหนึ่งว่า “ช่างมัน ๆ” และถามว่าพระองค์ล่ะ ผมคิดว่า “เรื่อย ๆ ครับ” คือว่าของอย่างนี้เป็นธรรมดา แต่ว่าเราทำดีก็แล้วกัน ผู้ถาม โอ นี่แสดงว่า พระทัยของพระองค์นี่ปลงตกเหมือนกันนะ หลวงพ่อ ท่านเก่งมาก เรื่องปลงนี่เก่งมาก สมาธิก็เก่งจัด การเข้าฌานออกฌานก็เก่งมาก และใช้กำลังใจได้ด้วยนะ ท่านเป็นอัจฉริยะทุกอย่าง ถ้าไม่คุยกับท่านจะไม่รู้เรื่อง เรื่องธรรมะนี้ละเอียดลออมาก ทั้ง ๆ ที่มีเวลาน้อยนะ แต่ว่าละเอียดลออมาก ช่วยเขาแต่ถูกด่า ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกเองก็ไม่รู้ว่าจะมีกรรมเก่ากรรมใหม่เป็นประการใด คือว่าลูกเป็นคนมีเมตตา ชอบช่วยเหลือเผื่อแผ่คนบ้านใกล้เรือนเคียง และคนเดือดร้อนทั่วไปเสมอ ติดใจอยู่นิดหนึ่งก็คือว่า ทุกคนที่ได้รับการช่วยเหลือไปแล้วนั้น เขาไม่เคยรู้บุญคุณของลูกเลย เขากลับมาเยาะเย้ย “เอ็งมันโง่ เสือกช่วยข้า” ลูกก็มานึกถึงหลวงพ่อว่าวิธีทำบุญให้เขานึกถึงบุญคุณของเรานี้ จะทำแบบไหนเจ้าคะ? หลวงพ่อ ความจริงโรคเดียวกับฉันนะ ก็ถูกด่ามาเรื่อย ๆ ผู้ถาม โอ หลวงพ่อเป็นเหมือนกันหรือครับ? หลวงพ่อ สมัยก่อนหนัก หนักมาก ในเมื่อเราเป็นโรคเดียวกันรักษาหายนะ ให้ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดา ทำบุญให้ถือว่าทำบุญ ถ้าทวงคุณอานิสงส์มันต่ำ เราถือว่าเราให้ไป เราสงเคราะห์เพื่อเป็นทานใช่ไหม ปล่อยไปเลย ถ้าเขาอกตัญญู ไม่รู้คุณมาสองเราแบบนั้น เขาลงนรกเป็นเรื่องเของเขา อย่าไปยุ่งกับเขา ผู้ถาม โอ ขนาดหลวงพ่อยังเป็นเลยนะ หลวงพ่อ พระพุทธเจ้ายังเป็น โดนเทวทัตล่อเห็นไหมล่ะ โกรธแล้วถึงมีสติ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกเป็นคนนิสัยไม่ดีนิดเดียว คือเป็นคนที่โกรธแล้วจะมีสติในภายหลัง ทีนี้ก็อยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า ควรจะทำอย่างไร จึงจะมีสติก่อนที่เราจะโกรธเจ้าคะ? หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ซิ พอลุกมาตอนเข้าก็ตะโกน “สติโว้ย...มาพร้อมกันโว้ย” “สติโวย...มาบริบูรณ์โว้ย” “สติโว้ย...มาทั้งหมดโว้ย” ร้องอย่างนี้ทุกวันเลย สติไม่ไปไหนนะ หัดเจริญ อานาปานุสสติ ซิ ชอบอาฆาตพยาบาทผู้อื่น ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกมีกิเลสที่เลวร้ายอยู่หนึ่งตัว กล่าวคือ ความเคียดแค้นอาฆาต พยาบาทจองเวรกับผู้อื่นทั้ง ๆ ที่เมตตาก็แผ่แล้ว เทปหลวงพ่อก็ฟังแล้ว หนังสือหลวงพ่อก็อ่านแล้ว สมาธิก็ทำแล้ว แต่ปรากฏว่าแก้ไม่ตก วันนี้อยากจะขอทีเด็ดจากหลวงพ่อว่า จะมีทางแก้ไขอย่างไร เพราะเกรงว่าอาฆาตเคียดแค้น ตายแล้วจะลงนรกเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ ทีเด็ดก็คือว่า ไปหาถ้ำไกล ๆ จะได้ไม่โกรธคนอื่น ถ้าอย่างนี้เขาดีแล้วนี่ เขารู้ว่ามันไม่ดี แสดงว่าคนนี้เริ่มดีมากแล้ว ใช้อารมณ์เดิมก็แล้วกันนะ ค่อย ๆ ลดไปนะ อย่างนี้ดีมากแล้ว ไม่ใช่ไม่ดีนะ เขารู้ว่าเลวแสดงว่าดีขึ้นนะ ที่พระพุทธเจ้าทรงบอกว่า “บุคคลรู้ตัวว่าเป็นพาล ท่านบอกว่าบุคคลนั้นคือบัณฑิต” ทีนี้คนที่เขาคิดว่าอารมณ์นี้มันเลว แต่ความจริงที่รู้ว่าเลวน่ะ ต้องเป็นคนดีแล้ว ถ้าไม่ดีไม่รู้ว่าเลว และประการที่ ๒ ถ้ารู้ว่าเลวแล้ว ไม่กล้าเปิดเผย ยังลงอยู่นี่เขาเปิดเผยตัวเองก็ต้องถือว่าดีมาก ค่อย ๆ ทำก็แล้วกันจะหายไปเอง ชอบทะเลาะกัน ผู้ถาม กราบเท้าพระเดชพระคุณหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกมีเรื่องจะขอคำแนะนำจากหลวงพ่อ คือว่าที่บ้าน ของลูกครอบครัวไม่รู้เป็นยังไง ทะเลาะวิวาทเสียดด่า มีอันจะต้องเดือดร้อนกันอยู่เสมอ หลวงพ่อ ดี ๆ ๆ ๆ ผู้ถาม อะไรครับ หลวงพ่อ แกด่ากันทะเลาะกัน หลวงพ่อ ออกกำลังกาย ใช้ปัญญาบารมี (หัวเราะ) เอ๊ะ ด่าแบบไหนจะดีนะ ใช้ปัญญาเรื่อย ๆ นี่ล่ะ โลกธรรม ผู้ถาม เขาบอกว่า แม่ก็ศาสนาหนึ่ง ลูกก็ศาสนาหนึ่ง คือในบ้านมีทั้ง ๓ ศาสนา มีพุทธ มีคริสต์ มีอิสลาม แต่ที่ร้ายที่สุดก็คือว่า ศาสนาอิส...นะ ชอบรังแกพุท และชอบว่าพระพุทธรูป ดิฉันก็โกรธก็บอก “นี่ของใครของมันซิวะ” หลวงพ่อ เออ...เขาถูกต้องนะ ผู้ถาม วะ...นี่ถูกต้องหรือครับ? หลวงพ่อ ถูกต้อง วะ...นี่แปลว่าหนักแน่นนะ ผู้ถาม ก็เลยเป็นอันเถียงกันไปเถียงกันมาแบบนี้ ที่จะกราบเรียนถามโดยสรุปก็คือว่า ลูกควรจะทำอารมณ์จิตแบบไหน ที่สามรถจะต้านอารมณ์ที่มายั่วเย้า หรือยุแหย่ ทำให้ลูกเดือดร้อนได้เจ้าคะ? หลวงพ่อ ถือว่าเป็นกฎธรรมดาของชาวโลก ชาวโลกถ้าเกิดมาแล้วต้องถูกนินทา วันนี้แนะนำว่า นัตถิ โลเก อนินทโต คนที่ไม่ถูกนินทาเลยไม่มีในโลก นี่พระพุทธเจ้าพระพุทธรูปแท้นะ ท่านเป็นอิฐเป็นปูน พูดไม่ได้ยังถูกนินทาเลย ได้เราล่ะ ผู้ถาม อย่างนั้นก็ให้มันนินทาให้มันด่าต่อไป หลวงพ่อ ถ้านินทาด่าจริง ๆ ถ้าเก่งจริงนะ เขาต้องไม่เลิก ๒๔ ชั่วโมง ไม่กินข้าวไม่กินปลา ด่าเรื่อย...นินทาเรื่อย ผู้ถาม แม้แต่จะปวดท้องขี้ปวดท้องเยี่ยว หลวงพ่อ ไม่เลิก ไม่ไปขี้ด้วย ผู้ถาม ไหวหรือครับ...หลวงพ่อ? หลวงพ่อ ก็นั่นซิ เดี๋ยวแพ้เราเองแหละ เราเฉยไว้ก็หมดเรื่องกันนะ ผู้ถาม ใช้ตำราหลวงพ่อ หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ช่างมัน ๆ ๆ ทุกข์เรื่องสามี ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา สามีของลูกไม่ค่อยอยู่กับร่องกับรอยอีเหละเขะขะ แบบสิบแปดมงกุฎ มีเพื่อนเขาแนะนำว่าให้ไปหาหมอแขก เขาสามารถจะทำผู้จิตผูกใจให้แน่นปึกเลยเจ้าค่ะ ลูกเกรงว่าถ้าทำไปแล้วจะเกิดบาปเกิดโทษ ลูกคิดไปอย่างนั้น คือลูกเกรงว่ามโนมยิทธิของลูกจะเสื่อมหาย ฉะนั้นลูกมาพึ่งบารมทีหลวงพ่อดีกว่า วิธีที่จะยึดจิตของผัวโดยธรรม วิธีนั้นขอหลวงพ่อช่วยแนะนำสักครั้งเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ มีอย่างเดียว ยิ้มตลอดเวลา นี่ชนะจริง ๆ นะ มาเวลาไหนก็ยิ้ม มาดึกมาดื่นก็ยิ้ม ยิ้มไว้เถอะ ไมข้าเลิก ผู้ถาม อย่างนี้ไม่ต้องว่าคาถาอะไรเลยหรือครับ? หลวงพ่อ คาถาว่าให้มันเหนื่อย ถ้าหากว่าเราว่าคาถา ด่าเขา เขาไม่เข้ามาหรอก เห็นไหมล่ะนี่จริง ๆ นะ ได้ผลนะ จะมาดึกมาดื่นแล้วก็ตามใจ เห็นหน้าก็ยิ้มไปเถอะ พยายามยิ้มไว้ไม่ช้าเกรงใจ ถ้ายิ้มไว้เรื่อย ๆ ไม่หิ้ว เลิกหิ้ว เขามีตัวอย่างอยู่แล้ว เมื่อก่อนฉันเคยแนะนำวิธีนี้สมัยอยู่กรุงเทพฯ หลายคนนะ โดยมากพวกภรรยาจะไปเล่าให้ฟัง ใช่ไหม ว่าผัวกินเหล้าเมายาและก็เจ้าชู้ บอก “คุณกลับไปตั้งใจยิ้มอย่างเดียว...อย่าบ่น จะไปเวลาไหนก็เตรียมตัวไว้ได้เลย” ถ้าเป็นนักเที่ยว ก่อนกลับมาจากทำงาน เราซักเสื้อรีดผ้าเสร็จ บอกเสี้อผ้ารีดให้แล้ว ไม่ช้าไม่กี่วัน...คุณ ไม่เกิน ๑๕ วันชักปลดจังหวะช้าลง...ไปน้อย ประมาณเดือนเศษ ๆ อยู่นั่นไม่ยาว... ไม่ยาก ผู้ถาม ขนาดหลวงพ่ออยู่วัดยังรู้วิธีปราบ หลวงพ่อ (หัวเราะ) ไม่ใช่อะไร ไอ้ทีแรกจริง ๆ นะ ฉันใช้วิธีนี้ วิธียิ้มนะ แต่ว่าต้องเอาแป้งมาให้กระป๋องหนึ่ง สตางค์ ๖ บาท ธูป ๕ ดอก เทียน ๑ เล่ม จะเสกให้ แต่ว่าจะเสกนี่ต้องเสก ๓ เดือน ให้ระหว่างที่ก่อนจะเสกนี่ ต้องยิ้มไว้เสมอ ๆ นะ ความจริงไม่เสกวางไง้เฉย ๆ (หัวเราะ) พอถึง ๓ เดือนแกก็มาเอาใช่ไหม สตางค์ก็คืนไปบอกว่า สตางค์นี่ไปซื้อของใส่บาตรบูชาครูก็ไปใช้ไม่กี่วันบอกกลับมาชนะแล้ว เพราะอะไร แกเลิกหยุดก่อน ๓ เดือน ใช่ไหม ผู้ถาม โอ...ยังไม่ทันจะใช้แป้งเลยได้ผล หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ที่แรกจะไม่ทำวิธีแบบนั้น เลยเกรงแกจะไม่เชื่อ ต้องทำหน่อย ต่อมา สมเด็จพุฒาจารย์ วัดอนงค์ ท่านเรียกไปถาม เห็นเล่ากันว่า แกมีคาถาเสน่ห์หรือ (หัวเราะ) บอกครับ ผมไม่มีคาถา แต่มีวิธีเสน่ห์ ถามว่าทำไง ก็เลยเล่าให้ฟังหัวเราะกิ๊ก ๆ บอก เออ... เข้าใจหากินโว้ย ทำต่อไป... ได้ผลนะ ชอบทะเลาะกับสามี ผู้ถาม ขอเรียนรบกวนหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกได้นับถือสักการบูชาหลวงพ่อมาเป็นเวลานานแล้ว แต่ว่าอะไร ๆ ก็ดี หมด เสียอยู่อย่างเดียวเจ้าค่ะ ที่แก้ไม่ตก คือว่าสามีกับดิฉันนี่ ชอบทะเลาะกันเป็นประจำ ทั้ง ๆ ที่ต่างคนต่างก็อายุย่างเข้า ๗๐ กว่าแล้ว หลวงพ่อ โอ้ย... ดีมาก ๆ ออกกำลังกาย ผู้ถาม การทะเลาะเบาะแว้งนี่ หลวงพ่อ ออกกำลังกายใช้กำลังสมองด้วย ใช้ความคิดปราดเปรื่อง สรรหาวาจามาด่ากัน ผู้ถาม ทั้ง ๆ ที่ต่างฝ่ายต่างก็ อายุ ๗๐ ปีกว่าแล้ว แกหึงฉันเหลือเกินเจ้าค่ะ ขนาดมาทำบุญแกยังให้คนมาเป็นเพื่อน ลูกก็เลยคิดว่าชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย ไม่อยากแต่งกับมันอีกต่อไปแล้ว ขอให้หลวงพ่อช่วยลูกไปนิพพานเร็ว ๆ เถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ เออ... “อัตตา หิ อัตตโน นาโถ” ตนแลย่อมเป็นที่พึ่งของตน จะไปได้หรือไม่ได้ต้องตนทำเอง พระพุทธเจ้าบอกว่า “อักขาตาโร ตถาคตา” ตถาคตเป็นแต่เพียงผู้บอก ไม่ใช่นำไป บอกแล้วปฏิบัติตาม ของง่าย ๆ รักพระนิพพาน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกรักพระนิพพานมาก ก่อนนอนชอบภาวนา “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” แต่ทำสมาธิไม่ดีเลย อย่างนี้ลูกจะไปนิพพานได้ไหมคะ? หลวงพ่อ คำว่า “สมาธิ” นี่มันจำเป็น แต่คนถามไม่รู้จักสมาธิ ไอ้ตัวนึกถึงนิพพานมันเป็นสมาธิอยู่แล้ว “สมาธิ” เขาแปลว่า “ตามนึกถึง” ถ้านึกถึงนิพพานเขาเรียก อุปสมานุสสติกรรมฐาน ทีนี้ถ้าการนึกถึงนิพพานอย่างเดียว เรารักนิพพานภาวนาว่า “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” บ้าง “นิพพานะ สุขัง” บ้าง “นิพพานัง” บ้าง แต่ว่าก็ต้องดูอารมณ์ใจฝึกไว้อีกส่วนหนึ่ง คนที่จะไปนิพพานได้ต้องไม่ห่วงร่างกาย อันนี้ต้องฝึกไว้ด้วยนะ ต้องฝึกไว้ว่า ขึ้นชื่อว่าร่างกายมันเป็นทุกข์ สภาพของความทุกข์ที่เรามีความทุกข์เกิดขึ้นทุกอย่าง 1. ความหิว ถ้าเราไม่มีร่างกายมันก็ไม่หิว มันหิวเพราะมีร่างกาย 2. หนาวเกินไป ร้อนเกินไป ก็เพราะร่างกาย 3. ป่วยไข้ไม่สบาย เพราะร่างกาย 4. ต้องมีงานหนัก ก็เพราะร่างกาย 5. การพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ก็เพราะมีร่างกาย 6. ความตายมาถึง เพราะร่างกาย ก็ใช้ปัญญาทบทวนไปว่า คนระดับชั้นไหนบ้าง ที่มีร่างกาย ไม่ทุกข์ ถ้าเราจะเกิดอีกกี่ชาติ ถ้าเรามีร่างกายอย่างนี้ มันก็ทุกข์อย่างนี้ แล้วขึ้นชื่อว่าร่างกายมีขันธ์ ๕ แบบนี้ เราจะไม่มีกับมันอีกเราต้องการจุดเดียวคือนิพพาน ทำใจแน่นอนแล้วภาวนาว่า “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” ก็ได้ “นิพพานัง” ก็ได้ ต้องคิดอย่างนี้ก่อนแล้วภาวนาคิดแล้วก็ภาวนาต่อไปอย่างนี้ใช้ได้ ถ้าเป็นอย่างนี้เวลาใกล้จะตายจริง ๆ อารมณ์จิตที่เราพิจารณามันจะรวามตัว มันจะมีความรู้สึกเบื่อหน่ายในร่างกาย และวางเฉยในร่างกาย จะมีความรู้สึกว่า การตายมีความสุขกว่านี้ ก็ไปนิพพาน ผู้ถาม แล้วภาวนาอย่างนี้ละค่ะ มีอยู่คืนหนึ่งพิจารณาความไม่เที่ยง เลยฝันว่ามีคนจะมาเอาลูกไป ลูกหนีแทบแย่ ตื่นแล้วยังมีความรู้สึกว่า เหมือนมีตนจะมาเอาเราไปจริง ๆ ทำไม ภาวนาแล้วเกิดเป็นอย่างนี้เจ้าคะ? หลวงพ่อ นี่แสดงว่ายังไปนิพพานไม่ได้แหง ๆ เพียงแค่เขาลอง เขาทดสอบหน่อยเดียว คนจะไปนิพพานคนเขาต้องทดสอบ เทวดาเขาต้องทดสอบว่า เรามีความมั่นคงพอไหมจะเอาไปหมายจะให้ตาย ความจริงบุคคลที่จะเข้าถึงนิพพาน เขามีความรู้สึกว่า ถ้าร่างกายตายเมื่อไร เขามีความสุข เขาไม่ได้ห่วงร่างกายนะ มันต่างกันเยอะ พิจารณาเกิดดับ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกชื่อ พรรัตน์ โชคจิตสัมพันธ์ อยู่ประเทศออสเตรเลีย หลวงพ่อเจ้าขาลูกอยู่ไกลมาก แต่ก็มีโอกาสได้อ่านหนังสือ ธัมมวิโมกข์เป็นประจำ ก็มีความสงสัยอยากจะใคร่เรียนถามข้ามทวีปมาดังต่อไปนี้ ข้อที่ ๑.การพิจารณาการเดดับนั้น เขาพิจารณากันแบบไหน ขอหลวงพ่อได้โปรดแนะนำด้วยเถิดเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ เอ๊ะ นี่พูดไปเขาจะได้ยินหรือเปล่า นี่ฉันตอบไปนี้เขาคงไม่ได้ยินละมั้ง พิจารณาเกิดดับเหรอ พิจารณาแบบไหนดีล่ะ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน เราเกิดมาแล้วมันเหลือแต่เวลาดับ ให้ดูคนอื่นดูสัตว์อื่นว่า เขาเกิดมาแล้วในที่สุดเขาก็ตาย เราก็มีสภาพเช่นเดียวกัน เมื่อเกิดมาแล้ว ไมช้าก็ตายเหมือนกันดูแค่นี้ก็แล้วกัน ไปดูตามตำราดูไม่เห็นหรอก ต้องดูแบบนี้นะเวลาปฏิบัติจริง เขาดูกันแบบนี้ ไม่ใช่ตามตำรา ผู้ถาม ข้อที่ ๒.วิธีพิจารณาร่างกายให้เห็นว่า เป็นที่น่ารังเกียจปฏิกูลนั้น จะองใช้ปัญญาและอารมณ์แบบไหนเจ้าคะ? หลวงพ่อ ไม่ต้องใช้มาก สักเกตข้าว อาหารที่กิน เลือกแล้วเลือกอีกใช่ไหม.. พอเป็นกากไหลออกมาดูไม่ได้แล้วเป็นขี้ นี่อยู่ในร่างกาย ฉะนั้น ของในร่างกายทั้งหมด มันเต็มไปด้วยของสกปรก ไม่ใช่ของดี อย่างเลือดที่เราต้องการให้มีเลือดมาก ๆ ใช่ไหม แต่ว่าพอเลือดไหลออกมาแล้ว เราก็รังเกียจเลือดใช่ไหม แล้วก็สำหรับในปากน้ำลายมีอยู่เราอมได้ พอบ้วนมาเราแตะต้องไม่ได้ แสดงว่าข้างในร่างกายไม่มีอะไรดี มีแต่สกปรกอย่างเดียวเท่นั้นไม่ยาก ผู้ถาม อ๋อ แค่นี้เอง แต่ฝรั่งนี่แปลกจริง ๆ มันดูด กันได้นะ ไม่ปฏิกูล น่าเกลียด หลวงพ่อ คนไทยเขาก็มีดุดนะ หนังสือพิมพ์ลงบ่อย ๆ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกมีความถนัดและพิจารณาอาหาเรปฏิกูลสัญญาเป็นประจำ ก่อนทานอาหารทุกครั้งต้องพิจารณาเสียก่อน แล้วจึงค่อยรับประทาน ตอนพิจารณาก็เห็นเป็นซากสกปรก เลอะเทอะสะอิดสะเอียนมาก พาลทำให้กินไม่ได้ผ่ายผอมลงทุกวัน ๆ จึง ใคร่ถามหลวงพ่อว่า วิธีพิจารณาฉบับของหลวงพ่อ บริโภคได้โดยไม่สะอิดสะเอียนนั้นหลวงพ่อพิจารณาแบบไหนเจ้าคะ? หลวงพ่อ พิจารณาเป็นอาหาเรปฏิกูลสัญญาแล้วนะ ต่อไปฉันก็ภาวนา “กินหนอ ๆ” มันเลอะเทอะ กูก็กินมึง กูจะกินเสียอย่าง คือการพิจารณาเป็นอาหาเรปฏิกูลสัญญา คือของทุกอย่างเกิดจากของสกปรก มีไก่สกปรก อาหารของสัตว์ก็สกปรก ร่างกายของสัตว์ก็สกปรก แต่ว่าสิ่งสกปรกทั้งหลายเหล่านั้น ร่างกายของเราก็สกปรก เมื่อของสกปรกกับสกปรกอยู่ด้วยกันก็ช่างมันปะไรถืออุเบกขา กินดะเลย คือว่าอย่าเห็นเฉพาะเวลานั้นซิ เวลานั้นเขาพิจารณาให้เห็น ให้เกิดเป็นนิพพิทาญาณ นิพพิทาญาณ หมายถึงความเบื่อหน่าย เห็นร่างกายสกปรก หลังจากนั้นต้องใช้พิจารณาแบบนั้น ต้องใช้ สังขารุเปกขาญาณ เข้าควบคุม อารมณ์ใจวางเฉย มันสกปรกแล้วก็ไม่เป็นไร เราเกิดมาแล้ว ก็ต้องพบกับความสกปรก ต่อไปชิตหน้าความสกปรกจะไม่มีกับเราอีก เราตายเราจะไปนิพพานคิดอย่างนั้น พิจารณาร่างกายเป็นปฏิกูล ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา เวลาหลวงพ่อเทศนาที่ซอยสายลมเกี่ยวกับเรื่องวิปัสสนา พิจารณาร่างกายเต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเกลียด ปฏิกูลเยอะแยะ เห็นตามภาพชัดเลยน่าเบื่อหน่ายจริง ๆ เจ้าค่ะ แต่อีตอนกลับไปถึงบ้านพบพ่อของลูกทีไรอารมณ์วิปัสสนากรรมฐานหายไปหมดทุกที จนกระทั่งพบหลวงพ่อใหม่ หรือฟังเทป อารมณ์นั้นจึงฟื้นคืนขึ้นมา ลูกอยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า วิธีที่จะทรงอารมณ์วิปัสสนา พิจารณาร่างกายให้ตลอดรอดฝั่งนี้ ลูกควรจะทำอย่างไรเจ้าทะ? หลวงพ่อ ความจริงเขาก็ทำถูกแล้วนะ อย่าไปทำใหม่ เวลาว่างจากพอไอ้หนูก็พิจารณา เจอะพ่อไอ้หนูก็มีเตตาบารมี เมตตา กรุณา สงสาร อันนี้ความจริงทำถูกไม่ใช่ไม่ถูก เพราะอารมณ์เรายังไม่ถึงอนาคามีใช่ไหม... เพียงแค่พิจารณาร่างกายชั่วเวลาว่างเดี๋ยวเดียว จุดนี้จะเป็นจุดสำคัญตอนก่อนที่เราจะตาย เพราะก่อนที่เราจะตายปั๊บ อาศัยอารมณ์จิตที่เคยคิดถึงนพพานใช่ไหม... ถือว่าร่างกายไม่ดี มันป่วยขนาดนั้น จะคิดว่าร่างกายนี่มันไม่ดี มองไปเห็นร่างกายโสโครก ถ้ามีความรู้สึกแค่โสโครก มันจะเกิดนิพพิทาญาณความเบื่อหน่าย ตอนนั้นเป็นอนาคามี ถ้ามีความคิดว่า เราไม่ต้องการร่างกายนี้อีก จะเป็นอรหันต์ เป็นสังขารุเปกขาญาณ ไม่ยากนี่สำคัญมาก ตัวอย่างบุคคลมีความรู้สึกนิดหน่อย ก็ได้แก่ พระจุลปันถก เรื่องย่อ ๆ เป็นอย่างนี้ พระจุลปันถกพระพุทธเจ้าบอกว่า ในสมัยดึกดำบรรพ์ ท่านเคยเป็นพระมหากษัตริย์ วันหนึ่งออกเลียพระนคร เลียพระนครมันก็ร้อนใช่ไหม... ปรากฏว่าเหงื่อไหล ท่านก็นำผ้าเช็ดหน้าที่มีสีขาวมาเช็ดเหงื่อ ผ้าก็สกปรกก็มองดูคิดว่า ร่างกายมันสกปรกขนาดนี้เชียวหรือ แล้วเขาคิดเท่านั้นไม่ได้คิดอีกนะ ต่อมาอีกหลายชาติ มาพบองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถ คือพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าทรงส่งผ้าขาวให้ คลึงไปคลึงมาเป็นอรหันต์เลย และอันนี้มันเป็นเรื่องใหญ่มาก แม้จะใช้ได้เวลาเล็กน้อยอย่าคิดว่ามันเบานะ หนักมาก อานิสงส์หนักมาก และก็เป็นเชื้อสายให้บรรลุมรรคผลด้วยเหตุอันนี้ นี่เขาทำถูกแล้ว ผู้ถาม อย่างนี้ก็ต้องรักษาอารมณ์จิตต่อไป หลวงพ่อ ถูกแล้ว...ใช่ ๆ กลับไปบ้านก็มีเมตตา มีกรุณา สองอย่างอย่าทิ้ง ไม่ได้... ทิ้งแตกกัน อยากตัดกามารมณ์ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยู่ตลิ่งชัน ลูกเป็นวัยสะรุ่นอายุ ๑๗ ปี ที่เดือดร้อนอยู่ก็คือว่า ไอ้เรื่องอารมณ์ทางเพศ ลูกพยายามเอาอสุภกรรมฐาน กับกายคตานุสสติของหลวงพ่อ ไปตัดเพื่อให้มันเด็ดขาด แต่มันก็ได้ชั่วครั้งชั่วคราว พอไปเจอหนุ่มเจอพวกเข้ามันก็คึกอีก ก็ไม่ทราบว่าจะทำยังไง ลูกกลุ้มใจเหลือเกิน ขอบารมีหลวงพ่อช่วยตัดกามารมณ์ ของลูกสักครั้งเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ (หัวเราะ) โอ้ นี่ยุ่งแล้ว จะลุกไม่ค่อยจะไหวเลย เอาอย่างนี้ซิ เพื่อความสะดวก...แต่งงานเสียเลยนะ ผู้ถาม อย่างนี้คลายเครียดแน่นะ หลวงพ่อ (หัวเราะ) ใช่ ๆ ๆ ก็คลายเครียด ก็เจริญกรรมฐานต่อไป อย่าง นางวิสาขา ไงล่ะ นางวิสาขาท่านเป็นพระโสดาบันตั้งแต่อายุ ๗ ปี อายุ ๑๖ ปีก็มาแต่งงาน ไอ้หนูนี่เกินไปปีหนึ่งแล้ว ผู้ถาม แล้วยังมีลูกมีเต้าเป็นระนาว หลวงพ่อ แค่ ๒๐ คน ผู้ถาม โอ้โฮ นี่เป็นพระโสดาบัน เขายังคลายเครียดได้ หลวงพ่อ (หัวเราะ) ใช่ ๆ ๆ เรื่องอย่างนี้มันตัดกันไม่ออก ต้องเป็นพระอนาคามี ถ้ายังไม่ถึงอนาคามี คือพระโสดาบัน กับสกิทาคามีนี่ ยังต้องแต่งงานอยู่ เวลาเครียดขึ้นมาก เราก็คลายเครียดเสีย จิตก็เป็นฌาน (หัวเราะ) จิตเป็นฌานง่าย ใช่ไหม ผู้ถาม ถ้าจะให้ตัดจริง ๆ ถ้าจะไม่แต่งาน ก็ต้องเป็นอะไร พระอนาคามี? หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ค่อย ๆ เป็นนะ ปลงขันธ์ ๕ ตอน (จุด ๆ ๆ) ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกพิจารณาธรรมะเป็นส่วนใหญ่ มองเห็นชีวิตเน่าเปื่อย น่าเบื่อหน่ายมีแต่ความทุกข์ ไม่ช้าก็ต้องตาย เหมือนท่อนไม้อันไร้ค่า อารมณ์อย่างนี้จะปรากฏประหลาด คือจะปรากฏเฉพาะเวลา ๓ ทุ่ม คือเป็นเวลาที่ (จุด ๆ ๆ) เมื่อเป็นเช่นนี้ หลวงพ่อ (หัวเราะ) เดี๋ยว ๆ ๆ จุดอะไร ผู้ถาม ผมรู้แล้ว...หลวงพ่อคงไม่รู้ซิอยู่วัด (หัวเราะ) หลวงพ่อ ฉันไม่รู้จุดอะไรกัน (หัวเราะ) เขาปลงขันธ์ ๕ ได้ดีนะ ผู้ถาม นี่เขาสารภาพดีนะ หลวงพ่อ ตรงไปตรงมา ดีมาก...เป็นสัจจธรรม ผู้ถาม จนกระทั่งบางครั้งสามีโมโหถึงดับด่า อีระยำ ตอนอื่นไม่ไปปลง เสือมาปลงตอนจุด ๆ ๆ เดี๋ยวนี้ลูกสบายใจได้แล้ว เวลาที่ปัญหาเกิดขึ้น (จุด ๆ ๆ) ลูกก็เรียกหลวงพ่อช่วยทุกครั้ง หลวงพ่อ (หัวเราะ) ผู้ถาม ปู้โธ่ถัง ปลงสังขารไม่ดูเวล่ำเวลา ไม่ดูอย่างยกทรงเป็นตัวอย่าง หลวงพ่อ ใช้ได้...เวลานั้นจิตใจเป็นเอกัคคตารมณ์ เป็นอารมณ์เดียว เป็นฌาน ขอบารมีได้ง่าย ผู้ถาม เอ๊ะ ตอนขอบารมีหลวงพ่อ หลวงพ่อเป็นพระสงฆ์จะไปจุด ๆ ๆ ไม่ได้นะ ไม่ถูกเรื่องถูกราวเหมือนกัน หลวงพ่อ ไม่ใช่ ไม่เป็นพยานเขา (หัวเราะ) นี่หัวเราะเจ็บท้องเลย วิธีฝึกใจให้เข้มแข็ง ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ไม่รู้ว่าเป็นเวรกรรมอะไร เกิดมาในชาตินี้รู้สึกว่า ไม่มีความเข้มแข็งในดวงจิตเลย ใช้คาถาก็ไม่แข็ง มาทำบุญกับหลวงพ่อก็ไม่เข้ม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็อยากจะขอคำแนะนำจากหลวงพ่อว่า วิธีฝึกให้จิตใจเข้มแข็งเพื่อพระนิพพานชานินี้ ลูกควรจะฝึกด้วยวิธีไหน? หลวงพ่อ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ใช้เบ้าหลอมเหล็ก คนเหลวแล้วก็กินต่อไปใจจะแข็ง ร่างกายก็แข็ง กินเหล็กได้ เข้มแข็งไงล่ะ เนื้อเหล็กกินไม่ไหวนะ กินขี้เหล็กก่อน...(หัวเราะ) เอาอย่างนี้ซิค่อย ๆ นะ ค่อย ๆ คิด ใช้เวลาน้อย ๆ เราทำอารมณ์ทำสมาธิใช่ไหม ใช้เวลานิดหน่อย ๑-๑๐ เราก็เลิก แค่นี้พอใช้ได้ ไม่ช้าก็ชิน นิสัยไม่ดี ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าลูกมีนิสัยไม่ดีอยู่อย่างหนึ่ง คือว่าต้นดีกลางกับปลายคด หลวงพ่อ ดีมาก ผู้ถาม ดีอีกแล้ว ปัญหาทุกอย่างมาหาหลวงพ่อนี่ หลวงพ่อ ดีหมด...อย่างเทวทัตไง ต้นดีปลายคด ผู้ถาม นี่เขาเรียก “ดีหมด” นะครับ หรือว่า “หมดดี” หลวงพ่อ หมดดี ผู้ถาม เขาว่ามาอย่างนี้ คือเวลาฟังหลวงพ่อเทศน์ใหม่ ๆ มันปีติ เอาจริงเอาจัง ปฏิบัติคร่ำเคร่งนั่งหูดับตับไหม้เลย แต่พอหลวงพ่อกลับไปแล้วซิคะ จิตมันเลวระยำคิดจะทำโน่น คำความชั่วต่าง ๆ นานา อารมณ์อย่างนี้ ลูกแก้ไม่ตกเลยเจ้าค่ะ ขอบารมีหลวงพ่อโปรดช่วยความสว่างกระจ่างใจสักครั้งเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ ก็ดีแล้วนี่ ผู้ถาม ดีอีกแล้ว ผิด...เลว...ก็ดี หลวงพ่อ อ้าว...ทำไม่เล่า ก็เวลาฟังเทศน์จิตเขาดี ทำไมจำว่า เขาไม่ดีล่ะ ผู้ถาม นี่เขากล่าวหมายถึง ตอนที่หลวงพ่อกลับไปแล้วจิตไม่ดีครับ หลวงพ่อ ก็ช่างมัน...เราก็มาดีใหม่ แต่เวลาจะตายความดีอาจเข้าถึงตัวได้นะ ถ้ามันจะตายธรรมดาของคนมันเป็นอย่างนั้นแหละ จะให้ดีทุกวันเป็นไปไม่ได้หรอก ต้องดีบ้างชั่วบ้าง ทำความดีคราวละน้อย ๆ ทำบ่อย ๆ ก็เต็ม เหมือนน้ำฝนตกทีละหยาด ๆ สามารถทำให้ภาชนะเต็มได้ใช่ไหม... อย่างนี้ที่หลวงพ่อมามีปีติ ไอ้ปีติเป็นตัวสำคัญมาก เป็นมหากุศล และจงอย่าลืมว่าเวลาจะตายนะมันจะช่วย ปีตินี่จะช่วย เมื่อปีติช่วยเข้าสนองใจปั๊บเห็นภาพพระทันที นี่ตายแบบนี้ลงนรกไม่ได้ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน แก้ตัวใหม่ ก่อนจะหลับภาวนา “พุทโธ” ๓ ครั้งตื่นขั้นก่อนจะลุกขึ้นภาวนา “พุทโธ” ๓ ครั้ง แค่นี้พอแล้วเอาแค่ฉันเมื่อเป็นเด็ก ฉันเมื่อเป็นเด็กแม่บังคับแค่นี้ ก่อนจะหลับ หัวถึงหมอนปั๊บภาวนาพุทโธ ต้องว่าดัง ๆ นะ ให้ท่านได้ยิน พอตื่นขึ้นปั๊บ “พุทโธ...พุทโธ...พุทโธ” แล้วก็ไป เราก็ว่าตามประสาเด็ก ที่ว่าเมื่อกี้หลวงพ่อกลับไปแล้วชั่ว ความจริงเขายังไม่ชั่วหรอกบางวันเขาก็ภาวนา บางวันเขาก็ไหว้พระ ยังไม่ชั่ว ยังนึกถึงหลวงพ่อยู่ ถ้าทางที่ดีนะ ควรจะรับหนี้จากหลวงพ่อไปเสียบ้าง จะได้นึกถึงหลวงพ่อทุกวัน ๆ ใช่ไหม (หัวเราะ) ผู้ถาม เรียกว่าถ้ารับหนี้จากหลวงพ่อไปได้ไอ้เรื่องอะไร ๆ หลวงพ่อ ก็นึกถึงหลวงพ่อทุกวันไง...เป็นสังฆานุสสติ ตายแล้วไปสวรรค์ทันที ผู้ถาม อ๋อ การนึกถึงว่าจะช่วยใช้หนี้หลวงพ่อ เป็นสังฆานุสสติ หลวงพ่อ ใช่ เป็นการช่วยสงฆ์ นึกถึงพระสงฆ์ไงเล่า สังฆานุสสติ แปลว่า นึกถึงพระสงฆ์ ผู้ถาม นี่ถ้าเกิดนึกอะไรไม่ได้ จับนึกถึงกล้องยานัตถุ์หลวงพ่อ เป่าปู้ด ๆ ๆ เห็นกล้องยานัตถุ์ นึกถึงกล้องยานัตถุ์อย่านี้ ตายแล้วไปไหนครับ? หลวงพ่อ ตายแล้วไปเกิดเป็นกล้อง (หัวเราะ) อันนี้ก็เป็นสังฆานุสสติเหมือนกัน เพราะกล้องยานัตถุ์ของหลวงพ่อ อย่าลืมว่าลงคำหลวงพ่อ หลวงพ่อเป็นพระสงฆ์ใช่ไหม? ผู้ถาม เรียกว่าอะไรแล้วแต่ เกี่ยวกับหลวงพ่อนี่เป็น หลวงพ่อ เกี่ยวกับหลวงพ่อ หรือพระองค์ใดองค์หนึ่งก็ตาม...เหมือนกัน เป็นสังฆานุสสติเหมือนกัน ถ้าเกี่ยวกับพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งเป็นพุทธานุสสติ เกี่ยวกับการสวดมนต์หรือฟังเทศน์เป็นธัมมานุสสติ ผู้ถาม นั่งสมาธินิดหน่อย ๆ ก็เป็นธัมมานุสสติ หลวงพ่อ อย่าลืม นิดหน่อยนี่ มีความสำคัญมาก มันสะสมตัวเอง ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า แม้ทำบุญคราวละเล็กคราวละน้อย แต่ทำบ่อย ๆ มันก็สามารถทำบารมีให้เต็มได้เหมือนน้ำฝนที่ตกทีละหยาด ๆ สามารถทำภาชนะให้เต็มได้ เห็นไหมด...ได้นี่เวลาหลวงพ่อมาปีติดีมาก ก็ไหลไปบ้างไหลมาบ้าง ไม่ได้เสียทุกวัน ฉันรู้นะที่พูดมาน่ะโกหก เขาไม่เสียทั้งวันหรอก เขาเสียบ้างไม่เสียบ้างเท่านั้นเอง เฉพาะเวลาบางเวลา ผู้ถาม โอ๊ะ! หลวงพ่อรู้เสียด้วย เป็นอันว่าก็เป็นคนดีคนหนึ่ง หลวงพ่อ ฉันขอแช่งคนนี้ไว้ ตายแล้วห้ามเกิดเป็นมนุษย์ ไปสวรรค์ เป็นเทวดา เป็นนางฟ้าไป ท้อแท้ทำความดี ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะทำความเพียรเพื่อทำความดี แต่บางครั้งก็มีอารมณ์ท้อแท้จะทำอย่างไรดีคะ? หลวงพ่อ ถ้าท้อแท้ต่อความเพียรก็แสดงว่าขี้เกียจ คนที่มีความเพียรคือคนขยัน ความเพียร เพียรต่อสู้กับความชั่ว เพื่อหวังให้มีผลในความดี เป็นเรื่องธรรมดาของคน ไอ้การต่อสู้ความขยันหมั่นเพียร มันจะมีทุกเวลาไม่ได้นะ ในบางครั้งกรรมที่เป็นอกุศลเดิม มันเข้ามาครอบงำจิต เวลานั้นจะตัดความดีของเราให้รู้สึกท้อแท้ไม่กล้าต่อสู้...เบื่อ! พอกุศลเข้ามาสนองปั๊บ กุศลเตะไอ้นั่นออกไปนี่ขยันแล้วสร้างความดี ต้องเป็นอย่างนั้นเหมือนกันทุกคน หนักเข้าๆ กุศลมีกำลังแรงก็เตะได้นั่นกระเด็นออกไป พอถึงพระโสดาบันปั๊บ อกุศลยังเข้ามาได้ แต่เข้าก็เข้าแรงไม่ได้ ถ้าถึงพระโสดาบันอกุศลเข้าแรงไม่ได้ มันจะสร้างความขุ่นมัวบ้าง แต่จะถึงทำบาปไม่ได้ คำว่า “ขุ่นมัว” อาจจะต้องโกรธ ใช่ไหม...พระโสดาบันยังมีโกรธ พระโสดาบันยังมีความรักในระหว่างเพศ พระโสดาบันยังมีความอยากร่ำรวย แต่เรื่องละเมิดศีลไม่มี แต่มีอารมณ์ที่แจ่มใสจริง ๆ คือพระอรหันต์ ถ้ายังไม่ถึงพระอรหันต์เพียงใด ก็ยังเตะกันใหม่ แต่ว่า เตะเบา ๆ พระอรหันต์ไม่โกรธ ผู้ถาม หลวงพ่อได้พูดไว้ว่า พระอรหันต์มีอารมณ์โกรธ แต่ดับอารมณ์ได้ฉับพลัน หลวงพ่อ ฉันสงสัย...ฉันเขียนผิดหรือคนอ่านจำผิด อารมณ์โกรธ ไม่มีตั้งแต่อนาคามี แต่ท่าทางแสดงความโกรธน่ะมีอยู่ ไม่ใช่อารมณ์โกรธ ที่แสดงแบบนั้นกลัวคนนั้นจะเสีย ก็แสดงท่าว่าโกรธ อย่างที่พระพุทธเจ้าลงโทษพระสงฆ์ มีคำสั่งลงโทษนั่นไม่ใช่โกรธนะ...หวังดี นี่จำผิดแล้ว ถ้าอารมณ์โกรธมีและดับได้เร็วเป็นพระสกิทาคามี อนาคามีนี่เขาไม่มีแล้ว แต่ถ้าความโกรธเกิดขึ้นจะดับไม่ยาก ซื้อรถดับเพลิงไว้ พอเริ่มโกรธปั๊บ...สตาร์ทพรืด นำพ่นพรวด หกคะเมนเกนเก้ หายไปเอง นั่นไม่ใช่อรหันต์นะ ฉันคงไม่เขียนผิดละมั้ง ต้องกลับไปอ่านใหม่ แต่ว่าแสดงความโกรธนั้นมีอยู่ เพราะว่าจ่ะลงโทษ คือไม่ลงโทษก็ยับยั้ง ไม่ยังงั้นคนนั้นจะเสีย อย่างพระพุทธเจ้าลงโทษพระต่าง ๆ อย่าง พระฉันนะ ก็เหมือนกัน หนักมาก ที่สั่งให้พระสงฆ์ลงพรหมทัณฑ์พระฉันนะ อันนี้เรื่องใหญ่มาเชียว ไม่ใช่พระพุทธเจ้าโกรธ แต่ต้องการให้พระฉันนะดี แต่ในเมื่อพระสงฆ์ลงพรหมทัณฑ์ท่านก็เสียใจ คิดว่าตอนพระพุทธเจ้าอยู่ใคร ๆ ก็คุยด้วย พระพุทธเจ้านิพพานแล้ว จะไปหาใครก็ไม่มีใครคุยด้วย พระอรหันต์ก็เยอะ เพราะพระพุทธเจ้าสั่ง เพราะการรู้ตัวตอนนี้ เป็นเหตุให้พระฉันนะเป็นพระอรหันต์ เขาทำเพื่อประโยชน์ ไอ้คนถูกลงโทษใหม่ ๆ อาจจะนึกว่าเราไม่น่าถูกลงโทษเลย ไอ้คนที่ทำความผิด ไม่รู้ตัวว่าผิดเป็นเรื่องธรรมดา กรรมฐานกองสุดท้าย ผู้ถาม อ่านหนังสือธัมมวิโมกข์ เกี่ยวกับเรื่องการปฏิบัติพระกรรมฐานบ้าง แนะการปฏิบัติของหลวงพ่อบ้าง มีอยู่ตอนหนึ่งที่หลวงพ่อชอบพูดอยู่บ่อย ๆ เสมอว่า ถ้ายังไง ๆ ฉันก็ไม่ทิ้งกรรมฐานกองสุดท้าย ฉันชอบกรรมฐานกองสุดท้ายเป็นอย่างมาก อยากเรียนถามว่า กรรมฐานกองสุดท้ายที่หลวงพ่อใช้หลวงพ่อนึกเป็นแรจำวัน คืออะไรเจ้าคะ? หลวงพ่อ กองสุดท้าย คือ สังขารุเปกขาญาณ เป็นกองสุดท้ายในพระพุทธศาสนา บรรลุอรหันต์ในที่นั่งเดียว ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกได้อ่านหนังสือ ธัมมวิโมกข์ฉบับหนึ่งบอกว่า นักปฏิบัติที่ปฏิบัติถึงได้ พระโสดาบันแล้ว ไม่ต้องลุกขึ้น ให้ตีตั๋วรวดเป็นพระอรหันต์ไปในที่นั่งนั้นได้เลย ลูกอยากให้หลวงพ่ออธิบาย พร้อมทั้งแสดงวิธีปฏิบัติเรื่องนี้ พอเป็นไตเติ้ลให้ลูกดูหน่อยเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ มีไตเติ้ลด้วยนะ ไอ้ไตเติ้ลมันแปลว่ายังไง ไตไม่ดีหรือไง...(หัวเราะ) เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน ที่พูดอย่างนั้นละนะ พูดตามวิสุทธิมรรค ท่านพระพุทธโฆษาจารย์ ท่านรจนาวิสุทธิมรรคเป็นพระอรหันต์ องค์นั้นนะท่านเจจียนไว้ว่า ถ้าบุคคลผู้ใดเจริญพระกรรมฐานในที่นั่งใดได้พระโสดาบัน ไม่ต้องลุกจากที่ทำให้ถึงพระอรหัต์เลย และวิธีปฏิบัติจริง ๆ เขาปฏิบัติกันตามนี้นะ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เขาไม่มุ่งสกิทา อนาคา เขาตีตั๋วเข้าอรหันต์ไปเลย วิธีการตีตั๋วอรหันต์เป็นอย่างนี้พอถึงพระโสดาบันเสร็จให้จับ อวิชชา ตัวสุดท้าย พิจารณาตามความเป็นจริงว่า มนุษยโลกทั้งโลกมันเต็มไปด้วยความทุกข์ เทวโลกกับพรหมโลก มันมีความสุขจริงแต่สุขไม่นาน ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีก็กลับมาเกิดใหม่ มีทุกข์ใหม่ งั้นเราไม่ต้องการในที่นี้ เราต้องการจุดเดียวคือนิพพาน เท่านั้นแหละ และอารมณ์ก็จะทรงฌาน อารมณ์ทรงฌานก็จะตัดกิเลสเอง เวลาปฏิบัติจริง เขาทำแบบนั้นกันนะ ถ้าตามแบบเขาต้องว่ากัน พระโสดา สกิทา อนาคา อรหันต์ นี่ตามแบบ ถ้าเราไม่พูดแบบนั้นเขาก็หาว่า “นอกแบบ”อีก เวลาปฏิบัติก็ต้องว่าอีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฆราวาสเป็นอรหันต์ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ที่ว่าฆราวาสสำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว อยู่นานไม่ได้ต้องนิพพานไป ในกรณีที่สามีสำเร็จอรหันต์แล้ว สามารถจะบอกภรรยาได้หรือไม่ว่า น้องจ๋า...พี่สำเร็จแล้ว หลวงพ่อ คงจะบอกได้นะ ผู้ถาม แล้วถ้าภรรยาจะบอกว่า เมื่อพี่เข้านิพพานแล้ว ขอได้โปรดสงเคราะห์ให้น้องร่ำรวย อย่างนี้จะขัดกับพระนิพพานหรือเปล่าคะ? หลวงพ่อ เจ้าของจดหมายกับฉันคิดผิดกัน ฉันคิดว่าถ้าไปนิพพาน ขอฉันมีสามีใหม่ได้ไหมคะ...(หัวเราะ) ผู้ถาม เออ...ดีเหมือนกันนะ หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ซิ พระอรหันต์ท่านยอมรับกฎของกรรมมันจะรวยหรือไม่รวยอยู่ที่กฎของกรรม ถ้าชาติก่อนทำทานไว้ดี กฎของกรรมแห่งทาน ก็บันดาลให้เราร่ำรวย แต่ทานก็เป็นเขต การให้ทานแก่สัตว์หรือทานกับบุคคลอื่นทานกับบุคคลเป็นคนมีศีลหรือไม่มีศีล ทรงฌานสมาบัติไหม เป็นพระอริยเจ้าไหม แต่ทานที่ดีที่สุดคือ สังฆทาน เป็นต้นเหตุ เป็นต้นทาน ของหมาเศรษฐีตรง ผู้ถาม ฉะนั้น จักรพรรดิก็ไม่ได้เป็น จักรเพชรก็ไม่ได้เป็น หลวงพ่อ ได้...ก็ไปรวมอยู่ที่นิพพานไงล่ะ ทรัพย์สินต่างต่าง ๆ ก็ไปรวมที่พระนิพพานหมด ที่นิพพานจะเห็นว่า พื้นแผ่นดินก็เป็นเพชร กำแพงบ้านก็เป็นเพชร บ้านทั้งหลายก็เป็นเพชร เครื่องใช้ทั้งหมดก็เป็นเพชร ตัวเองก็เป็นเพชรแถมส้วมถ้ามีก็เป็นเพชร พระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะขอวิธีบำเพ็ญบารมี ที่เวลาบรรลุอรหันต์แล้ว จะได้ปฏิสัมภิทาญาณได้ด้วยนั้น เราจะต้องทำบุญประเภทไหนและอธิษฐานแบบไร เพื่อเวลาสำเร็จแล้ว จะได้ปฏิสัมภิทาญาณพร้อม ๆ ไปเลยเจ้าคะ? หลวงพ่อ ฉันยังไม่ได้เลย สำคัญปฏิสัมภิทาญาณนี่ ฉันยังไม่ได้เลย แล้วจะสอนใครได้ ผู้ถาม อ๋อ ต้องได้ก่อนถึงจะสอนได้ หลวงพ่อ ใช่ซิ รออีก ๓๐ปีจะบอกให้...มันต้องอาศัยบารมีเก่า ไม่ใช่ไปเรียนใหม่ คือเก่าเขาเคยได้สมาบัติ ๘ มาแล้ว เคยได้อภิญญามาแล้ว อาศัยบุญของสมาบัติ ๘ นี่ได้ปฏิสัมภิทาญาณ ไม่ใช่มาสร้างกันส่งเดช ผู้ถาม ต้องบุญเก่าตามมา หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ผู้ถาม งั้นก็แสดงว่า มโนมยิทธิที่ฝึกอยู่ทุกวันนี้ ที่ได้กัน ปุ๊บปั๊บ...ตาทิพย์ แสดงว่าบุญเก่าเขา หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ทดสอบได้เลย ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ อภิญญา ๖ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกอ่านธัมมวิโมกข์ เมื่อเดือนกรกฎาคม หน้า ๕๔ ว่าด้วยปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ อภิญญา ๖ จึงสงสัยว่า คนที่จะบรรลุ ๓ อย่าง อย่างที่หลวงพ่อว่านั้น สมมุติทำบุญในชาตินี้ล้วน ๆ แล้วอธิษฐานว่า เจ้าประคุณ ถ้าฉันเป็นอรหันต์เมื่อไหร่ ขอให้ได้ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ อภิญญา ๖ อธิษฐานอย่างนี้ จะมีทางสำเร็จในชาติปัจจุบันได้หรือไม่เจ้าคะ? หลวงพ่อ สำเร็จ... แต่ไม่ใช่สำเร็จอรหันต์หรอก สำเร็จอธิษฐาน จะไปทำทำไม ฉันให้ฝึกมโนมยิทธินี่ดีแล้ว ชอบยากๆ ผู้ถาม ความจริงแค่ขึ้นไปนิพพานได้นี่ ก็ หลวงพ่อ เหลือแหล่...ถึงจุดหมายปลายทางแล้ว อยากได้ ปฏิสัมภิทาญาณ อยากได้ไปทำไม ไม่มีความหมายเลย แค่นิพพาน...อะไร ๆ ก็แค่นิพพาน ผู้ถาม เรียกว่าสบายที่สุดก็คือ...นิพพาน หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ไม่น่าจะมีคนฉลาดแบบนี้เลย อยากได้อภิญญา ผู้ถาม กราบเท้านมัสการหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกอยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า การที่เราฝึกมโนมยิทธิแล้ว โดยใช้ภาพพระพุทธรูปแก้วใสของหลวงพ่อจับเป็นกสิณ กับใช้ภาพองค์สมเด็จพระชินราช จะได้ผลเหมือนกันหรือไม่ เพราะผมตั้งใจแล้วว่าต่อไปอนาคต ผมจะเอาอภิญญา ๖ ให้ได้ขอรับ หลวงพ่อ เอาแน่หรือ..เอาแน่นะ? ผู้ถาม อ้อ...มโนมยิทธินี่ ถ้าพูดถึงว่าจับพระพุทธรูปใส หลวงพ่อ ได้ทั้งสองอย่าง ... อะไรก็ได้ อภิญญานี่ต้องได้กสิณทั้ง ๑๐ นะ อย่าทำเตาะแตะส่งเดชไป กสิณทั้ง ๑๐นี่ต้องคล่องทั้งหมด แล้วก็เดินหน้าถอยหลังได้ เข้าฌานสลับฌานได้ยากแล้วนะ เอาอย่างนี้ซิ ถ้าฝึกต้องการอภิญญา ๖ ฝึกไปนิพพานง่ายกว่าเยอะ ดีกว่าเยอะ ไม่ได้เกิดประโยชน์ ผู้ถาม ความจริงมโนมยิทธิก็เหลือกินเหลือใช้แล้ว หลวงพ่อ ก็แค่นั้นแหละ ได้อภิญญา ๖ ก็แค่นั้นแหละ ไปได้เท่ากัน ผู้ถาม แต่ฆราวาสได้แค่ ๕ หรือ ๖ ก็ได้ครับ หลวงพ่อ ถ้า ๖ ต้องเป็นพระอริยเจ้านะ อันที่ ๖ อาสวักขยญาณ ไงล่ะ ความจริงเอาแค่เป็นพระอริยะดีกว่า อภิญญาเฉย ๆ จะทำอะไรกัน ได้มโนมยิทธิก็ถมเถไปแล้ว เจริญอรูปฌาน ผู้ถาม หลวงพ่อขอรับ ผมสงสัยว่า ผู้ที่เจริญอรูปฌาน หรืออรูปพรหมนั้นน่ะ ถ้าจะต่อวิปัสสนาญาณ หวังมรรคผลพระนิพพานในชาตินี้ จะเปลี่ยนแปลงหรือจะต่อย่างไร ขอหลวงพ่อโปรดแนะนำด้วยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ ได้หรือยัง...ทำได้หรือยัง? ผู้ถาม เอ้า...คนเขียนทำได้หรือยัง แล้วเป็นไงครับ อรูปฌาน ผมยังไม่รู้เรื่องเท่าไหร่? หลวงพ่อ อากาสานัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เวสัญญานาสัญญายตนะ วิญญาณัญจายตนะ คนที่ถามนี่ยังทำไม่ได้หรอก ถ้าได้แล้วเขาไม่ถามแบบนี้ เพราะปัญญามันเกิดแล้ว ถ้าต้องการนิพพาน ๗ วันเท่านั้นแหละ ต้องการอรหันต์นะ เจริญวิปัสสนาญาณใช้อรูปฌานเป็นพื้นฐานนะ ไม่เกิน ๗ วัน เป็นพระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณ ผู้ถาม ฌานก็ดีเหมือนกันนะซิ ได้ฌานก็ดีเหมือนกัน หลวงพ่อ อ้าว...ก็ต้องถือฌานเป็นพื้นฐาน จะเป็นอรหันต์ เป็นโสดา สกิทาคา เหมือนกัน ต้องมีฌานเป็นพื้นฐานไม่มีฌานเป็นพื้นฐานไม่ได้ ผู้ถาม บางองค์เขาบอกว่า สมถะไต้องใช้ ใช้วิปัสสนาล้วน รวดเดียวไปนิพพานได้ง่าย เพราะสมถะก็ใช้ไม่ได้ หลวงพ่อ มันจะรู้เรื่องเมื่อไหร่ ไอ้คนสอนนะ ผู้ถาม โง่เหมือนยกทรงนะ หลวงพ่อ โง่กว่ายกทรงเยอะ มันแยกกันไม่ได้ ศีล สมาธิ ปัญญา สมถะคือ สมาธิ ถ้าไม่มีสมาธิวิปัสสนาญาณ มันมียังไง ปัญญามียังไง สมถะคือสมาธินั่นเอง ก็ต้องทำพร้อมกัน ผู้ถาม สงสัยท่านตัวเบ้อเร่อ มาขาดสมาธิตัวเดียว หลวงพ่อ ไม่รู้...ไอ้หมอนั่นไม่รู้แน่ ผู้ถาม ครับ ๆ ๆ ก็คงเป็นพระอรหันต์รุ่นใหม่ หลวงพ่อ รุ่นโน้นซิ..รุ่นเทวทัต ขอขมาโทษหลวงพ่อ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ก่อนอื่นผมขอกล่าวคำสวัสดีต่อหลวงพ่อด้วย ที่เคยล่วงเกินหลวงพ่อ มาเป็นเวลาช้านานแล้ว เพราะปฏิเสธเรื่องนิพพานที่หลวงพ่อสอนผมเป็นลูกศิษย์ พระอภิธรรม มันว่าง...มันสูญ เดี๋ยวนี้ผมรู้แล้ว่า ไม่ว่าง...ไม่สูญ ตามที่อาจารย์มันว่า (อ้าว...สงสัยจะล้างแค้นเลยเออ...ฉุนอาจารย์เก่า) หลวงพ่อ ด่าทั้งสองฝ่าย ผู้ถาม นั่นซิ....วันนี้ที่จดหมายมา ไม่มีอะไรหรอกครับ คือจะมากราบขอขมาลาโทษ ดอกไม้ธูปเทียนไม่มีมาผมเอาสตางค์ใส่ตู้แทนแล้วนะครับ หลวงพ่อ เดี๋ยว ๆ สีอะไร? ผู้ถาม อ้อ...ต้องดูสี การขอขมานี่ ต้องมีสีหรือครับ? หลวงพ่อ ต้องมีสี (หัวเราะ) ไม่รู้เขาด่าสีไหนนี่ ผู้ถาม นี่จำไม่ได้ก็ต้องใช้สี...สีม่วง หลวงพ่อ นิพพานต้องสีม่วง....(หัวเราะ) ผู้ถาม แล้วโดยสรุปก็คือว่า ขอหลวงพ่อได้โปรดอโหสิกรรมให้ลูกด้วย ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ลูกจะขอปฏิบัติตามแนวมโนมยิทธิทุกประการขอรับ หลวงพ่อ ไม่เป็นไร ไม่เคยถือโทษโกรธใคร ผู้ถาม เอ๊ะ ปรกติหลวพ่อไม่เคยทำอะไรใครเลยหรือครับ? หลวงพ่อ เคย ผู้ถาม อ้าว...เดี๋ยว ๆ ๆ เมื่อกี้บอกว่าไม่เคย อันนี้บอกว่าเคยอีกแล้ว หลวงพ่อ เมื่อกี้บอกไม่เคยถือโทษโกรธใคร ทำอะไรนี่เคยทำ ถ้าความจริงฉันโกรธคนนั้นโทษน้อย ถ้าฉันไม่โกรธคนนั้นโทษมาก ถ้าฉันโกรธ เขาด่าฉันมาใช่ไหม ฉันด่าเขาด้วย ขึ้นสถานีเสียเงินสองฝ่าย ผู้ถาม อ๋อ...หมายถึงค่าปรับโรงพักงั้นหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ทีนี้ถ้าเราไปด่าคนที่เราไม่ควรจะด่า อย่างพระอริยเจ้านี่ ท่านไม่ด่าตอบ...เราซวย แล้วก็ซวยกันมาเยอะแล้ว ผู้ถาม ยังงี้ก็แสดงว่าเขาด่าเรา เราด่าตอบ อย่างนี้ไม่ดีนะ หลวงพ่อ ไม่ดี ผู้ถาม ก็เป็นอันว่าสบายใจได้อย่างหนึ่งว่า หลวงพ่อไม่เคยถือโทษใครเลยนะ หลวงพ่อ ไม่แน่...เมื่อก่อนเอา เมื่อก่อนโน้นเอา ผู้ถาม เคยโกรธเหมือนกันหรือครับ หลวงพ่อ? หลวงพ่อ เคย... ตอนเป็นหลวงพ่อไม่โกรธหรอก ตอนเป็นหลวงพี่ซิ ผู้ถาม เดี๋ยว...ต่างกันยังไงครับ หลวงพ่อ...หลวงพี่นี่? หลวงพ่อ หลวงพ่อมันแก่...หลวงพี่มันหนุ่ม ผู้ถาม ตอนนั้นเคยมีเหมือนกันหรือครับ? หลวงพ่อ เคยมี...เหมือนชาวบ้านเขานี่...เหมือนกัน ยี่ห้อเดียวกัน ผู้ถาม แหม...ขนาดมีบุญขนาดหลวงพ่อนี่ ยังมีหรือครับ? หลวงพ่อ ใครมีบุญ? ผู้ถาม อ้าว...ก็หลวงพ่อซิ ใคร ๆ ก็เอาอะไรมาถวาย ๆ หลวงพ่อ มี...เขาถวายเป็นของสงฆ์ เสือกไปเอาเองซิ ลงอเวจี (หัวเราะ) สังฆทานนี่ตัวร้ายกาจ มาตราเดียวอเวจีง่าย ๆ คำว่า “สังฆทาน” พระผู้รับถือว่าผู้แทนสงฆ์เท่านั้น เอาไปเข้าส่วนกลางเขา ผู้ถาม อ๋อ...อย่างนั้นคนที่เข้าใจผิดคือบอกว่า สังฆทานต้องมีตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป เอ๊ะ ทำไม...ทำไมซอยสายลมหลวงพ่อรับองค์เดียว อย่างนี้ก็เป็นปาฏิปุคคลิกทานจริง ๆ หลวงพ่อ รับแทนสงฆ์ ในพระไตรปิฎก เขาก็เขียนไว้ เสือกไม่อ่านเอง ผู้ถาม อ๋อ นี่ใช้ภาษาไทยตอบเลยหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่...คนไทยใช้ภาษาเจ๊กรู้เรื่องยาก ปรามาสพระอริยเจ้า ผู้ถาม เรื่องพระอริยเจ้าก็มีอยู่นิดคือว่า การปรามาสพระอริยเจ้าด้วยเจตนาก็ตาม ไม่เจตนาก็ตาม โมโหด้วยความตั้งใจก็ตาม อยากเรียนถามว่า จะมีกรรมมากไหมครับ? หลวงพ่อ ก็ลงนรกด้วย เจตนาก็ตาม ไม่เจตนาก็ตาม ลงเหมือนกัน ผู้ถาม ไม่ต้องสอบสวนหรือครับ? หลวงพ่อ ไม่ต้องสอบ... สบาย ก็ไม่ยาก ก็ไปขอขมาต่อพระพุทธเจ้าเสียซิ ถ้าไม่พบพระพุทธเจ้าก็พระพุทธรูป ผู้ถาม ต้องไปพบพระพุทธรูปที่วัดท่าซุง หรือว่า หลวงพ่อ ไม่จำเป็น...ที่บ้านก็ได้ ให้นึกว่าท่านคือพระพุทธเจ้า เพราะพระอริยเจ้านี่ ขอขมาโดยตรงตัวไม่มีผล อย่างสมมุติยกทรงเป็น “โสดาตาบัน” ใช่ไหม ผู้ถาม เดี๋ยว ๆ ครับ ตามศัพท์พระไตรปิฎกเขาเรียก “โสดาบัน” ครับ หลวงพ่อ ได้นี่มันหนักแน่ “โสดาตะบัน” นี่ขั้นเอกพิชีนะ เพราะตะบันจนกรทั่งแน่นปั๋งไม่คลายตัว สมมุติว่า ยกทรงเป็นพระโสดาบัน เขาไปด่าไปว่าเข้านินทาเข้าก็บาป ใช่ไหม...ไปขอโทษโดยตรงกับยกทรงนี่ไม่มีผล ต้อบงขอโทษโดยตรงกับพระพุทธเจ้า เพราะว่าความเป็นพระโสดาบัน ไม่ใช่เกิดจากยกทรงเกิดจากพระพุทธเจ้าท่านสงเคราะห์ ผู้ถาม แล้วอย่างพระโสดาบันที่บวชเป็นพระ กับโสดาบันที่เป็นฆราวาส ถ้าเราปรามาสโทษจะเป็นอย่างไรครับ? หลวงพ่อ ครือกัน ผู้ถาม เพราะฉะนั้นพวกเราจำไว้นะ ฆราวาสที่เป็นพระอริยะมีเยอะแยะ หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน พระโสดาบันไปตันแค่ศีล ๑.เคารพพระพุทธเจ้า ๒.เคารพพระธรรม ๓.เคารพพระอริยสงฆ์ ๔.มีศีล ๕ บริสุทธิ์ องค์พระโสดาบันมีแค่นี้ ผู้ถาม อุ้ยตายแล้ว หลวงพ่อนี่เทศน์ไม่เหมือนกับโทรทัศน์เดี๋ยวนี้ยังออกอากาศปาว ๆ อยู่นะครับ ว่าพระโสดาบัน ๑.สักกายทิฏฐิ ต้องตัดขันธ์ ๕ โดยเด็ดขาด หลวงพ่อ เอาเลื่อยที่ไหนมาตัด เดี๋ยวก่อน ... พระโสดาบันถ้าตัดขันธ์ ๕ เด็ดขาด ลองคิดดู นางวิสาขา ท่านเป็นพระโสดาบันตั้งแต่อายุ ๗ ปี ขันธ์ ๕ นะคนเดียวนะ พออายุ ๑๖ ได้อีก ๕ ขันธ์...มีผัว ต่อไปก็ลูกชาย ๑๐ คน มีผู้หญิง ๑๐ คน ลูกทั้งหมด ๒๐ คน ตัดหรือไม่ตัด ตัดหรือต่อ ... พระโสดาบันกับสกิทาคามี สองอยางยังแต่งานได้ ไม่แต่งานก็อนาคามีขึ้นไปเท่านั้นเอง ไอ้เทศน์อย่างนั้น ท่านเทศน์ถูกของท่าน แต่ไม่ถูกตามพระไตรปิฎก ผู้ถาม อย่างนี้ฆราวาส ที่จะเป็นพระโสดาบัน แค่ศีล ๕ ก็ หลวงพ่อ แค่นั้นแหละ เขาเรีย “สัตตักขัตตุง” ผู้ถาม อย่างนี้เป็นฆราวาสก็ดีกว่าเป็นพระซิครับ? หลวงพ่อ โอ้ย ดีกว่าเยอะ...ความจริงแล้วฆราวาสถ้าพูดตามส่วน เขาได้เปรียบกว่าพระมาก ๑.เจี๊ยะไม่เลือกเวลา ประการที่ ๒ เข้าวิกได้ ผู้ถาม หลวงพ่อรู้ด้วยหรือครับ? หลวงพ่อ อ้าว...เคยเป็นฆราวาสมาก่อนนี่ ประการที่ ๓ มีผัวมีเมียได้ ประการที่ ๔ หลับตื่นสายได้ พระตื่นสายไม่ได้ใช่ไหม...เช้ามืดต้องทำวัตรสวดมนต์ ต้องเจริญกรรมฐาน ถ้าพลาดหน่อยเดียวพระลงนรก สมมุติว่ามีปลาหนึ่งตัวนะ พระมีปลาหนึ่งตัว ฆราวาสมีปลา ๑๐๐ ตัว ตัวขนาดเดียวกัน พระฆ่าปลาหนึ่งตัว ฆราวาสฆ่าปลา ๑๐๐ ตัว พระโทษมากกว่า ก็เพราะว่าทรงศีลเป็นบุคคลที่ชาวบ้านเขาต้องบูชา นี่ละบาปมาก พระไม่ใช่เรื่องเล็กนะ ผู้ถาม โอ้ย ไม่บวชดีกว่า หลวงพ่อ ใช่...ยกทรงก็เคยเสียท่ามา ๑๘ ปีแล้วซิ ฆราวาสเป็นพระโสดาบัน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกสงสัยว่า ถ้าฆราวาสที่มีจิตเข้าถึงพระโสดาบันแล้ว เวลาประสบสิ่งที่ทำให้ไม่สบาย เช่นเรื่องเกี่ยวกับการทำมาหากิน การกระทบอารมณ์ต่าง ๆ อยากจะทราบว่า อารมณ์เขาตอนนั้นจะเป็นอย่างไร เจ้าคะ? หลวงพ่อ พระโสดาบันก็มีอารมณ์คล้ายคลึงกับคนธรรมดายังมีความรักในระหว่างเพศ ยังต้องการความร่ำรวย ยังมีความโกรธ ยังมีความหลง แต่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ในขอบเขตของศีล ฉะนั้นความสะเทือนใจย่อมมี แต่ว่า พระโสดาบันไม่ละเมิดศีล ไม่ผิดกาเม ความต้องการรวยยังมี แต่ว่าไม่โกงใคร ไม่ละเมิดศีล โกรธได้แต่ไม่ฆ่าใคร หลงในชีวิตแต่คิดว่าร่างกายจะไม่ตาย ขอบเขตเขามีแค่นั้นนะ จะไปนึกว่าพระโสดาบันเขาไม่มีความรู้สึกไม่ได้ ถือว่าชาวบ้านชั้นดี ผู้ถาม นึกว่าเป็นพระโสดาบันแล้วจะไม่โกรธ หลวงพ่อ พระโสดาบันน่ะไม่โกรธ แต่แข้งอาจจะโกรธ อย่าลืมนะ ยังเตะได้ เขาไม่ได้ฆ่านะ นี่บอกกันตรง ๆ พระโสดาบัน พระสกิทาคานี่ อย่าไปแหยมเข้านะ ผู้ถาม เอาเรื่องเหมือนกันหรือครับ? หลวงพ่อ ไม่เอา...เตะเลย ดีไม่ดีมันมีปืนไม่ตั้งใจจะฆ่า ยิงให้บาดเจ็บ เป็นการยับยั้ง เขายังทำได้นะ ศีลเขาไม่ได้ขาดนะ ผู้ถาม อย่างนี้ก็ยังไว้ใจไม่ได้ หลวงพ่อ ไว้ใจได้แน่นอน ถ้ายั่วหนรัก ๆ ถูกเตะแน่ ถ้าเป็น ผู้หญิงเขาอาจจะตบเอา อย่าไปยุ่งนักไม่ใข่อนาคามี ดูตามขั้นตอนเขาก่อน อนาคามีต่างหากที่ไม่มีความโกรธ จะคิดมากไปว่า พระโสดาบันจะไม่มีความรู้สึกน่ะไม่ได้ ต้องดูตามขั้นตอน โคตรภูญาณ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกพบหนังสือเล่มหนึ่ง ท่านพูดถึงเรื่อง โคตรภูญาณ ลูกไม่เข้าใจเลยเจ้าค่ะ ปฏิบัติอย่างไร ถึงจะเข้าถึงโคตรภูญาณเจ้าคะ? หลวงพ่อ โคตรภูญาณ เขาแปลว่า ระหว่าง ระหว่างโลกีย์กับโลกุตระตอนหนึ่ง ระหว่างพระโสดาบันกับพระสกิทาคาตอนหนึ่ง ระหว่างพระสกิทาคากับพระอนาคามีตอนหนึ่ง ระหว่างพระอนาคามีกับพระอรหันต์ มีหลายโคตร มี ๔ โคตร ๕ โคตร ผู้ถาม ตกลงคำว่า “โคตร” นี่หมายถึง “ระหว่าง” หลวงพ่อ ระหว่าง... เขาสมมุติว่า จิตของเราจะเข้าถึงพระโสดาบันใช่ไหม มันยังไม่ถึงแต่แหย่เข้าไปแล้ว ท่านเปรียบเทียบบอกว่า คล้ายลำรางเล็ก ๆ เท้าข้างซ้ายเหยียบฝั่งนี้ เท้าข้างขวาเหยียบฝั่งโน้น ทั้งสองเท้ายังยันดินอยู่ ยังไม่ยกเท้านี้ไป ระหว่างนั้นเรียก “โคตรภูญาณ” ญาณในระหว่างโลกีย์กับโลกุตร แต่ว่าเวลานั้นสำหรับตอนต้นนะ เอาตอนต้นที่จะเป็นพระโสดาบัน จะมีอารมณ์ ๆหนึ่งขึ้นในใจนั่นคือ ต้องการพระนิพพานอย่างเดียว จิตจะรักพระนิพพานอย่างยิ่ง ใครจะชวนเป็นเทวดาเป็นนางฟ้าไม่ต้องการหมด ต้องการนิพพานอย่างเดียว พอเข้าถึงพระโสดาบันปั๊บ...อารมณ์ ๆ หนึ่งจะเกิดขึ้นนั่นคือ...ธรรมดา ผู้ถาม เป็นยังไงครับ? หลวงพ่อ ถูกด่า...ก็ธรรมดาของคนเป็นอย่างนี้ ถูกนินทา...ก็ธรรมดาของคนเป็นอย่างนี้ แต่อย่าด่าบ่อยนักนะ เอาบ้าง (หัวเราะ) คือว่าพระโสดาบันยังมีโทสะ แต่โทสะไม่รุนแรง ผู้ถาม ในโทรทัศน์วิทยุเทศน์ บอกพระโสดาบันนี่หมดแล้ว โลภะ โทสะ โมหะ หลวงพ่อ นั่นมันโทรทัศน์ไม่ใช่ที่นี่ นี่โทรทัศน์วงจรปิด นั่นเขาวงจรเปิด ผู้ถาม อ๋อ...จริง ๆ แล้วไม่ถึงขนาดนั้นหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่ ๆ ผู้ถาม อย่างนี้ก็ลูกหลานนั่งแถวนี้ก็มีสิทธิ์ หลวงพ่อ โอ๊ย...มีสิทธิ์ทุกคน กล้วยตานี้สุก ๆ ไม่ยาก ผู้ถาม อ้อ...บังเอิญหลวงพ่อพูดคืนนี้เกี่ยวกับ อรหัตมรรค เรียนถามนิดคือว่า “อรหัตมรรค” กับ “อรหัตผล” นี่อารมณ์ต่างกันมากหรือไม่ครับ? หลวงพ่อ ต่างกันมาก...ต่างเยอะเชียว อรหัตมรรคมีอะไรบ้าง? ๑.ต้องตัด รูปราคะ ยังมีอารมณ์หลงในรูปอยู่ ต้องตัดตัวนี้ก่อน รูปฌานนะ ไม่ใช่รูปคน ประการที่ ๒ เมื่อตัดตัวนั้นแล้ว ต้องตัด อรูปราคะ ต้องตัดอารมณ์ที่รักอรูปฌาน คือหลงในอรูปฌาน ยังใช้ฌานแต่ไม่หลงในฌาน ใช้ฌานเป็นประโยชน์นะ ๓.ตัด มานะ การถือตัวถือตน ๔.ตัด อุทธัจจะ คืออารมณ์ฟุ้งซ่าน ๕.ตัด อวิชชา อรหัตมรรคก็ยังมี ๕ อย่าง คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา พออรหัตผลเลยไม่มีอะไร อรหัตผลเหลืออย่างเดียว สังขารุเปกขาญาณ วางเฉยหมด ผู้ถาม ไม่เอาอะไรเลยหรือครับ? หลวงพ่อ เอา...เอาเฉย ๆ คำว่า “สังขารุเปกขาญาณ” วางเฉยในขันธ์ ๕ ใช่ไหม... ขันธ์ ๕ มันจะแก่ ขันธ์ ๕ มันจะตาย ก็เป็นเรื่องของมัน คือว่าถ้ายังมีขันธ์ ๕ ก็จะต้องประคับประคอง ถ้าไม่อย่างนั้นมันหิว ถ้าขันธ์ ๕ มันป่วย ก็รักษาเป็นการระงับเวทนา ถ้าขันธ์ ๕ จะตายไม่หนักใจเพราะต้องการนิพพาน ผู้ถาม ต้องมีอารมณ์ขนาดนั้น ถึงวางได้ขนาดนี้นะครับ? หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ และเป็นสุขที่สุด มันเป็นสุขบอกไม่ถูก ก็ไม่ใช่สุขอย่างกับสุขในฌาน ๑ เป็นสุขนะ นั่นมันสุขต่างหาก ไอ้นี่มันสุขที่ไม่อาศัยอะไรทั้งหมด คือไม่อาศัยอามิสเขาเรียกว่า นิรามิสสุข ไม่ต้องมีวัตถุเป็นเครื่องเกาะ อารมณ์จะสุขเอง ผู้ถาม ถ้าหากว่าลูกหลานนี่ สมมุตินะครับ ขณะนี่ทรงอารมณ์พระโสดาบันได้แล้วนี่ จะไม่เอาละ สกิทา อนาคา จะตีรวดไปทีเดียวตอนตายเป็นอรหันต์ จะได้ไหมครับตอนนั้น? หลวงพ่อ วิธีปฏิบัติเขาก็ปฏิบัติแบบนั้น ไอ้พูดตามแบบเขาต้องไล่ตามระดับ ใช่ไหม... แต่ถ้าปฏิบัติจริง ๆ ท่านบอกว่า ถ้าได้พระโสดาบันในที่นั่งใด ให้ทำจิตให้บรรลุอรหันต์ในที่นั่งนั้นแต่ยังไม่ทันลุกเป็นอรหันต์เลย ผู้ถาม อ๋อ...ตีรวดข้ามไปเลย หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ไปจับ อวิชชา เลย วิธีตีรวดก็จับเฉพาะอวิชชา ได้พระโสดาบันแล้วจับอวิชชา อวิชชามี ๒ อย่างด้วยกันคือ ฉันทะกับราคะ ฉันทะ มีความพอใจในมนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก ราคะ เห็นมนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกสวยสดงดงามน่าอยู่ ไม่มีในอารมณ์เของเรา และโลกทั้ง ๓ นี่ไม่พ้นทุกข์ เราไม่ต้องการ เราต้องการนิพพาน เท่านั้นแหละ ถ้าทำเป็น...ไม่ยาก อยากไปนิพพานก่อนหลวงพ่อ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะกราบพึ่งบารมีหลวงพ่อเจ้าค่ะ คือลูกปรารถนาที่จะไปมรรคผลนิพพานให้มันเร็วกว่าที่เขากำหนด เพราะมันเบื่อหน่ายร่างกายเหลือเกิน แต่ใจหนึ่งก็ไม่ห่วง แต่ใจหนึ่งก็ยังเป็นห่วง ไม่ห่วงตัวแต่ห่วงหลวงพ่อ อยากจะขออนุญาตหลวงพ่อตายก่อน ไปก่อนจะได้ไหม หรือว่าจะกลายเป็นลูกอกตัญญูขอหลวงพ่อ ได้โปรดอโหสิกรรมด้วยเถิดเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ นี่...คนนี้อยู่ใกล้วัดไหน อ้าว...เผื่อพระบังสุกุลไง ผู้ถาม อ๋อ...เวลาตายหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่...อย่างนั้นจะแนะนำให้ตายอย่าง พระโคธิกะ ก็แล้วกัน คือปาดเชือดคอตาย ผู้ถาม เขาว่าฆ่าตัวตายก็ตกนรกนะ...หลวงพ่อนะ หลวงพ่อ แต่ไปนิพพานนะ พระโคธิกะไปนิพพานนะ ถ้าเบื่อร่างกาย เบื่อจริง ๆ นะ คิดว่าร่างกายเป็นศัตรู เราหิวก็เพราะร่างกาย ป่วยไข้ไม่สบายเพราะร่างกาย มีทุกข์ทุกอย่างเพราะร่างกาย เราไม่ต้องการมันอีก ขึ้นชื่อว่าร่างกายประกอบด้วยธาตุ ๔ อาการ ๓๒ อย่างนี้ไม่มีกับเรา เราต้องการนิพพาน เพียงแค่นนี้ก็ไปนิพพาน แต่ระวังมันเจ็บนะ เอาอย่างนี้ดีกว่า เอาตายแบบสบาย ๆ ดีกว่า อยู่เรื่อย ๆไปจนกว่าจะตายเอง ฆ่าตัวตายเดี๋ยวเกิดเจ็บขึ้นมา จิตใจฟุ้งซ่านลงนรกไปเลย ผู้ถาม ต้องเบื่อจริง ๆ จึงจะไปนิพพานได้ หลวงพ่อ ใช่ ๆ ผู้ถาม เบื่อ ๆ อยาก ๆ เบื่อเฉพาะตอน หลวงพ่อ เบื่อ ๆ แต่ว่าห่วงหลวงพ่อ ไม่เบื่อจริง เบื่อต้องเป็น สังขารุเปขาญาณ ตัดทุกอย่างอารมณ์มันจะทรงตัวเอง ไม่ใช่ไปสร้างมันเกิดขึ้น ให้มันเกิดเอง ถือว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกเป็นของธรรมดา เกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่มีกังวล ถ้าอยู่เราก็ต้องบริหารร่างกายตามธรรมดา ต้องกินข้าว ต้องถ่ายส้วม ต้องไปขี้น่ะ ต้องป่วย ต้องรักษาโรค อย่างพระพุทธเจ้าเห็นไหม แต่ว่าเวลาขันธ์ ๕ จะพัง มันก็เป็นเรื่องของมัน “เตสัง วูปะสะโม สุโข การเข้าไปสงบสังขารนั่นย่อมเป็นสุข” นั่นหมายความอารมณ์เราเป็นสุขจากร่างกาย เราไม่เดือดร้อนเพราะร่างกาย ร่างกายจะอยู่ก็เชิญอยู่ จะตายก็เชิญตาย ทำจิตให้เป็นสุขนะ ผู้ถาม เอาแค่นี้นะครับ หลวงพ่อ ค่อย ๆ ไป ค่อย ๆ ทำ แต่แค่เบื่อจริง ๆ ยังไป นิพพานไม่ได้นะ เบื่อเป็น นิพพาญาณ แต่อนาคามีต้องเป็น สังขารุเปกขาญาณ วางเฉยในขันธ์ ๕ ตัดสักกายทิฏฐิ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพ เมื่อปีที่แล้ว น้องชายของกระผม ขอร้องให้กระผมตัดสักกายทิฏฐิของเขา กระผมก็ทำท่าอยากจะตัดอยู่ ก็ไม่รู้วิธีจะตัดแบบไหน ประการใด จึงมากราบเรียนขอคำแนะนำจากหลวงพ่อ ช่วยตัดให้หน่อยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ ไปหาเจ๊กขายหมูซิ..มีดคมดี ผู้ถาม อ๋อ...ตัดต้องใช้มีดหมูหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่...ตัดสักกายทิฏฐิ ต้องตัดร่างกายยังไงล่ะ...กร๊วบ! ทีเดียวขาดเลย สักกายทิฏฐิ ถ้าตัดขาดก็เป็นพระอรหันต์ จำให้ดีนะ คือว่าสักกายทิฏฐิเขาตัด ๓ ขั้น อย่างพระโสดาบันกับพระสกิทาคามีใช้ปัญญาเล็กน้อย สมาธิเล็กน้อย แต่มีศีลบริสุทธิ์ แค่มีความรู้สึกว่า ร่างกายจะต้องตาย ถ้าอนาคามี เห็นร่างกายสกปรกโสโครก มีความเบื่อหน่ายเกิดนิพพิทาญาณ ถ้าอรหันต์เห็นว่า ร่างกายไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา มี ๓ ขั้น ไปเทศน์แบบนั้น ชาวบ้านก็ไม่ต้องทำกันละ ต่างคนต่างท้อ อย่างเด็กจะแบบน้ำทั้งปีบไมไหวมันต้องใช้กระป๋องเล็ก ๆใช่ไหม พอกับแรงเด็ก ผู้ถาม ถ้าอย่างนั้นคนที่มีบุญน้อย ก็ใช้มินิสังฆทานไปก่อน หลวงพ่อ มันเป็นยังไงนะ? ผู้ถาม อย่างชุดละ ๑๐๐ เขาเรียก “มินิสังฆทาน” ครับ หลวงพ่อ อ๋อ...อย่างนั้นเหรอ ******************************* จบบริบูรณ์ ข้าพเจ้าขอพิมพ์ถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา และ สังฆบูชา กวางน้อย พิมพ์สิ้นสุดเมื่อ 25 พ.ย. 47 ปัญหาการรักษาศีล ดูข้างล่าง ดูข้างบน ปัญหาการรักษาศีล ปัญหาการปฏิบัติธรรม ปัญหาพระนิพพานและอานิสงส์ต่าง ๆ TDStats.com - Hit Counter & Website Statistics

พระสกิทาคามี ใช้อารมณ์คิด ทบทวนกำลังใจ พรหมวิหารสี่ ให้หนักขึ้นกราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าลูกจะขอทราบเกี่ยวกับเรื่องอานิสงส์สักเรื่องหนึ่งว่า วิธีที่จะกราบพระให้ถูกต้องตามแบบฉบับ เพื่อจะมีผลานิสงส์มาก ๆ นั้น จะต้องกราบแบบไหน ขอแบบฉบับวัดท่าซุงเป็นตัวอย่างด้วยเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ ให้กราบด้วยความเคารพอย่างเดียวพอ ให้จิตเคารพนะ ก่อนที่จะกราบพระพุทธเจ้า นึกถึง พระพุทธเจ้า นึกถึงพระพุทธรูปก่อน กราบครั้งที่ ๒ กราบพระธรรม นึกถึงดอกมะลิแก้ว ให้ไหลจาพระโอษฐ์ พระพุทธเจ้าลงหัวเรา กราบครั้งที่ ๓ นึกถึงพระสงฆ์องค์ใดองค์หนึ่งที่เราเคารพ... พอ เอาใจสำคัญกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ถ้าใจไม่เคารพ ไม่มีความหมาย สมาทานพระกรรมฐาน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าคำสมาทานกรรมฐานของหลวงพ่อ ปรากฏว่าลูกท่องไม่ได้เลย ลูกใช้อย่างนี้เจ้าค่ะ พอหลับตาปุ๊บ ลูกบอกว่า กรรมฐานทั้งหลายที่หลวงพ่อให้ลูก ขอสมาทานทั้งหมด ณ กาลบัดนี้แล้วก็หลับตาเลย หลวงพ่อ ใช้ได้เลย ๆ อ้าว นี่ได้จริง ๆ แต่ว่าอย่าลืมนึกถึง พระพุทธเจ้า อย่าเอาแค่หลวงพ่อนะ ว่ากรรมฐานที่หลวงพ่อเรียนมานี่ เป็นของพระพุทธเจ้า ขอยอมรับกรรมฐานทั้งหมด ที่พระพุทธเจ้าสอนทุกสิกขาบท แล้วนอนภาวนา “พุทโธ” หลับไปเลย... ใช้ได้ พื้นฐานการเจริญพระกรรมฐาน ผู้ถาม หลวงพ่อครับ การเจริญพระกรรมฐาน ต้องมีพื้นฐานอะไรบ้างครับ? หลวงพ่อ พื้นฐานเหรอ... ถ้าเป็นชายต้องมีกางเกง... พื้นฐานจริง ๆ ก็มี ศรัทธา ความเชื่อ ตัวนี้ตัวเดียว พระศาสนาเรา ถ้าไม่มีความเชื่อเสียอย่างเดียว ไม่มีอะไรเป็นผล และต้องใช้ ปัญญา ร่วมด้วยนะ เขาแนะนำกันมาเราคิดดู มันควรหรือไม่ควร แต่อีกสิ่งที่เป็นฤทธิ์ มันเกินวิสัยที่เราจะคิด อย่างฤทธิ์ของวิชชา ๓ ฤทธิ์ของอภิญญา ฤทธิ์ของปฏิสัมภิทาญาณ นี่เราคิดไม่ได้ เพราะขืนคิดบ้า คิดยังไงมันก็ไม่ลงตัว มันจะเหมือนกับที่เราคิดไม่ได้ เราจะตัดความสามารถของฤทธิ์ก็ตัดไม่ลง อย่าง วิชชา ๓ มีทิพจักขุญาณ ถือว่ามีฤทธิ์ทางใจ ตามธรรมดาเราไม่สามารถเห็นสิ่งของที่ลี้ลับได้ใช่ไหม... แต่ถ้าเขาได้ ทิพจักขุญาณ..คุณ! ไม่มีอะไรหนาเขาเลย อย่าว่าแต่วางข้างหน้าเลย วางมุมรูปไหนเขาก็รู้ วางโลกไหนก็ได้ทุกโลก นี่ถ้าเขารู้จักใช้นะ ที่ฝึกไปแล้วไม่รู้จักใช้นี่เยอะ ๙๐ เปอร์เซ็นต์ เศษ ๆ หน่อย ๆ เอาไปแล้วไม่รู้จะใช้อะไรดี บางทีก็ปล่อยบูดไปเลยมีเยอะแยะจริง ๆ แล้วถ้าได้แล้วเขาต้องฝึกซ้อม ทำอยู่เสมอๆ ได้ง่ายเกินไปเลยปล่อยหายง่าย อย่างนี้มีเยอะแยะ ทำสมาธิจิตว่าง ผู้ถาม กระผมทำสมาธิจนรู้สึกว่ามีสติอย่างเดียว แล้วเห็นเงาดำแอบเข้ามา ขอถามหลวงพ่อว่า อย่างนี้จิตว่างหรือเปล่า ทำถูกต้องหรือไม่สำหรับแนวกรรมฐาน? หลวงพ่อ จิตไม่ว่าง ยังมีความรู้สึกอยู่ ทำน่ะ ทำถูก แต่จิตไม่ว่าง การทำให้จิตว่างนะ ไม่มีนะ คนถามเข้าใจด้วยนะ จิตว่างนี่ไม่มี จิตมันมีสภาพเกาอยู่ ๓ อย่าง คือ ๑.เกาะชั่ว ๒.เกาะดี ๓.อยู่เฉย ๆ ไม่เกาะชั่วไม่เกาะดี ตัวนี้ว่าง คือจิตมีอารมณ์ของพระนิพพาน ถ้าคำว่า “ว่าง” ในที่นี้ ก็ว่างเฉพาะอารมณ์ที่เป็นกิเลส ส่วนอารมณ์ที่เป็นกุศลมันก็ไม่ว่างเหมือนกัน เป็นอันว่า จิตจริงๆ มีสภาพไม่ว่างนะ ถ้าจะถามว่า เวลานั้นจิตว่างจากความชั่วหรือไม่อย่างนี้ควรถาม อย่างนั้นต้องตอบว่า ตอนนั้นจิตว่างจากความชั่ว ๕ อย่าง ที่เรียกกันว่า นิวรณ์ คือ 1. กามฉันทะ ความพอใจในรูปสวย เสียเพราะ กลิ่นหอม รสอร่อย สัมผัสระหว่างเพศ 2. ปฏิฆะ อารมณ์ไม่พอใจ 3. ความง่วง 4. ความฟุ้งซ่าน 5. สงสัย สมาธิเล็กน้อย ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะกราบเรียนถามเกี่ยวกับ เรื่องสมาธิเล็กน้อย คือว่าสมาธิของลูกนี่ จะได้แค่ ประมาณ ๒-๓ นาที หลังจากนั้นไปอารมณ์จะฟุ้ง แล้วก็ทุกวันเป็นอย่างนี้ ไม่สามารถจะแก้ได้ ขอบารมีหลวงพ่อช่วยแก้เรื่องการปฏิบัติของลูก ให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไปด้วยเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ พอแล้ว ๒ นาทีพอแล้ว อย่าลืมนะวันละ ๒ นาที ๑๐ วันเท่าไหร่ ๑๐๐ ปีเท่าไหร่ วิธีที่ทรงสมาธิให้ทรงตัว จับ อานาปานุสสติ โดยเฉพาะ ฝึกลมหายใจเข้าออกหายใจเข้าหายใจออกนับเป็น ๑ ถึง ๑๐ ใช่ไหม... ตั้งใจคิดว่าถ้ายังไม่ถึง ๑๐ จิตมันวอกแวกนะ เริ่มต้นใหม่เอาให้ถึง ๑๐ ให้ได้ วิธีดีที่สุดเอาตามนี้นะ เอาดีอย่างพระพุทธเจ้าทรงตรัสกับ พระสารีบุตร ซิว่า “สารีปุตตะ ดูก่อนสารีบุตร บุคคลใดทำจิตให้ว่างกิเลสวันหนึ่งชั่วขณะจิตหนึ่ง ตถาคตขอกล่าวว่า บุคคลนั้นมีจิตไม่ว่างจากฌาน” สองนาทีนี่ มันว่างจากกิเลสนะ ... ใช้ได้ ทำสมาธิรำคาญเสียง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง บ้านของลูกอยู่ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช มีความข้องใจเกี่ยวกับเรื่องประหลาดที่บ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็คือว่า เวลาสวดมนต์ทำกรรมฐาน จะมีเสียงสวดมนต์บ่นพึมพำ ๆ เป็นผู้ชายบ้าง เป็น ผู้หญิงบ้าง เป็น เด็กบ้าง แล้วก็ทำความรำคาญให้กับลูก ในขณะเจริญพระกรรมฐานเสมอ ๆ ขอเรียนถามหลวงพ่อว่า จะมีวิธีกำจัดพวกเหล่านี้ได้อย่างไร จะได้ไม่รบกวนในการเจริญกรรมฐานต่อไปเจ้าคะ? หลวงพ่อ เอาแล้ว... หากินพลาดบทแล้ว ผู้ถาม ก็รำคาญนี่ครับ... หลวงพ่อ! หลวงพ่อ ถ้ารำคาญแสดงว่าสมาธิไม่พอ ถ้าหากว่าจิตเข้าถึงปฐมฌาน จะไม่รำคาญในเสียง แต่ความจริงนะ ถือว่าเป็นคนมีโชค สามารถได้ยินเสียงของพวกอมนุษย์ได้ อย่างนี้มีโชคนะถือว่าดี เขาสงเคราะห์ แต่บังเอิญถ้าผู้นั้นใช้กำลังใจไม่พอกับความดีที่เขาให้ เอาใหม่ ตั้งใจใหม่ ถ้ามันมาบ่นให้ฟังเพลินไปเลย คือต้องฝึกนะ ต้องฝึกสู้กับเสียง เพราะฌานขั้นต้น จะไม่รำคาญในเสียง เสียงได้ยินเขาพูดทุกอย่าง ร้องรำทำเพลง แต่เราจะไม่รำคาญในเสียงเขาคุย แสดงว่าคนนี้ยังมีจิตไม่ถึงฌานที่ ๑ ยังไม่เต็มปีติเลย แต่ความจริงตัวที่ได้ยินมันมาจากปีติ อันดับแรกถึงปีติ ได้ยินใช่ไหม ต่อไปจิตตก ตกจากปีติ ยังไม่ถึง ฌาน ๑ นั่งกรรมฐานมีคนดึง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง เวลาลูกนั่งพระกรรมฐานที่บ้านก็ตาม ที่ห้องพระก็ตาม ส่วนใหญ่ก็ถนัดเรื่องพุทโธ ที่ประหลาดใจก็คือว่า เวลานั่งภาวนาไปคล้าย ๆ จะมีใครก็ไม่ทราบ ดึงไปข้างหน้าหงายไปข้างหลัง เอียงไปข้าง ๆ ตัวโยกเยก เขาเรียกกรรมฐานโยกเยกเป็นเพราะอะไรครับ? หลวงพ่อ อย่างนี้เขาเรียก โอกกันติกาปีติ ปีติตัวที่ ๓ จิตเริ่มดีแล้ว แต่ทว่าเทวดาประจำบ้านท่านบอกว่า อารมณ์หยาบไปเวลาขึ้นต้น อาจารย์อ่านฉันก็ถามเทวดาท่าน...ไม่ยาก ท่านบอกเวลาเริ่มต้นอารมณ์หยาบไป ใช้อย่างนี้นะ ก่อนเริ่มต้น พอนั่งปั๊บ หายใจยาว ๆ แรง ๆ สัก ๕-๖ ครั้ง เป็นการระบายอารมณ์หยาบ ต่อไปอาการอย่างนั้นจะคลายตัว พออาจารย์ถามฉันก็ถามท่านเหมือนกัน ท่านก็เลยบอก... ใช้ได้ ผู้ถาม อ้อ... ที่หลวงพ่อตอบเก่ง เพราะมีถามตอบอย่างนั้นหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่... อีกหลายต่อ อย่างเมื่อคืนนี้อุทิศเจ๊งจั๊ง หลายต่อยุ่งเลย ผู้ถาม ผมจะขอต่ออีกนิดคือว่า บางครั้งจะเห็นเป็นคล้าย ๆ ดวงสีขาว ๆ คล้าย ๆ แก้ว ลูกไม่ทราบว่าเป็นเพราะอะไรครับ? หลวงพ่อ นั่นละถูกแล้ว ปีติ พออารมณ์ใจเข้าถึงปีติ อารมณ์เริ่มเป็นทิพย์ เมื่ออารมณ์เริ่มเป็นทิพย์ เริ่มเห็นนิมิตที่ไม่มีภาพจริง ๆ นะ มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นเป็นของธรรมดา ผู้ถาม ครับ ๆ ที่เห็นนั่นก็เป็นของดีนะ หลวงพ่อ ดีแล้ว แต่ว่าใช้อามรณ์ให้ละเอียดกว่านั้นนะ อย่าลืมเอาแบบเกณฑ์ทหาร เขาทำอย่างไร หายใจเข้าลึก ๆ หายใจออกแรง ๆ ใช่ไหม... สัก ๕-๖ ครั้งระบายอารมณ์หยาบ ผู้ถาม แล้วก็บอกว่า สมัยก่อนลูกเจ็บไข้ได้ป่วยเป็นโรคหัวใจ โรคโน่นโรคนี่ บัดนี้ลูกหายพอสมควรแล้ว จึงขอกราบขอบพระคุณที่หลวงพ่อเมตตาให้กรรมฐานปฏิบัติ แล้วลูกหายจากโรคภัยไข้เจ็บเจ้าค่ะ หลวงพ่อ ยังหายไม่หมดนะ ผู้ถาม เหลืออะไรครับ หลวงพ่อ โรคสงสัย ทำสมาธิตัวโยก ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง เวลาที่ลูกสวดมนต์ก็ดี ฟังเทปก็ดี ตัวโยกไปเยกมาระงับไม่อยู่ แต่ก็แปลกนะครับ สบายใจดีมาก อย่างนี้เป็นเพราะอะไรครับ ถ้าจะแก้ไขให้ดีไปกว่านี้อีก หลวงพ่อจะแก้ไขอย่างไรครับ? หลวงพ่อ รู้แค่เฉพาะโยกไปนะ แต่เยกมาไม่รู้นะ อย่างนั้นเขาเรียก โอกกันติกาปีติ เร่งรัดมันจะเสีย อยากจะโยกก็เชิญมันโยกไปตามชอบใจ ถ้าปีติตัวนี้เต็มอารมณ์เมื่อไร ก็เลิกโยก มีอารมณ์ดิ่งเป็นฌาน ทำสมาธิง่วงนอน ผู้ถาม หลวงพ่อขอรับ กระผมนั่งกรรมฐานทีไรแล้วเกิดนิวรณ์ตัวที่ ๓ คือง่วงนอนมากเหลือเกิน กระผมทำตามหลวงพ่อแนะนำทุกอย่าง อาบน้ำ ล้างหน้า แหงนดูฟ้า ปรากฏว่าแก้ไม่ตกเลยสักที เลยกลุ้มใจ อยากจะพึ่งบารมีหลวงพ่อให้หาวิธีแบบใหม่ที่ไม่ง่วงนอนด้วยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ มีอีกวิธีไม่ทำนี่ ถ้าง่วงก็นอนหลับไปเลย อันนี้ได้ผลนะ ดีกว่าทรมาน เพราะว่าภาวนาไป ถ้าเวลานั้นจิตไม่ถึงฌานมันจะหลับไม่ได้ ถ้านอนแล้วภาวนา ถ้าจิตถึงฌานจะตัดหลับทันที ช่วงเวลาหลับกี่ชั่วโมงก็ตาม ยังทรงฌานนั้นอยู่ ควรทำแบบนี้นะ อย่าทรมาน ง่าย ๆ หากินสะดวก ๆ เรียนกับพระขี้เกียจ... สบายมาก เพราะฉันหากินแบบขี้เกียจมาตลอดเวลาแบบไหนที่ได้ง่ายลงทุนน้อยเอาเลย นั่งสมาธิศีรษะสั่น ผู้ถาม กระผมฝึกสมาธิอยู่ที่บ้าน พอถึงระดับหนึ่งเกิดศีรษะสั่นอย่างรุนแรง พอตอนเช้าคอระบมไปหมด ทำยอย่างไรดีขอรับ? หลวงพ่อ ความจริงก็ดีเหมือนกันนะ ก็ต้องสั่นให้มันหายระบมต้องแก้กัน ความจริงไม่เป็นไรปล่อยไปเรื่อย ๆ ก็แล้วกันนะ เวลานั้นก็ถือว่าขณะนั้นจิตเข้าถึง อุเพงคาปีติ ว่าหยาบไปหน่อยคอจึงระบม ถ้าจิตละเอียดนี่จะไม่เป็นอย่างนั้น จะไม่มีอาการอื่น คงจะมีจิตกระสับกระส่ายกังวลนะ พอถึง อาการสั่นหัวละก็...จิตหยาบ ทำสมาธิตกใจ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกได้เจริญพระกรรมฐานเป็นเวลาช้านานแล้ว มีปัญหาอยู่ที่ตรงที่ว่า พอจิตของลูกใกล้ ๆ จะเป็นสมาธิ จะมีสิ่งประหลาด ๆ ทำให้ลูกตกใจอยู่เสมอ จึงทำให้การเจริญกรรมฐานของลูกไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร อยากจะปรึกษาหลวงพ่อว่า วิธีที่จะแก้ปัญหาแบบนี้ ควรจะแนะนำให้ลูกปฏิบัติอย่างไรเจ้าคะ? หลวงพ่อ นั่นเป็นของธรรมดานะ ได้ยินเสียง ปึงปัง ๆ ๆ คล้าย ๆ ใครยิงปืนใกล้ ๆ ก็มี เป็นของธรรมดาเขาลอง ๆ ตอนนั้นจิตเป็นอุปจารสมาธิ เขาลองดูว่าเราจะตกใจไหม ส่วนใหญ่เป็นเทวดาชั้นจาตุมหาราช ผู้ถาม อ้อ ... นี่เกี่ยวกับเรื่องเทวดาเขาทดสอบ หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ทำสมาธิรู้เรื่องในอดีต ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกนั่งทำสมาธิอยู่เพียงแป๊บเดียว เรื่องราวในอดีตมันปรากฏเหมือนในจอโทรทัศน์ แวบมา ๆ อย่างนั้นแหละ ลูกก็มาเกิดความสงสัยว่า อย่างนี้จิตของลูกฟุ้งซ่านอยู่หรือเปล่าเจ้าคะ? หลวงพ่อ เป็นเรื่องธรรมดานะ เมื่อจิตสงบเรื่องราวในอดีตก็เกิดขึ้นเป็นเรื่องธรรมดานะ แต่ว่าถ้าจะทรงอารมณ์ให้รักษาอานาปา มันต้องมาแน่ มาก็ช่างมัน มันแล้วไปแล้ว นั่งสมาธิลมออกหู ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา นั่งสมาธิแล้วปรากฏว่าลมออกทางใบหู เสียงดัง ปี๊ด...ปี๊ด หลวงพ่อ ก็ยังดี ดีกว่าออกต่ำ ดังปุ๋ง ปุ๋ง (หัวเราะ) ผู้ถาม แต่ทีนี้เวลาจิตรวมเป็นสมาธิแล้ว ได้เห็นเป็นดวง ๆ มีกลมบ้าง บางทีก็ดำ บางทีก็ขาว ลอยเข้ามาจะชนลูกตา ลูกก็ต้องผงะ ลืมตาแล้วก็นั่งสมาธิใหม่ แล้วก็ลอยมาแล้วก็ชนอยู่อย่างนี้เป็นประจำ ใช้ทั้ง พุทโธ ใช้ทั้ง นะมะพะธะ แต่ไม่สมารถจะแก้ปัญหานี้ได้ ขอความเมตตาหลวงพ่อช่วยแนะนำหรือแก้ไขครั้งนี้ด้วยเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ จะแก้ทำไม เขาไม่แก้กันหรอก นั่นเป็น นิมิต ของ อานาปานุสสติ ใครเขาแก้กันละ เวลานั้นอานาปานุสสติกำลังเข้าถึงปีติ จึงเกิดภาพนี้ขึ้น เขียวบ้าง แดงบ้าง ขาวบ้างตามใจ แล้วแต่เขาจะเกิดของเขา ก็ไปกลัวของดี กลัวสวรรค์ นั่งสมาธิปวดขา ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกปฏิบัติพระกรรมฐานตามแนวของหลวงพ่อทุกประการ ที่แก้ไม่ตกมีอยู่อย่างเดียวนั่นคือ นั่งไปไม่ถึง ๒-๓ นาที จะมีความรู้สึกปวดที่ขาทันที ลองเปลี่ยนแล้วมันก็เป็นอย่างนี้อีก ลูกอยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า การกำหนดจิตไม่ให้ปวด การกำหนดจิตไม่ให้มีเวทนา เพื่อจะได้นั่งนาน ๆ เหมือนหลวงพ่อ จะทำอย่างไรดีขอรับ? หลวงพ่อ ก็ไม่เป็นไร บีบจมูกสักหนึ่งชั่วโมง หายเอง... ตาย... ไม่เจ็บไม่ป่วยถ้ามันมีเวทนาอย่างนั้น ก็ใช้วิปัสสนาญาณช่วยซิ เกิดมาเป็นทุกข์อย่างนี้ จะเล่นแต่สมถะ ที่ว่าทำตามทุกอย่างนั้นไม่จริง .... ไม่จริง ฉันเล่นทุกอย่าง ถ้าป่วยขึ้นมาฉันเล่น วิปัสสนาญาณช่วย ฉันว่าทั้งสองอย่างนะ แต่นี่ล่อสมถะอย่างเดียว ไม่ใช้ปัญญาเข้าช่วย ในเมื่อนั่งมันเมื่อยก็ลุกขึ้นยืน ยืนเหมื่อยก็เดิน เดินเมื่อยก็นอน นอนเมื่อยก็นั่ง นั่งเมื่อยก็เดิน นั่งเรียบ ๆ ไม่ดี ก็นั่งเก้าอี้ก็ได้ ผู้ถาม กรรมฐานนั่งเก้าอี้ได้หรือครับ...หลวงพ่อ? หลวงพ่อ โอ้ย...นั่งบนตอไม้ยังได้เลย นั่งยอดไม้ก็ได้ ที่ไหนก็ได้ มันอยู่ที่ใจ ให้ร่างกายสบายก็แล้วกัน ผู้ถาม ก็ตกลงว่าเปลี่ยนเสียนะ อิริยาบถใดมันไม่ไหวก็...อ๋อ...ต้องใช้วิปัสสนาญาณช่วยจะได้ประโยชน์มาก หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ มีความจำเป็น นั่งสมาธิตัวร้อน ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าคะ มีเด็กอายุประมาณ ๒๑-๒๒ ปีเจ้าค่ะ เขาเห็นพ่อเขานั่งสมาธิแล้วก็นั่งบ้าง พอถึงแค่นั้นเขาบอกทันทีว่า ตัวเขาร้อนไปหมดเลย ทนไม่ไหว เขาเลิกสาเหตุเพราะอะไรเจ้าคะ? หลวงพ่อ เรื่องนี้ตอบไม่ได้ ไม่เคยปรากฏ ผู้ถาม เขาบอกร้อนไปหมดเลย เขาไม่ทำเขากลัว หลวงพ่อ ใช่ ๆ ต้องมีบาปอะไรอย่างใดอย่างหนึ่งเข้ามาขวางนะ ผู้ถาม แล้วสมมุติว่าเขาพยายามจะทำต่อ หลวงพ่อ เอ... ถ้าทำต่อไปได้ก็ดี ทำน้อย ๆ นะ ผู้ถาม พอรู้สึกร้อนก็หยุดซะ หลวงพ่อ ใช่ ๆ หยุดซะ ไม่ช้าก็หาย เอาอย่างนี้นะ ไอ้ตัวร้อน นี่ก็คือตัวบาปเก่า มันคงขวางทาง ถ้าการเจริญสมาธิอย่างน้อยจะขึ้นสวรรค์ ถ้าอย่างนั้นต่อไปก็เป็นพรหม ต่อไปก็ไปนิพพาน ขึ้นสูงหนีมัน มันก็ขวางตัว และถ้าเราสามารถหาทางต่อสู้ด้วยการพอรู้สึกตัวว่าร้อน จะร้อนมากเกินไปเราก็เลิก ไม่ยอมแพ้มันก็หมดเรื่องดีกว่า นั่ง ๆ หนัก ๆ เข้ามันจะหายร้อนเองนะ รู้สึกถ้าร้อนจิตกระสับกระส่ายก็เลิกซะ ถือเอาบุญเข้ามาผสมทีละหน่อยเหมือนน้ำนะ ไอ้ความร้อนเหมือนไฟใช่ไหม... น้ำค่อยๆใส่ไป ถ้าน้ำมากขึ้นมาไฟมันก็ดับ เอาอย่างนั้นก็แล้วกันนะ ทำสมาธิไม่ได้ดี ผู้ถาม หลวงพ่อขอรับ ผมทำสมาธิทุกวัน ๆ ละ หนึ่ง ชั่วโมง มาเป็นเวลา ๒๐ ปีแล้วครับ มันไม่ไปเหนือไปไม่ไปใต้เลย ไม่ทราบว่าติดขัดอะไร หรือมีกรรมเวรประเภทไหมมาปิดบัง ขอบารมีหลวงพ่อ ช่วยแก้ไขหน่อยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ สมาธินี่ถ้าทำเฉย ๆ ก็ไม่ไปไหนนะ มันก็อยู่แค่ ฌาน ถึงฌานหรือเปล่าก็ไม่รู้ น่ากลัวจะไม่ถึงฌาน น่ากลัว ตะเกียกตะกายอยู่ข้างฌาน มันขึ้นฌานไม่ไหว ไต่บันไดแกร๊ก ๆ แต่ความจรงิถ้าเรื่องสมาธิจริง ๆ นะ ถ้าหากว่าได้จริง ๆ ก็อยู่แค่ฌาน ๔ ฌาน ๔ แล้วก็ไม่ไปไหนละ ก็ทรงตัวบ้าง เดินหน้าบ้าง ถอยหลังบ้าง ไปข้างหน้า ๑ ก้าว ถอยหลัง ๕ ก้าว ทีนี้ผลการปฏิบัติจริง ๆ เขาไม่ได้มุ่งสมาธิ ต้องหวังตัด สังโยชน์ ถ้าจะบอกว่า วิปัสสนาญาณก็จะมากเกินไป ความจริงถ้ามุ่งตัดสังโยชน์ ก็ต้องดูอารมณ์ใจตัวตัด ไม่ใช่ดูสมาธิ อันดับแรก ความโลภ อยากได้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นมีในเราหรือเปล่า เบาลงไปไหม ประการที่ ๒ ความโกรธ เบาไหม ประการที่ ๓ ความหลง เบาลงไหม สิ่งที่มีความสำคัญคือ 1. ลืมความตายหรือเปล่า 2. เคารพพระไตรสรณคมน์จริงจังไหม 3. มีศีล ๕ บริสุทธิ์ไหม 4. หวังพระนิพพานจริงจังหรือเปล่า...? เขาดูตรงนี้นะ มุ่งเอาสมาธิกลุ้มใจตาย มันไม่มีการทรงตัว เวลาใดร่างกายดีไม่มีอารมณ์กลุ้ม สมาธิก็ทรงตัวใช่ไหม... ร่างกายอ่อนเพลียหน่อย สมาธิก็ทรุดตัว เอาแต่สมาธิไปไม่รอด ผู้ถาม เมื่อภาวนาไปไม่ได้ อย่างนี้จะมีโอกาสบรรลุธรรมเบื้องสูงหรือเปล่าครับ? หลวงพ่อ ทะลุธรรมแน่ จุดหมายปลายทางเขาคือสังโยชน์ ผู้ถาม ทีนี้ถ้าหากว่าไม่ได้อะไรเลย แต่ถ้าตั้งใจว่าตายเมื่อไหร่ไปนิพพานเมื่อนั้น พอจะไปได้ไหมครับ... หลวงพ่อ? หลวงพ่อ พอเห็นทาง...แต่ไม่เข้าทาง ผู้ถาม ๒๐ ปีแล้วนะครับ หลวงพ่อ ๑๐๐ ปีก็ไม่ได้ ถ้าเข้าทางจริงต้องคิดว่า ๑.ชีวิตนี้จะต้องตาย ตัวสักกายทิฏฐินะ ๒.วิจิกิจฉา ไม่สงสัยในคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระอริยสงฆ์ ๓.มีศีล ๕ บริสุทธิ์ และก็ ๔.มีจิตมุ่งเฉพาะพระนิพพาน อันนี้ถึงจะได้ อันนี้ถึงจะเข้าทางหรือเข้าเขตเลย ฝึกสมาธิไม่ได้ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าเกี่ยวกับเรื่องสมาธินี่ผมโชคดี ทำมาด้วยตนเองเป็นเวลา ๒ ปีแล้ว โดยการอ่านหนังสือบ้าง ฟังวิทยุบ้าง ดูโทรทัศน์บ้าง โดยใช้คำภาวนาว่า พุทโธ แต่ว่าไม่ได้รู้ไม่ได้เห็นอะไรเลย แม้แต่นิมิตเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ไม่ได้ กระผมตั้งใจว่าจะมาฝึกมโนมยิทธิ เลิก พุทโธ โดยมาใช้ นะมะพะธะ จะมีทางเป็นไปได้ไหมครับ? หลวงพ่อ เดี๋ยวก่อน...ขอตอบก่อน พวกที่ใช้ นะมะพะธะ เขาไม่ได้เลิก พุทโธ เวลาจะใช้มโนมยิทธิเขาก็ใช้ นะมะพะธะ คือ นะมะพะธะ เป็นของพระพุทธเจ้าท่าน อย่าไปเลิกนะ ถ้าเลิก “พุทโธ” ล่ะซวย พุทโธ ก็คือพระพุทธเจ้า นะมะพะธะ เป็นคาถาบทหนึ่งในธาตุ ๔ ของกรรมฐาน ๔๐ ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนบอกคาถาบทนี้เอาไว้ใช้เป็นกำลังในการฝึกมโนมยิทธิ ถ้าลืมเจ้าของเก่า คือพระพุทธเจ้า ก็เจ๊ง! ก็เป็นอันว่า จะมาฝึกมโนมยิทธิมาฝึกแต่อย่าทิ้ง “พุทโธ” ว่าง ๆ ก็ใช้ พุทโธ แบบสบาย ๆ เวลาจะใช้มโนมยิทธิเราก็ใช้ นะมะพะธะ ก็มีหลาย ๆ อย่าง มีทั้งขา มีทั้งรถ “พุทโธ” เหมือนมีขามีแขน “นะมะพะธะ” เหมือนมีรถนั่งอย่างดี เป็นเครื่องบินก็ได้ นะมะพะธะ ผู้ถาม หลวงพ่อครับ อย่างคำภาวนาว่า “นะมะพะธะ” เป็น พุทธานุสสติกรรมฐาน หรือครับ “นะมะพะธะ” แปลว่าอะไรครับ? หลวงพ่อ “นะมะ” แปลว่า นมัสการ “พะธะ” แปลว่า ไหว้พระพุทธเจ้า เรื่องจริงนะ “นะมะพะธะ” ที่แปลว่า ธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ เขาไม่ได้ภาวนา เขาพิจารณานะ คำว่า “นะมะพะธะ” ที่ท่านมาบอกจริง ๆ บอกว่า ไม่ใช่ธาตุ ๔ เป็นการนมัสการพระพุทธเจ้าเป็น พุทธานุสสติกรรมฐาน ภาวนาแล้วจิตตกวูบไป ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกภาวนา พุทโธ กับ อานาปา ควบกันไปก็ปรากฏว่า จิตสงบมันก็ไม่ใช่ แต่ว่าเป็นอุปจารสมาธิก็ไม่เชิง มันจะมีจุด ๆ หนึ่งอย่างนี้ขอรับ จิตมันไปตกวูบ พอวูบไปปั๊บ ผมก็เกิดความกลัว ก็ภาวนาใหม่ เริ่มต้นใหม่ก็วูบอีก ลักษณะแบบนี้แก้ไม่ตก ไม่รู้จะแก้ยังไง ขอพึ่งบารมีหลวงพ่อแนะนำวิธีลูกหย่อยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ อาการแบบนี้นะ ขณะที่จิตสบาย ขณะนั้นจิตตั้งอยู่ในปฐมฌาน แต่ว่าสมาธิไม่ทรงตัว สมาธิตก ฌานเริ่มตก มีวูบเสียว ๆ คล้ายตกต้อนไม้ใหญ่ นั่นเขาเรียก จิตพลัดจากฌาน วิธีแก้ไม่ยาก เพราะว่าเริ่มต้นทีแรกลมหยาบเกินไป ให้ใช้หายใจยาว ๆ แบบเกณฑ์ทหารน่ะ ๕-๖ ครั้ง หายใจแรงๆ ยาว ๆ นะ ทำอย่างนี้ทุกวัน ๆ ไม่ช้า อาการจะหาย ขับลมหยาบทิ้งไปก่อน อันนี้ไม่ยาก ภาวนาพุทโธไม่เห็นอะไร ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าลูกได้ปฏิบัติภาวนาสมาธิกรรมฐานแบบ “พุทโธ” มาหลายปีแล้ว ปรากฏผลว่าไม่ได้เห็นอะไรเลยสักอย่าง ได้แต่เงียบกริบ อันนี้จะเกี่ยวกับว่า เป็นเพราะเวรกรรมชิตก่อนทำไว้อย่างไร ชาตินี้เวลาทำสมาธิจึงไม่ได้รู้ไม่ได้เห็น เหมือนกับคนอื่นเขาเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ ก็สมาธิเขาทำเพื่อเงียบ ตั้งใจสงัด จิตสงัดจากกิเลส ทีนี้การทำสมาธิเขาไม่ได้หมายถึงการเห็น ไอ้นั่นที่ปฏิบัติเป็น สุกขวิปัสสโก ถ้าต้องการเห็นต้องเป็น เตวิชโช หรือ ฉฬภิญโญ คนละหมวดนี่ ปฏิบัติให้ถูกหมวดซินะ ถ้าเป็นเตวิชโชก็สามารถเห็นได้ ระลึกชาติได้ ถ้าเป็นฉฬภิญโญเห็นได้ด้วย ไปถึงด้วย ใช่ไหม ต่างกัน มโนมยิทธินี่ก็มันบวกวิชชา ๓ กับอภิญญา คือว่าใหญ่กว่าวิชชา ๓ แต่เป็นอภิญญาขนาดเล็ก อิริยาบถ ผู้ถาม มีพระออกโทรทัศน์เมื่อสองวัน ท่านบอกว่าปฏิบัติอย่างนี้ได้ผลอะไรนะ ขวาหงาย ยกแล้วก็ย่าง แล้วก็ยก จำไม่ได้ ปิ๊ดปี้ปิ๊ด เหมือนจราจรนั่นแหละ ท่านบอกอย่างนี้นะ ของอาตมานี่ไม่นานหรอก แค่ ๓ ปีก็พอรู้ผล ๓ ปีนะ พอจะรู้ผลนะ หลวงพ่อ มโนมยิทธินี่ช้าไปนะ ปุ๊บปั๊บ ได้ไปเลย ยังกับปฏิบัติ “วิปัสสนาจราจร” แน่ะ เห็นว่าทำออกโทรทัศน์ขำดีนี่ก็แปลกดีเหมือนกัน ความจริงมีหรือเปล่าครับ? หลวงพ่อ แบบนี้จะเป็น มหาสติปัฏฐาน อิริยาบถ แต่ว่ายาวไปมหาสติปัฏฐานก็เพียงว่า จะยกเท้าย่างเท้าให้รู้อยู่ ก้าวไปข้างหน้า ก้าวไปข้างหลัง จะกินจะกลืน ไอ้ตอนกินนี่รู้ ตอนกลืนไม่รู้ รู้ไม่ทันกลืนลงก่อน พอกินปั๊บก็เลยเข้าไปเลย เอาแค่ให้รู้ตัวอยู่เสมอ สติสัมปชัญญะใช่ไหม ความจริงไม่มีอะไร เขาพร้อมแล้วนะ ถ้าได้แล้วไม่มีอะไร ต้องระวัง เป็นไปเองโดยอัตโนมัติ อย่างตานี่กระพริบอยู่เสมอผงจะมายังไม่ทันรู้ ใช่ไหม... ตากระพริบแล้ว ข้อนี้ฉันใด พระอริยเจ้าตามขั้นเหมือนกัน ท่านทำตามหน้าที่ของท่าน จิตทำไปเอง เจริญมหาสติปัฏฐาน ผู้ถาม หลวงพ่อขา ลูกเจริญพระกรรมฐานโดยใช้องค์มหาสติปัฏฐานเป็นหลักใหญ่ บางครั้งจิตก็วูบ บางครั้งก็สว่าง บางครั้งก็คล้าย ๆ จะหมดความรู้สึก มีอาการปฏิบัติไปถึงจุดนี้ทีไร ก็มีอันจะต้องเลิก เพราะใจหนึ่งก็อยากได้ อีกใจหนึ่งก็กลัวตาย ขอให้หลวงพ่อช่วยแนะนำวิธีแก้ไขอารมณ์นี้ เพื่อการเจริญปฏิบัติของลูกได้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป สู่มรรคผลนิพพานในชาติปัจจุบันนี้ด้วยเถิดเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ กลับไปอ่านใหม่ ผู้ถาม อ่านอะไรครับ? หลวงพ่อ มหาสติปัฏฐานสูตรแต่ละข้อ สอนถึงอรหันต์ทั้งหมดทุกข้อ ไม่จำเป็นต้องทำทั้งหมด ทำข้อใดข้อหนึ่งก็ถึงอรหันต์ อ่านให้จบตอนท้ายนะ “ไม่ยึดถือโน่นไม่ยึดถือนี่ ไม่ยึดถืออะไรทั้งหมด” เขาทำเพียงข้อเดียว ไอ้ที่ทำนั่นยึดสมถะมากกว่า วิปัสสนา สมถะ คืออารมณ์สมาธิให้ทรงตัว จิตทรงตัว วิปัสสนา คือหาความเป็นจริง กลับไปอ่านใหม่ อ่านไปใช้ปัญญาคิดตามด้วยนะ นิดเดียว ผู้ถาม เป็นอันว่าไปไม่ยาก หลวงพ่อ ไม่ยาก ผู้ถาม ไปไม่ยากก็แสดงว่าเคยทำ หลวงพ่อ ถูกแล้ว มหาสติปัฏฐาน ๔ สั้น ๆ ผู้ถาม หลวงพ่อขอรับ ผมไปพบมหาสติปัฏฐาน ๔ ในพระตรีปิฎก ท่านว่าไว้อย่างนี้ จะต้องปฏิบัตินานถึง ๗ ปี ถึงจะมีโอกาสได้มรรคผลนิพพานได้ กระผมไม่ชอบครับ นานเกินไป อยากจะมาขอพึ่งบารมีหลวงพ่อว่ามหาสติปัฏฐาน ๔ สั้น ๆ ไปนิพพานได้ง่ายของวัดท่าซุงน่ะ มีบ้างไหมครับ? หลวงพ่อ มี ๆ ๆ ก็ตัวอย่างใช่ไหม ที่พระพุทธเจ้าเทศน์ให้ ท่านพาหิยะ ฟังว่า “พาหิยะ...เธอจงอย่าสนใจในรูป” เท่านี้ ท่านเป็นพระอรหันต์ ผู้ถาม อ๋อ เท่านี้ สั้นที่สุดเลยนะครับ หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ เท่านี้เอง เป็นอรหันต์พร้อมปฏิสัมภิทาญาณ ผู้ถาม แล้วที่ลูกหลานทั้งหลายกำลังฟังกถาอันนี้ เดี๋ยวเกิดบรรลุทีเดียวพร้อมกันหมดทำยังไงครับ? หลวงพ่อ ก็ดีซิ ช่วยกันบิณฑบาต อย่าลืมนะ คนที่นั่งมีกี่คน ถ้ามีสักพันคน อย่าลืมว่าในประเทศไทยมี ตั้ง ๕๕ ล้านคน ทำสมาธิปวดหัว ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง กระผมเป็นโรคประสาทประหลาดนิดหนึ่ง คือว่าโดยปรกติแล้ว ร่างกายสมบูรณ์แบบทุกอย่างทุกประการ แต่เวลาจะนั่งสมาธิเป็นเวลา ๑๐ ปีมาแล้ว มีอาการดังต่อไปนี้คือ พอนั่งปุ๊บ พอจิตสบายจะมีความรู้สึกทางที่ศีรษะ แล้วเหมือนมีอะไรเลื่อนไป เลื่อนมาอยู่บนศีรษะรอบ ๆ แต่พอเลิกนั่งแล้ว หายเหมือนปลิดทิ้ง นั่งทีไรก็เป็นอย่างนี้เป็นประจำ จึงขอคำแนะนำจากหลวงพ่อว่า อาการเช่นนี้จะมีวิธีแก้ไขอย่างไร ประการใดหรือไม่ขอรับ? หลวงพ่อ แก้อิริยาบถดีกว่า ถ้านั่งไม่ดีแบบนั้นใช้นอน คือใช้ยืนหรือใช้เดินก็ได้ ถนัดนอนก็นอน ดีกว่า สบายกว่า ผู้ถาม กรรมฐานนอนได้หรือครับ...หลวงพ่อ? หลวงพ่อ นั่ง นอน ยืน เดิน มีผลเสมอกันจ้ะ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน อย่างฉันนี้นอนมา ๙๐ เปอร์เซ็นต์ ผู้ถาม นอนกรรมฐานหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่ สบายมาก เข้าทั้งตัวเลย ผู้ถาม อ้อ นี่รับสารภาพเลย หลวงพ่อ ทำไม โกหกทำไม พระ? อีตอนที่ฉันลาพุทธภูมินะ และพระท่านมาบอกว่า ถ้าคุณจะลาพุทธภูมิให้ลาได้ แต่ต้องมีเงื่อนไข ภายใน ๑๒ ปีนี่ตายไม่ได้ นักเรียนทุน ๑๒ ปีผ่านมาแล้ว ก็มาอีก ๑๐ ปียังไม่ตายไม่ได้ ผ่านไปแล้วตอนนี้กำหนด ฉันขี้เกียจกำหนด ถึงเวลาก็ไม่ตาย เตรียมตั้งท่าทุกทีก็ไม่ตายสักที ผู้ถาม อ้อ ได้ทุนถาวร หลวงพ่อ ได้ทุนถาวร ก็เป็นอันว่าตอนนั้นท่านบอกว่า เมื่อสัญญาตกลงนั้นน่ะ เราคิดว่ามีชีวิตช่วงนี้อยู่กี่ปีก็ช่างมัน ก็ดีกว่าเกิดอีก ๑ ชาติ มันมีทุกข์ไม่เท่ากับเกิดอีก ๑ ชาติ ใช่ไหม... ก็ตกลงกับท่าน เป็นอันว่าขอลาพุทธภูมิ ท่านก็อนุมัติพอท่านอนุมัติ ท่านก็สั่งว่านับตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป เวลา ๔ ทุ่มตรง ฉันจะมาสอนเธอ เวลา ๒-๓ ทุ่มครึ่งให้เลิกรับแขก ทีนี้พอถึงเวลา ๓ ทุ่มครึ่ง ฉันก็บอกแขก ตอนนั้นคุยกับแขกกลางคืนด้วยนะ ทีนี้มันเคยคุยถึง ๕ ทุ่ม ๖ ทุ่ม ใช่ไหม... ก็มีบางคนบอกว่า ยังไม่ถึงเวลาครับ ก็เลยบอกยังไม่ถึงเลวลาของแกก็ช่าง เวลาของฉันมันถึงแล้ว ฉันเข้าห้อง แกนั่งอยู่ยามก็แล้วกัน ฉันก็เข้าห้องฉันซิ เรื่องอะไรงานต้องเป็นงาน งานเรามีใช่ไหม พอเข้าไปในห้องก็เตรียมตัวบูชาพระ ล้างหน้าล้างตาบูชาพระพอ ๔ ทุ่มเป๋ง ท่านมาทันทีตามเวลาเลย เป๋ง...ถึงเลย ในห้องมีแสงสว่างคล้ายกับไฟหลายแสนแรงเทียน...สวยมาก มาถึงปั๊บแทนที่ท่านจะบอกนั่ง ท่านบอกเธอเหนื่อยมาตั้งแต่เช้า...เพลียนอนฟังและจงคิดตามฉันพูด ท่านสอนตั้งแต่ ๔ ทุ่ม ถึง ตี ๒ ถึง ๑ เดือน สอนวิชาอะไรรู้ไหม “ทุกข์” ทุกข์ตัวเดียว ฉันมีความรู้อริยสัจแค่ “ทุกข์” ตัวเดียวนะ ผู้ถาม หนึ่งเดือนหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่ ๑ เดือนเต็ม ค่อย ๆ พูดไปทีละข้อ ท่านพูดละเอียดมาก พูดช้า ๆ ให้คิดตาม พอถึงตี ๒ ก็กลับ อย่างนี้ทุกคืน ๑ เดือน เป็นอันว่านอนดี ถ้านอนภาวนาทุกขเวทนามันไม่เครียดใช่ไหม ถ้ามันจะหลับให้ปล่อยหลับไปเลย อย่าฝืนไว้เพราะจิตถ้าเริ่มเป็นสมาธิ กำลังใจจะรวมตัว พอถึงฌานปั๊บ จะตัดหลับ เมื่อหลับแล้วหลับกี่ชั่วโมง ก็ถือว่าทรงฌานอยู่เท่าเวลานั้น เวลาหลับเขาถือว่า “ทรงฌาน” อันนี้ได้กำไรมาก ถ้าจิตเริ่มเป็นสมาธิกำลังใจจะรวมตัวมาทีละน้อย พอสมาธิมั่นคงพอถึงฌานปั๊บ มันตัดหลับทันที ตัดหลับแบบนี้สังเกตเวลาตื่น ถ้าจิตทรงฌานก่อนหลับจริงเวลาตื่น พอรู้สึกครึ่งหลับครึ่งตื่น มันจะภาวนามาเลย ไม่ต้องบังคับ เขาภาวนาเลย ภาวนาด้วยกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออด้วย เวลานั้นจะเป็นไปตามนั้น ผู้ถาม ถ้าปุ๊บปั๊บตายขณะนั้น ก็... หลวงพ่อ ไปตามกำลังฌาน เขาถือว่าก่อนจะหลับอยู่ฌานไหน เวลาหลับก็ทรงฌานนั้น ถ้าหากว่าตายขณะหลับก็ไปตามกำลังของฌาน ถ้าเป็นฌานโลกีย์ธรรมดา ก็ไปเป็นพรหม แน่นอน ถ้าบังเอิญเวลาก่อนจะหลับ มันใช้วิปัสสนาญาณควบคิดว่าการเกิดเป็นมนุษย์มันเป็นทุกข์ เราไม่ต้องการมันอีก ร่างกายเต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก เป็นทุกข์อย่างนี้เราไม่ต้องการอีก คำว่า “ไม่ต้องการร่างกาย” นี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ ถ้าตายเวลานั้น จะไปนิพพานทันที ผู้ถาม อย่างนี้ไม่ต้องลงทุนอะไรเลยนะครับ? หลวงพ่อ ก็ต้องลงทุนนอนหน่อย (หัวเราะ) นั่ง นอน ยืน เดิน มีผลเสมอกัน ผู้ถาม ขอถามอีกนิดหนึ่งครับ ตอนที่สมเด็จท่านสอนทุกข์นี่ใช้ภาษาอินเดียหรือภาษาอะไรครับ? หลวงพ่อ ภาษาไทยชัดมาก เพราะมาก เสียงเพราะจริง ๆ เสียงกังวาล อย่าลืมว่าพระพุทธเจ้าคนภาษาไหน เวลาเทศน์จะเป็นภาษานั้นหมด เวลาฟัง ๑๐ ภาษาก็ต่างคนต่างรู้เป็นภาษาของตนเอง เป็นอัจฉริยะไง อัศจรรย์ยังไงล่ะ เทศนาปาฏิหาริย์ เทศน์เป็นปาฏิหาริย์ แต่ใครนั่งด้านไหนก็ตาม จะถือว่าพระพุทธเจ้าหันหน้าไปหาเสมอ ไม่มีคำว่า “หลัง” ไม่มีคำว่า “ข้าง” ดีไหม ผู้ถาม เสียดายนะ เกิดทันตอนนั้นป่านี้ก็ หลวงพ่อ ป่านนี้ก็ลงอเวจีไปแล้ว (หัวเราะ) นั่งสมาธิเวียนศีรษะ ผู้ถาม คือว่าไม่ทราบเป็นเพราะเหตุไร เวลานั่งสมาธิคราวใดจะมีความรู้สึกเวียนศีรษะ มีความคลื่นเหียนเป็นอย่างมาก แต่เมื่อลูกตรวจดูแล้ว ก็ปรากฏว่าในอดีตชิตเคยมีแมวกัดลูก เมื่อนั่งทีไรก็มีอาการอย่างนี้เกิดขึ้นทุกครั้ง จึงอยากจะกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า ก่อนนั่งควรจะทำอย่างไร... อาการอย่างนี้จึงจะไม่เกิดขึ้นอีกเจ่าคะ? หลวงพ่อ ลำบากเหมือนกันนะ เอาอย่างนี้ซิ ก่อนจะนั่ง อุทิศส่วนกุศลให้ ขอให้แมวอโหสิกรรมเสียก่อน แล้วก็ทำจิตให้เป็นสุข อย่าให้เครียดเกินไป กรรมฐานทำใจให้สบาย ๆ ถ้าเครียดเกินไป มันก็เวียนหัวเหมือนกัน อาจจะเครียดเกินไปละมั้ง จะตั้งใจเอาดีมากไปนะ ผู้ถาม อ๋อ ทำกรรมฐานนี่ ต้องใจสบาย ๆ หรือครับ? หลวงพ่อ ก็ มัชฌิมาปฏิปทา ไงล่ะ เธอทั้งหลายจงละส่วนสุด ๒ อย่าง คือ ๑.กามสุขัลลิกานุโยค คืออย่าอยากได้เกินไป ๒.อัตตกิลมถานุโยค เคร่งครัดเกินไป ถ้าส่วนสุด ๒ อย่าง อย่างหนึ่งอย่างใดมีกับเธอ เธอจะไม่บรรลุมรรคผล ขอทุกคนจงตั้งอยู่ใน มัชฌิมาปฏิปทา คือ “พอสบาย ๆ” ทำสมาธินิ่ง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพ คือเวลาที่ลูกนั่งปฏิบัติพระกรรมฐาน เวลาจิตสงบแล้วจะนิ่งไปเลย นิ่งไปชนิดที่เรียกว่า ไม่รับรู้ไม่รับทราบ มันนิ่งไปเฉย ๆ ข้างล่างก็ไม่ไป ข้างบนก็ไม่ไป ลูกก็เกรงว่าถ้าหากตายไปในลักษณะนิ่งไม่รู้สึกอย่างนี้จะไปในที่ไม่ดีไม่ชอบเป็นแน่ จึงกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า มีคำแนะนำอย่างไรต่อไปจากนิ่งเจ้าคะ? หลวงพ่อ มันนิ่ง ต่อไปก็นอน โธ่เอ๋ย เขาก็ต้องการกันแค่นิ่ง ไอ้นิ่งเป็นอารมณ์ของฌาน มันเป็นอุเบกขาใช่ไหมล่ะ ถ้าจิตเป็นอุเบกขาจัดว่าเป็นฌานสูง ต้องการกันแค่นั้น จะไปนิพพานหรือไม่ไปนิพพานอยู่ที่อารมณ์ต้น ก่อนที่เราจะภาวนาต้องพิจารณาใคร่ครวญก่อน ตัดสินใจว่าเราจะไปที่ไหนก่อน ถ้าตายแล้วจะไปไหน อย่างที่เคยบอกไว้นะ แล้วเราก็ภาวนา ถ้าจิตเป็นสมาธิถ้าตายเมื่อไร เราก็ไปตามที่เราต้องการเมื่อนั้น อารมณ์ดิ่ง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง หลวงพ่อ พูดถึงเรื่องอารมณ์ดิ่งในการทำสมาธินั้น หลวงพ่อบอกว่า เป็นอารมณ์ฌาน ทีนี้พอลูกมาทำบุญกับหลวงพ่อ พอเห็นหน้าหลวงพ่อปุ๊บ ก็มีอารมณ์ดิ่งอย่างนั้นปั๊บทันที อยากจะหลับตาทำสมาธิก็หลับไม่ได้ ทำไมจึงเป็นอย่างนั้นเจ้าคะ? หลวงพ่อ ความจริงไม่จำเป็นจะต้องนั่งหลับตาหรอก ถ้าดิ่งแบบนั้นก็มีสมาธิแบบนั้น ก็มีสมาธิ ๒ อย่าง สังฆานุสสติ กับ จาคานุสสติ นึกถึงพระเป็นสังฆานุสสติ อันนี้ดีมาก ผู้ถาม พูดถึงว่าถ้าจะให้ดียิ่งขึ้นไปกว่านี้ ตอนอารมณ์ดิ่งจะต้องทำอะไรเพิ่มเติมอีกเจ้าคะ? หลวงพ่อ โดดขึ้นหลังคา เอาขาไปแขวนกับต้นไม้ หัวห้อยลงมา ไม่ต้องหรอก เอาแค่นั้นพอนะถ้าเลยไปต้องทำแบบนั้น ภาวนาปนเป ผู้ถาม กราบเท้านมัสการหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ขณะนี้ลูกใช้คาถาเงินล้านของหลวงพ่อผสมปนเปกันไป จนกระทั่งไม่แน่ใจเสียแล้ว กล่าวคือคาถาก็ว่าเต็มบท อานาปาก็จัก พิจารณาขันธ์ ๕ ก็คิด นิพพานก็จะไป ทำไปทำมาเดี๋ยวนี้ชักขลุกขลักเสียแล้ว ก็เลยเริ่มต้นแบบเดิมอีก ก็อยากกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า อันนี้เป็นเพราะอารมณ์ของจิตของลูกฟุ้งซ่านไปหรือเปล่า และจะแก้ไขอย่างไรครับ? หลวงพ่อ ใช้เวลาซิ เวลาไหนจะใช้อะไร แต่ว่า อานาปานุสสติ ต้องใช้ประกอบเสมอไปนะ ทุกอย่างจะทำอะไรก็ตาม ต้องขึ้นต้นด้วยอานาปานุสสติ กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ว่าช้า ๆ สบาย ๆ อักขระชัดเจน ขณะภาวนามีอารมณ์ฟุ้งซ่าน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ปัจจุบันนี้การปฏิบัติธรรมของกระผมชักจะแย่ลงไปเลยเกิดปัญหาขึ้นมาว่า ในขณะที่กำลังภาวนา “นะมะ” เข้า “พะธะ” ออก ปรากฏใจของลูกแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งอยู่กับองค์ภาวนา ส่วนหนึ่งฟุ้งซ่านออกไปข้านอก ฟุ้งซ่านไร้สาระ อารมณ์แบบนี้เกิดขึ้น จึงทำให้ตัวเองต้องวิตกกังวลว่า หากตายในขณะที่จิตซีกหนึ่งฟุ้งซ่าน จะตกนรกเป็นอย่างแน่ ขอบารมีหลวงพ่อช่วยชี้แนะแก้ไขด้วยเถิดขอรับ หลวงพ่อ ไม่เป็นไร... แบ่งเป็นสองซีก ซีกที่ภาวนาอยู่เกิดเป็นนางฟ้าและพรหม อีกซีกหนึ่งเกิดในนรก เดี๋ยวก่อนที่เขาถามมานี่เป็นเรื่องธรรมดานะ ถ้ายังไม่ถึงอรหันต์เพียงใด ความฟุ้งซ่านย่อมมีกับคน แต่ให้ดูกำลังใจว่า เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ไหม เอาแค่นี้พอ ถ้าจิตยังมีความเคารพอยู่ถือว่าไม่เหลวงไหล เรื่องคิดออกนอกทางเป็นของธรรมดา ดูตัวอย่าง พระอัสสชิ พระอัสสชินี่เป็นพระอรหันต์รุ่นแรกรุ่น ๕ องค์ เวลาที่จะนิพพานเป็นโรคทางกระเพาะหนัก ปั่นป่วนมาก จิตใจก็ฟุ้งซ่าน ก็ให้พระไปนิมนต์พระพุทธเจ้ามา พอพระพุทธเจ้ามาก็กราบทูลว่า “บัดนี้ความดีของข้าพระพุทธเจ้าสบายตัวเสียแล้ว ความดีหมดไปเหลือแต่ความชั่ว ... จิตฟุ้งซ่าน พระพุทธเจ้าถามว่า “อัสสชิ เธอระงับกายสังขารไม่ได้หรือ” (คืออานาปา) ท่านบอก “ระงับไม่อยู่ครับ มันฟุ้งใหญ่ มันเสียด” พระพุทธเจ้าถามว่า “อัสสชิ เธอเห็นว่าร่างกายเป็นของเธอหรือ” ท่านบอก “ไม่ใช่ พระเจ้าข้า” ในเมื่อมีความรู้สึกอย่างนี้ พระพุทธเจ้าบอกว่า “ความดีของเธอไม่เสื่อม ยังทรงตัวอยู่” พระอรหันต์ก็ฟุ้งซ่านเหมือนกันเวลาป่วยหนัก และที่คิดว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรามันไม่มี คือไม่ต้องการโลกต่อไป ใช่ไหม สำหรับญาติโยมที่ถามเมื่อกี้นี้ ไม่เป็นไรนะ จิตยังเคารพพระอยู่...เป็นใช้ได้ เคยเป็นมิจฉาทิฏฐิ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง กระผมเคยเป็นมิจฉาทิฏฐิอยู่ครั้งหนึ่ง คือคิดว่าพระอรหันต์ที่เหาะได้ แสดงว่ากิเลสยังไม่หมด เพียงแค่ปรามาสเท่านี้เอง ปรากฏว่าภายหลังผมเจริญพระกรรมฐานแล้ว สมาธิไม่เคยผ่องใสเลย กระผมขอกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า กระผมต้องการนิพพานในชาตินี้ เมื่อเป็นอย่างนี้อยู่ จะมีทางแก้ไขอย่างไรหรือไม่ขอรับ? หลวงพ่อ ขอขมาโทษต่อพระพุทธเจ้า ปรามาสตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไป ขอขมาโทษเป็นส่วนตัวไม่หาย ต้องขอขมาโทษตรงต่อพระพุทธเจ้านะ ครวญเพลงทำสมาธิได้ดี ผู้ถาม เวลาปรกติแล้ว ลูกก็ปฏิบัติตามคำสั่งหลวงพ่อมาด้วยดีโดยตลอด แต่ที่จะออกนอกคอกอยู่สักนิด ก็คือว่า เวลาที่ลูกครวญเพลงเบา ๆ ทีไร อารมณ์จะเป็นสมาธิ เห็นอะไรต่ออะไร แบบชนิดที่ว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ แต่พอจับคำภาวนานั่งสมาธิกลับไม่เห็นอะไรเลย ในลักษณะอย่างนี้ จึงทำให้กระผมมีความอึดอัดเป็นอย่างมาก เกรงว่าครวญเพลงเกิดสมาธิ ตายแล้วตกนรก หลวงพ่อ อ้าว ๆ ที่นรกไม่มีเพลงนะ ถ้าพวกเพลงนี่ต้องไปอยู่ ดาวดึงส์ ทั้งรำทั้งเพลงเลย ความจริงการครวญเพลงของเขา จิตเป็นสมาธิขั้นอุปจารสมาธิ ครวญเพลงก็ดีหรือว่าสวดมนต์ก็ตาม หรือว่าฟังเทศน์ก็ตาม เวลานี้จิตอยู่ในขั้นอุปจารสมาธิ เวลานั้นอารมณ์เป็นทิพย์ เห็นอะไรได้ สำหรับคนนี้เวลานั่งทำสมาธิแน่นเกินไป เลยอุปจารสมาธิ ถ้าถอยกำลังใจตั้งอยู่อุปจารสมาธิจะเห็นชัดกว่ามาก ผู้ถาม ครับ...! การดูมหรสพ ผู้ถาม ลูกชอบดูละคร โขน หนัง เรียกว่าติดเอามาก ๆ เลย มีความลุ่มหลงเป็นอย่างมาก ลูกอยากจะเรียนถามว่า การดูมหรสพเพื่อเป็นแนวทางพระกรรมฐานนั้น เราควรจะดูแบบไหน และใช้ปัญญาแบบไรเจ้าคะ? หลวงพ่อ ใช้ปัญญาแบบ พระสารีบุตร พระโมคคัลลาน์ เอาอย่างนี้ซิ ถ้าดูแบบวิปัสสนาญาณ ก็เห็นว่าผู้แสดงนี้เป็นทุกข์ ไม่ทุกข์เขาไม่มาแสดง เขาต้องการสตางค์เพราะเขาไม่มีเงิน ต่อมาแสดงเมื่อมันเหนื่อยก็ทุกข์ คนแสดงก็ดี คนดูก็ดี ไม่ช้าก็ตายเหมือนกันหมด ทุกคนต่างคนต่างตาย พระสารีบุตร พระโมคคัลลาน์ คิดแบบนี้ ท่านบอกว่า คนที่แสดงมหรสพก็ตาม คนดูก็ตาม ทั้งหมดนี้มีอายุไม่ถึง ๑๐๐ ปีก็ตายหมด ไอ้เราก็ต้องก็ตาย ไอ้เราก็ต้องกตายเหมือนกัน ทีนี้ในโลกนี้มีของคู่กัน มีผู้หญิงก็ต้องมีผู้ชาย มีมืดก็ต้องมีสว่าง ฉะนั้น ธรรมที่ทำให้คนตายมีอยู่ ธรรมที่ทำให้คนไม่ตายก็ต้องมี เบื่อวัฏฏจักร ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา หนูไม่เคยปฏิบัติกรรมฐาน ไม่เคยฟังเทศน์เลย แต่มีความรู้สึกอย่างนี้เจ้าค่ะ คือเบื่อในวัฏฏะเจ้าค่ะ มันเกิดขึ้นเองโดยไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก่อน (เบื่อแบบนี้ไว้ใจได้หรือเปล่าก็ไม่รู้) ตอนนี้ลูกก็มีอายุแค่ ๓๔ ปี อยากจะอยู่สัก ๕๐-๖๐ ปี แล้วก็ตั้งใจจะไปไม่กลับเลย อารมณ์อย่างนี้ ลูกควรจะเพิ่มเติมอย่างไรอีกเจ้าคะ? หลวงพ่อ อารมณ์นี้ดี ... เป็นนิพพิทาญาณ ไม่เคยเจริญกรรมฐานเลยนะ ไม่แน่หรอก เพราะว่าชาตินี้ไม่ได้เจริญ แต่ชาติก่อนเจริญ ผลของบุญนี่นะ ถ้าสนองขึ้นมาเมื่อใด สังเกตในสมัยพระพุทธเจ้า คนไม่เคยเรียนอะไรเลย ฟังเทศน์จบเดียวเป็นอรหันต์พร้อมไปด้วยปฏิสัมภิทาญาณ นั่นแสดงว่าบุญเก่าเขาเต็ม รายนี้ก็เหมือนกัน จะถือว่าไม่เคยเจริญกรรมฐานไม่ได้ ชาตินี้ไม่ได้ทำแต่ชาติก่อนทำ บุญอันนั้นมาสนอง แต่ระวังให้ดีนะ มันเป็นฌานโลกีย์ มันเสื่อมได้ ต้องระมัดระวังให้มาก สมาธิเสื่อม ดูข้างล่าง ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกเชื่อคำแนะนำของหลวงพ่อทุกอย่าง แต่ว่าเรื่องสมาธินี่ ไม่ทราบว่าระยะนี้เป็นอย่างไร ชอบตกอยู่เรื่อย ๆ พยายามยกเอาจิตขึ้นสู่องค์ภวังค์ ขึ้นมาแป๊บเดียวมันก็หล่นลงไปอีก เบื่อเหลือเกินเจ้าค่ะ สมาธินึกขึ้นได้ว่าหลวงพ่อแก้ปัญหาเก่ง สามารถจะยกจิตขึ้นมาได้ ขอให้หลวงพ่อช่วยแนะนำอีกเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ ขอยืมบุ้งกี๋เหล็กเขามา เอาตักจิตยกขึ้นมา (หัวเราะ) เอาอย่างนี้ซิ เรื่องนี้เป็นของธรรมดา ทำไป ๆ ต่อไปเมื่อกำลังจะดีบ้าง กิเลสมาร ก็เข้ากวนใจ ทุกคนเป็นเหมือนกัน ก็เกิดมีอารมณ์เบื่อบ้าง มีอารมณ์มืดบ้าง พอดีร่างกายไม่ค่อยสบายก็มีอารมณ์มืด ทีนี้การภาวนามันมีสองอย่าง อารมณ์ทรงตัว กับ อารมณ์คิด ถ้าทรงตัวไม่ไหวก็ใช้อารมณ์คิด คิดว่ายังไง มันจะแก่ก็ช่างมัน มันจะตายก็ช่างมัน มันจะป่วยก็ช่างมันหวยจะกินก็ช่างมัน ฝึกไว้มันจะชิน คิดว่าทุกอย่างมันเป็นไปตามกฎของกรรม ขึ้นชื่อว่ากฎของกรรม ไม่มีใครหลีกเลี่ยงได้ พระพุทธเจ้าเองยังโดน เราก็เหมือนกัน ขอทำชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายตายแล้วเลิกกัน... ไปนิพพาน อารมณ์แทรกซ้อน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง เวลาลูกเริ่มไหว้พระสวดมนต์ อันดับแรกจะต้องหาวาจนน้ำตาไหลทั้ง ๆ ที่ไม่เคยง่วง อีกอย่างหนึ่งชอบมีอารมณ์แทรกซ้อน เวลาเจริญอานาปานุสสติกรรมฐาน คิดโน่นคิดนี่ เผลอ ๆ ก็เป็นฝ่ายอกุศลอารมณ์อย่างนี้จะมีวิธีแก้ไขอย่างไรหรือไม่ เพราะเป็นปรกติเลยขอรับ? หลวงพ่อ เป็นของธรรมดา ทุกคนเป็นเหมือนกัน เขาเรียกว่า นิวรณ์ นิวรณ์ตัวที่ ๒ กับนิวรณ์ตัวที่ ๔ นิวรณ์ตัวที่ ๒ คืออารมณ์โกรธไม่พอใจ นิวรณ์ตัวที่ ๔ คือ อารมณ์ฟุ้งซ่าน เราก็ถอยหลังเสียใหม่ พักสักประเดี๋ยวหนึ่ง ดูอะไรให้มันเพลิน ๆ พอเริ่มใหม่ปั๊บ จับลมหายใจเข้าออก เอาจิตจับเฉพาะลมหายใจเข้าออกให้มันทรงตัว ทีสองทีก็เป็นที่พอใจแล้ว ทำอารมณ์ก่อนผ่าตัด ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม หมอจะผ่าตัดลูกด้วยเหตุที่เป็นเนื้องอก ลูกไม่อยากผ่าตัดเลยเพราะกลัวตาย แต่ก็ไม่เชิงกลัว (เอ๊ะ ยังไง) คือลูกอยากจะถามหลวงพ่อเดี๋ยวนี้ว่า ก่อนที่เขาจะลงมือผ่าตัด ลูกควรจะทำอารมณ์พระกรรมฐานแบบไหน เวลาตายตอนนั้นจะได้ตายสบาย? หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ซิ พุทโธ นึกถึงพระพุทธเจ้าหรือพระพุทธรูปก็ได้ ไง ๆ ก็ยังไม่ตายวันนี้ เขายังไม่ถึงเวลาตาย ไอ้เวลาตายคือเวลาไม่หายใจ นี่ผ่าตัดอีกสัก ๓ ครั้งก็ยังไม่ตายคนนี้นะ แต่ว่า เขาต้องการอารมณ์กรรฐานนะ ... ดีแล้ว พุทโธ ก็แล้วกันสำคัญมาก ถ้าหากว่าได้มโนมยิทธิจับพระนิพพานเป็นอารมณ์พุ่งไปนิพพานเลย ไปนิพพานนี่ดีนะ คือว่าหมอไปทำฟันฉันทั้งหมดนี่ ๒๘ ครั้ง ขูดบ้าง เจาะบ้างอะไรบ้างนะ ฉันกลัวปวดกลัวเสียวฉันก็เปิดไปนิพพาน หมอต้องเรียกเวลาเลิก ผู้ถาม ทำไมครับ หลวงพ่อ? หลวงพ่อ ไม่รู้สึก เพลิน คราวหนึ่งเมื่อรู้สึกจะเสียว พอเริ่มเสียวนิด ฉันก็เปิดไปเลย หมอก็ทำไปตั้งแต่ ๒ โมงครึ่งเช้า ถึง ๕ โมง ๑๕ นาที หมอเรียกฉันรู้สึกตัว ถามหมอเสร็จแล้วหรือ หมอถามว่าเจ็บไหม พอแกถามว่าเจ็บไหม ทีนี้ไปเลย (หัวเราะ) ความจริงยังไม่เจ็บนะ ก็เลยคิดว่าน่ากลัวมันจะเจ็บจะเสียว ใช่ไหม... เขาถามว่าเจ็บไหม เสียวไหม หลวงพ่อ? ฉันก็ไม่พูด ไปเลย ผู้ถาม จะผ่าตัดหรือจะทำอะไร เราจู๊ดไปเลย นี่ หลวงพ่อ นึกถึงนิพพานไว้เป็นอารมณ์ ถ้าบังเอิญมันตายเวลานั้น ก็ไปนิพพานเลย ทำสมาธิชอบโกรธ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกทำสมาธิทีไร กิเลสตัวหนึ่งที่ลูกแก้ไม่ได้ คืออารมณ์โกรธ เวลาปรกติก่อนนั่งสบาย หัวเราะร่าเริง พอเข้านั่งสมาธิทีไร เดี๋ยวไอ้โน่น เดี๋ยวไอ้นี่มารบกวน โดยสถานที่นั้นก็เงียสนิท ทีนี้ก่อนจะนั่งจะตั้งจิตอธิษฐานว่าอย่างไร เวลาทำกรรมฐานจึงจะไม่มีอารมณ์โกรธเจ้าคะ? หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ซิ ไม่โกรธหนอ ๆ ๆ (หัวเราะ) ผู้ถาม หายไหมครับ หลวงพ่อ อาจจะไม่หาย ก็ทำใจสบาย คิดว่าเป็นเรื่องธรรมดาเสียงที่อื่นจะเข้ามาก็เป็นเรื่องของเขา เพราะเสียงนี้เราไม่ต้องการ สิ่งที่เราต้องการคือคำภาวนากับรู้ลบมหายใจเข้าออกเท่านี้ก็พอแล้ว ชอบถูกนินทา ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อเจ้าขา ลูกมีเวรมีกรรมอะไรก็แก้ไม่นาย ทำบุญสงเคราะห์อนุเคราะห์คนอื่นทีไร ทีแรกเขาก็ยกยอปอปั้นดี พอลับหลังก็นินทาแหลกเลย ในลักษณะอย่างนี้ทำให้ลูกมีอารมณ์ขุ่นหมอง จิตเศร้าหมองเป็นประจำ ขอกรรมฐานของหลวงพ่อช่วยแนะนำอารมณ์ประเภทนี้ด้วยเถิดเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ แก้อารมณ์เรอะ ฉันคิดว่าแก้อาการ ผู้ถาม อารมณ์กับอาการไม่เหมือนกันหรือครับ? หลวงพ่อ ไม่เหมือน... อาการคือถูกนินทา อารมณ์ก็ขุ่นมัวอาการอย่างนี้นะฉันเจอเป็นปรกติ พระเจ้าอยู่หัวท่านเคยตรัส สมัยก่อนเคยไปเฝ้าท่านนะ ท่านก็เล่าเรื่องคนนินทาท่านให้ทราบ ท่านเล่าหลายเรื่อง มาตอนหลังท่านบอกว่า เมื่อก่อนนี้เขาหาว่าผมฆ่าพี่ แต่เดี๋ยวนี้เขาหาว่าผมฆ่าพ่อตา เขาลือบอกว่า พ่อตาผมเป็นไข้ เอาเหล้ากรอกปากแล้วพาวิ่งตายไปเลย ก็เลยบอกว่า พระองค์แบบไหน อาตมาก็แบบนั้นแหละ ให้เขาเขาก็ด่า ไม่ให้เขาเขาก็ด่า แต่เราให้เป็นการตัดกิเลสของเราเป็นของธรรมดา ท่านถามหลวงพ่อคิดยังไงครับ เลยบอกว่าใช้คาถาบทหนึ่งว่า “ช่างมัน ๆ” และถามว่าพระองค์ล่ะ ผมคิดว่า “เรื่อย ๆ ครับ” คือว่าของอย่างนี้เป็นธรรมดา แต่ว่าเราทำดีก็แล้วกัน ผู้ถาม โอ นี่แสดงว่า พระทัยของพระองค์นี่ปลงตกเหมือนกันนะ หลวงพ่อ ท่านเก่งมาก เรื่องปลงนี่เก่งมาก สมาธิก็เก่งจัด การเข้าฌานออกฌานก็เก่งมาก และใช้กำลังใจได้ด้วยนะ ท่านเป็นอัจฉริยะทุกอย่าง ถ้าไม่คุยกับท่านจะไม่รู้เรื่อง เรื่องธรรมะนี้ละเอียดลออมาก ทั้ง ๆ ที่มีเวลาน้อยนะ แต่ว่าละเอียดลออมาก ช่วยเขาแต่ถูกด่า ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกเองก็ไม่รู้ว่าจะมีกรรมเก่ากรรมใหม่เป็นประการใด คือว่าลูกเป็นคนมีเมตตา ชอบช่วยเหลือเผื่อแผ่คนบ้านใกล้เรือนเคียง และคนเดือดร้อนทั่วไปเสมอ ติดใจอยู่นิดหนึ่งก็คือว่า ทุกคนที่ได้รับการช่วยเหลือไปแล้วนั้น เขาไม่เคยรู้บุญคุณของลูกเลย เขากลับมาเยาะเย้ย “เอ็งมันโง่ เสือกช่วยข้า” ลูกก็มานึกถึงหลวงพ่อว่าวิธีทำบุญให้เขานึกถึงบุญคุณของเรานี้ จะทำแบบไหนเจ้าคะ? หลวงพ่อ ความจริงโรคเดียวกับฉันนะ ก็ถูกด่ามาเรื่อย ๆ ผู้ถาม โอ หลวงพ่อเป็นเหมือนกันหรือครับ? หลวงพ่อ สมัยก่อนหนัก หนักมาก ในเมื่อเราเป็นโรคเดียวกันรักษาหายนะ ให้ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดา ทำบุญให้ถือว่าทำบุญ ถ้าทวงคุณอานิสงส์มันต่ำ เราถือว่าเราให้ไป เราสงเคราะห์เพื่อเป็นทานใช่ไหม ปล่อยไปเลย ถ้าเขาอกตัญญู ไม่รู้คุณมาสองเราแบบนั้น เขาลงนรกเป็นเรื่องเของเขา อย่าไปยุ่งกับเขา ผู้ถาม โอ ขนาดหลวงพ่อยังเป็นเลยนะ หลวงพ่อ พระพุทธเจ้ายังเป็น โดนเทวทัตล่อเห็นไหมล่ะ โกรธแล้วถึงมีสติ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกเป็นคนนิสัยไม่ดีนิดเดียว คือเป็นคนที่โกรธแล้วจะมีสติในภายหลัง ทีนี้ก็อยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า ควรจะทำอย่างไร จึงจะมีสติก่อนที่เราจะโกรธเจ้าคะ? หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ซิ พอลุกมาตอนเข้าก็ตะโกน “สติโว้ย...มาพร้อมกันโว้ย” “สติโวย...มาบริบูรณ์โว้ย” “สติโว้ย...มาทั้งหมดโว้ย” ร้องอย่างนี้ทุกวันเลย สติไม่ไปไหนนะ หัดเจริญ อานาปานุสสติ ซิ ชอบอาฆาตพยาบาทผู้อื่น ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกมีกิเลสที่เลวร้ายอยู่หนึ่งตัว กล่าวคือ ความเคียดแค้นอาฆาต พยาบาทจองเวรกับผู้อื่นทั้ง ๆ ที่เมตตาก็แผ่แล้ว เทปหลวงพ่อก็ฟังแล้ว หนังสือหลวงพ่อก็อ่านแล้ว สมาธิก็ทำแล้ว แต่ปรากฏว่าแก้ไม่ตก วันนี้อยากจะขอทีเด็ดจากหลวงพ่อว่า จะมีทางแก้ไขอย่างไร เพราะเกรงว่าอาฆาตเคียดแค้น ตายแล้วจะลงนรกเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ ทีเด็ดก็คือว่า ไปหาถ้ำไกล ๆ จะได้ไม่โกรธคนอื่น ถ้าอย่างนี้เขาดีแล้วนี่ เขารู้ว่ามันไม่ดี แสดงว่าคนนี้เริ่มดีมากแล้ว ใช้อารมณ์เดิมก็แล้วกันนะ ค่อย ๆ ลดไปนะ อย่างนี้ดีมากแล้ว ไม่ใช่ไม่ดีนะ เขารู้ว่าเลวแสดงว่าดีขึ้นนะ ที่พระพุทธเจ้าทรงบอกว่า “บุคคลรู้ตัวว่าเป็นพาล ท่านบอกว่าบุคคลนั้นคือบัณฑิต” ทีนี้คนที่เขาคิดว่าอารมณ์นี้มันเลว แต่ความจริงที่รู้ว่าเลวน่ะ ต้องเป็นคนดีแล้ว ถ้าไม่ดีไม่รู้ว่าเลว และประการที่ ๒ ถ้ารู้ว่าเลวแล้ว ไม่กล้าเปิดเผย ยังลงอยู่นี่เขาเปิดเผยตัวเองก็ต้องถือว่าดีมาก ค่อย ๆ ทำก็แล้วกันจะหายไปเอง ชอบทะเลาะกัน ผู้ถาม กราบเท้าพระเดชพระคุณหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกมีเรื่องจะขอคำแนะนำจากหลวงพ่อ คือว่าที่บ้าน ของลูกครอบครัวไม่รู้เป็นยังไง ทะเลาะวิวาทเสียดด่า มีอันจะต้องเดือดร้อนกันอยู่เสมอ หลวงพ่อ ดี ๆ ๆ ๆ ผู้ถาม อะไรครับ หลวงพ่อ แกด่ากันทะเลาะกัน หลวงพ่อ ออกกำลังกาย ใช้ปัญญาบารมี (หัวเราะ) เอ๊ะ ด่าแบบไหนจะดีนะ ใช้ปัญญาเรื่อย ๆ นี่ล่ะ โลกธรรม ผู้ถาม เขาบอกว่า แม่ก็ศาสนาหนึ่ง ลูกก็ศาสนาหนึ่ง คือในบ้านมีทั้ง ๓ ศาสนา มีพุทธ มีคริสต์ มีอิสลาม แต่ที่ร้ายที่สุดก็คือว่า ศาสนาอิส...นะ ชอบรังแกพุท และชอบว่าพระพุทธรูป ดิฉันก็โกรธก็บอก “นี่ของใครของมันซิวะ” หลวงพ่อ เออ...เขาถูกต้องนะ ผู้ถาม วะ...นี่ถูกต้องหรือครับ? หลวงพ่อ ถูกต้อง วะ...นี่แปลว่าหนักแน่นนะ ผู้ถาม ก็เลยเป็นอันเถียงกันไปเถียงกันมาแบบนี้ ที่จะกราบเรียนถามโดยสรุปก็คือว่า ลูกควรจะทำอารมณ์จิตแบบไหน ที่สามรถจะต้านอารมณ์ที่มายั่วเย้า หรือยุแหย่ ทำให้ลูกเดือดร้อนได้เจ้าคะ? หลวงพ่อ ถือว่าเป็นกฎธรรมดาของชาวโลก ชาวโลกถ้าเกิดมาแล้วต้องถูกนินทา วันนี้แนะนำว่า นัตถิ โลเก อนินทโต คนที่ไม่ถูกนินทาเลยไม่มีในโลก นี่พระพุทธเจ้าพระพุทธรูปแท้นะ ท่านเป็นอิฐเป็นปูน พูดไม่ได้ยังถูกนินทาเลย ได้เราล่ะ ผู้ถาม อย่างนั้นก็ให้มันนินทาให้มันด่าต่อไป หลวงพ่อ ถ้านินทาด่าจริง ๆ ถ้าเก่งจริงนะ เขาต้องไม่เลิก ๒๔ ชั่วโมง ไม่กินข้าวไม่กินปลา ด่าเรื่อย...นินทาเรื่อย ผู้ถาม แม้แต่จะปวดท้องขี้ปวดท้องเยี่ยว หลวงพ่อ ไม่เลิก ไม่ไปขี้ด้วย ผู้ถาม ไหวหรือครับ...หลวงพ่อ? หลวงพ่อ ก็นั่นซิ เดี๋ยวแพ้เราเองแหละ เราเฉยไว้ก็หมดเรื่องกันนะ ผู้ถาม ใช้ตำราหลวงพ่อ หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ช่างมัน ๆ ๆ ทุกข์เรื่องสามี ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา สามีของลูกไม่ค่อยอยู่กับร่องกับรอยอีเหละเขะขะ แบบสิบแปดมงกุฎ มีเพื่อนเขาแนะนำว่าให้ไปหาหมอแขก เขาสามารถจะทำผู้จิตผูกใจให้แน่นปึกเลยเจ้าค่ะ ลูกเกรงว่าถ้าทำไปแล้วจะเกิดบาปเกิดโทษ ลูกคิดไปอย่างนั้น คือลูกเกรงว่ามโนมยิทธิของลูกจะเสื่อมหาย ฉะนั้นลูกมาพึ่งบารมทีหลวงพ่อดีกว่า วิธีที่จะยึดจิตของผัวโดยธรรม วิธีนั้นขอหลวงพ่อช่วยแนะนำสักครั้งเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ มีอย่างเดียว ยิ้มตลอดเวลา นี่ชนะจริง ๆ นะ มาเวลาไหนก็ยิ้ม มาดึกมาดื่นก็ยิ้ม ยิ้มไว้เถอะ ไมข้าเลิก ผู้ถาม อย่างนี้ไม่ต้องว่าคาถาอะไรเลยหรือครับ? หลวงพ่อ คาถาว่าให้มันเหนื่อย ถ้าหากว่าเราว่าคาถา ด่าเขา เขาไม่เข้ามาหรอก เห็นไหมล่ะนี่จริง ๆ นะ ได้ผลนะ จะมาดึกมาดื่นแล้วก็ตามใจ เห็นหน้าก็ยิ้มไปเถอะ พยายามยิ้มไว้ไม่ช้าเกรงใจ ถ้ายิ้มไว้เรื่อย ๆ ไม่หิ้ว เลิกหิ้ว เขามีตัวอย่างอยู่แล้ว เมื่อก่อนฉันเคยแนะนำวิธีนี้สมัยอยู่กรุงเทพฯ หลายคนนะ โดยมากพวกภรรยาจะไปเล่าให้ฟัง ใช่ไหม ว่าผัวกินเหล้าเมายาและก็เจ้าชู้ บอก “คุณกลับไปตั้งใจยิ้มอย่างเดียว...อย่าบ่น จะไปเวลาไหนก็เตรียมตัวไว้ได้เลย” ถ้าเป็นนักเที่ยว ก่อนกลับมาจากทำงาน เราซักเสื้อรีดผ้าเสร็จ บอกเสี้อผ้ารีดให้แล้ว ไม่ช้าไม่กี่วัน...คุณ ไม่เกิน ๑๕ วันชักปลดจังหวะช้าลง...ไปน้อย ประมาณเดือนเศษ ๆ อยู่นั่นไม่ยาว... ไม่ยาก ผู้ถาม ขนาดหลวงพ่ออยู่วัดยังรู้วิธีปราบ หลวงพ่อ (หัวเราะ) ไม่ใช่อะไร ไอ้ทีแรกจริง ๆ นะ ฉันใช้วิธีนี้ วิธียิ้มนะ แต่ว่าต้องเอาแป้งมาให้กระป๋องหนึ่ง สตางค์ ๖ บาท ธูป ๕ ดอก เทียน ๑ เล่ม จะเสกให้ แต่ว่าจะเสกนี่ต้องเสก ๓ เดือน ให้ระหว่างที่ก่อนจะเสกนี่ ต้องยิ้มไว้เสมอ ๆ นะ ความจริงไม่เสกวางไง้เฉย ๆ (หัวเราะ) พอถึง ๓ เดือนแกก็มาเอาใช่ไหม สตางค์ก็คืนไปบอกว่า สตางค์นี่ไปซื้อของใส่บาตรบูชาครูก็ไปใช้ไม่กี่วันบอกกลับมาชนะแล้ว เพราะอะไร แกเลิกหยุดก่อน ๓ เดือน ใช่ไหม ผู้ถาม โอ...ยังไม่ทันจะใช้แป้งเลยได้ผล หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ที่แรกจะไม่ทำวิธีแบบนั้น เลยเกรงแกจะไม่เชื่อ ต้องทำหน่อย ต่อมา สมเด็จพุฒาจารย์ วัดอนงค์ ท่านเรียกไปถาม เห็นเล่ากันว่า แกมีคาถาเสน่ห์หรือ (หัวเราะ) บอกครับ ผมไม่มีคาถา แต่มีวิธีเสน่ห์ ถามว่าทำไง ก็เลยเล่าให้ฟังหัวเราะกิ๊ก ๆ บอก เออ... เข้าใจหากินโว้ย ทำต่อไป... ได้ผลนะ ชอบทะเลาะกับสามี ผู้ถาม ขอเรียนรบกวนหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกได้นับถือสักการบูชาหลวงพ่อมาเป็นเวลานานแล้ว แต่ว่าอะไร ๆ ก็ดี หมด เสียอยู่อย่างเดียวเจ้าค่ะ ที่แก้ไม่ตก คือว่าสามีกับดิฉันนี่ ชอบทะเลาะกันเป็นประจำ ทั้ง ๆ ที่ต่างคนต่างก็อายุย่างเข้า ๗๐ กว่าแล้ว หลวงพ่อ โอ้ย... ดีมาก ๆ ออกกำลังกาย ผู้ถาม การทะเลาะเบาะแว้งนี่ หลวงพ่อ ออกกำลังกายใช้กำลังสมองด้วย ใช้ความคิดปราดเปรื่อง สรรหาวาจามาด่ากัน ผู้ถาม ทั้ง ๆ ที่ต่างฝ่ายต่างก็ อายุ ๗๐ ปีกว่าแล้ว แกหึงฉันเหลือเกินเจ้าค่ะ ขนาดมาทำบุญแกยังให้คนมาเป็นเพื่อน ลูกก็เลยคิดว่าชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย ไม่อยากแต่งกับมันอีกต่อไปแล้ว ขอให้หลวงพ่อช่วยลูกไปนิพพานเร็ว ๆ เถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ เออ... “อัตตา หิ อัตตโน นาโถ” ตนแลย่อมเป็นที่พึ่งของตน จะไปได้หรือไม่ได้ต้องตนทำเอง พระพุทธเจ้าบอกว่า “อักขาตาโร ตถาคตา” ตถาคตเป็นแต่เพียงผู้บอก ไม่ใช่นำไป บอกแล้วปฏิบัติตาม ของง่าย ๆ รักพระนิพพาน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกรักพระนิพพานมาก ก่อนนอนชอบภาวนา “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” แต่ทำสมาธิไม่ดีเลย อย่างนี้ลูกจะไปนิพพานได้ไหมคะ? หลวงพ่อ คำว่า “สมาธิ” นี่มันจำเป็น แต่คนถามไม่รู้จักสมาธิ ไอ้ตัวนึกถึงนิพพานมันเป็นสมาธิอยู่แล้ว “สมาธิ” เขาแปลว่า “ตามนึกถึง” ถ้านึกถึงนิพพานเขาเรียก อุปสมานุสสติกรรมฐาน ทีนี้ถ้าการนึกถึงนิพพานอย่างเดียว เรารักนิพพานภาวนาว่า “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” บ้าง “นิพพานะ สุขัง” บ้าง “นิพพานัง” บ้าง แต่ว่าก็ต้องดูอารมณ์ใจฝึกไว้อีกส่วนหนึ่ง คนที่จะไปนิพพานได้ต้องไม่ห่วงร่างกาย อันนี้ต้องฝึกไว้ด้วยนะ ต้องฝึกไว้ว่า ขึ้นชื่อว่าร่างกายมันเป็นทุกข์ สภาพของความทุกข์ที่เรามีความทุกข์เกิดขึ้นทุกอย่าง 1. ความหิว ถ้าเราไม่มีร่างกายมันก็ไม่หิว มันหิวเพราะมีร่างกาย 2. หนาวเกินไป ร้อนเกินไป ก็เพราะร่างกาย 3. ป่วยไข้ไม่สบาย เพราะร่างกาย 4. ต้องมีงานหนัก ก็เพราะร่างกาย 5. การพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ก็เพราะมีร่างกาย 6. ความตายมาถึง เพราะร่างกาย ก็ใช้ปัญญาทบทวนไปว่า คนระดับชั้นไหนบ้าง ที่มีร่างกาย ไม่ทุกข์ ถ้าเราจะเกิดอีกกี่ชาติ ถ้าเรามีร่างกายอย่างนี้ มันก็ทุกข์อย่างนี้ แล้วขึ้นชื่อว่าร่างกายมีขันธ์ ๕ แบบนี้ เราจะไม่มีกับมันอีกเราต้องการจุดเดียวคือนิพพาน ทำใจแน่นอนแล้วภาวนาว่า “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” ก็ได้ “นิพพานัง” ก็ได้ ต้องคิดอย่างนี้ก่อนแล้วภาวนาคิดแล้วก็ภาวนาต่อไปอย่างนี้ใช้ได้ ถ้าเป็นอย่างนี้เวลาใกล้จะตายจริง ๆ อารมณ์จิตที่เราพิจารณามันจะรวามตัว มันจะมีความรู้สึกเบื่อหน่ายในร่างกาย และวางเฉยในร่างกาย จะมีความรู้สึกว่า การตายมีความสุขกว่านี้ ก็ไปนิพพาน ผู้ถาม แล้วภาวนาอย่างนี้ละค่ะ มีอยู่คืนหนึ่งพิจารณาความไม่เที่ยง เลยฝันว่ามีคนจะมาเอาลูกไป ลูกหนีแทบแย่ ตื่นแล้วยังมีความรู้สึกว่า เหมือนมีตนจะมาเอาเราไปจริง ๆ ทำไม ภาวนาแล้วเกิดเป็นอย่างนี้เจ้าคะ? หลวงพ่อ นี่แสดงว่ายังไปนิพพานไม่ได้แหง ๆ เพียงแค่เขาลอง เขาทดสอบหน่อยเดียว คนจะไปนิพพานคนเขาต้องทดสอบ เทวดาเขาต้องทดสอบว่า เรามีความมั่นคงพอไหมจะเอาไปหมายจะให้ตาย ความจริงบุคคลที่จะเข้าถึงนิพพาน เขามีความรู้สึกว่า ถ้าร่างกายตายเมื่อไร เขามีความสุข เขาไม่ได้ห่วงร่างกายนะ มันต่างกันเยอะ พิจารณาเกิดดับ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกชื่อ พรรัตน์ โชคจิตสัมพันธ์ อยู่ประเทศออสเตรเลีย หลวงพ่อเจ้าขาลูกอยู่ไกลมาก แต่ก็มีโอกาสได้อ่านหนังสือ ธัมมวิโมกข์เป็นประจำ ก็มีความสงสัยอยากจะใคร่เรียนถามข้ามทวีปมาดังต่อไปนี้ ข้อที่ ๑.การพิจารณาการเดดับนั้น เขาพิจารณากันแบบไหน ขอหลวงพ่อได้โปรดแนะนำด้วยเถิดเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ เอ๊ะ นี่พูดไปเขาจะได้ยินหรือเปล่า นี่ฉันตอบไปนี้เขาคงไม่ได้ยินละมั้ง พิจารณาเกิดดับเหรอ พิจารณาแบบไหนดีล่ะ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน เราเกิดมาแล้วมันเหลือแต่เวลาดับ ให้ดูคนอื่นดูสัตว์อื่นว่า เขาเกิดมาแล้วในที่สุดเขาก็ตาย เราก็มีสภาพเช่นเดียวกัน เมื่อเกิดมาแล้ว ไมช้าก็ตายเหมือนกันดูแค่นี้ก็แล้วกัน ไปดูตามตำราดูไม่เห็นหรอก ต้องดูแบบนี้นะเวลาปฏิบัติจริง เขาดูกันแบบนี้ ไม่ใช่ตามตำรา ผู้ถาม ข้อที่ ๒.วิธีพิจารณาร่างกายให้เห็นว่า เป็นที่น่ารังเกียจปฏิกูลนั้น จะองใช้ปัญญาและอารมณ์แบบไหนเจ้าคะ? หลวงพ่อ ไม่ต้องใช้มาก สักเกตข้าว อาหารที่กิน เลือกแล้วเลือกอีกใช่ไหม.. พอเป็นกากไหลออกมาดูไม่ได้แล้วเป็นขี้ นี่อยู่ในร่างกาย ฉะนั้น ของในร่างกายทั้งหมด มันเต็มไปด้วยของสกปรก ไม่ใช่ของดี อย่างเลือดที่เราต้องการให้มีเลือดมาก ๆ ใช่ไหม แต่ว่าพอเลือดไหลออกมาแล้ว เราก็รังเกียจเลือดใช่ไหม แล้วก็สำหรับในปากน้ำลายมีอยู่เราอมได้ พอบ้วนมาเราแตะต้องไม่ได้ แสดงว่าข้างในร่างกายไม่มีอะไรดี มีแต่สกปรกอย่างเดียวเท่นั้นไม่ยาก ผู้ถาม อ๋อ แค่นี้เอง แต่ฝรั่งนี่แปลกจริง ๆ มันดูด กันได้นะ ไม่ปฏิกูล น่าเกลียด หลวงพ่อ คนไทยเขาก็มีดุดนะ หนังสือพิมพ์ลงบ่อย ๆ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกมีความถนัดและพิจารณาอาหาเรปฏิกูลสัญญาเป็นประจำ ก่อนทานอาหารทุกครั้งต้องพิจารณาเสียก่อน แล้วจึงค่อยรับประทาน ตอนพิจารณาก็เห็นเป็นซากสกปรก เลอะเทอะสะอิดสะเอียนมาก พาลทำให้กินไม่ได้ผ่ายผอมลงทุกวัน ๆ จึง ใคร่ถามหลวงพ่อว่า วิธีพิจารณาฉบับของหลวงพ่อ บริโภคได้โดยไม่สะอิดสะเอียนนั้นหลวงพ่อพิจารณาแบบไหนเจ้าคะ? หลวงพ่อ พิจารณาเป็นอาหาเรปฏิกูลสัญญาแล้วนะ ต่อไปฉันก็ภาวนา “กินหนอ ๆ” มันเลอะเทอะ กูก็กินมึง กูจะกินเสียอย่าง คือการพิจารณาเป็นอาหาเรปฏิกูลสัญญา คือของทุกอย่างเกิดจากของสกปรก มีไก่สกปรก อาหารของสัตว์ก็สกปรก ร่างกายของสัตว์ก็สกปรก แต่ว่าสิ่งสกปรกทั้งหลายเหล่านั้น ร่างกายของเราก็สกปรก เมื่อของสกปรกกับสกปรกอยู่ด้วยกันก็ช่างมันปะไรถืออุเบกขา กินดะเลย คือว่าอย่าเห็นเฉพาะเวลานั้นซิ เวลานั้นเขาพิจารณาให้เห็น ให้เกิดเป็นนิพพิทาญาณ นิพพิทาญาณ หมายถึงความเบื่อหน่าย เห็นร่างกายสกปรก หลังจากนั้นต้องใช้พิจารณาแบบนั้น ต้องใช้ สังขารุเปกขาญาณ เข้าควบคุม อารมณ์ใจวางเฉย มันสกปรกแล้วก็ไม่เป็นไร เราเกิดมาแล้ว ก็ต้องพบกับความสกปรก ต่อไปชิตหน้าความสกปรกจะไม่มีกับเราอีก เราตายเราจะไปนิพพานคิดอย่างนั้น พิจารณาร่างกายเป็นปฏิกูล ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา เวลาหลวงพ่อเทศนาที่ซอยสายลมเกี่ยวกับเรื่องวิปัสสนา พิจารณาร่างกายเต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเกลียด ปฏิกูลเยอะแยะ เห็นตามภาพชัดเลยน่าเบื่อหน่ายจริง ๆ เจ้าค่ะ แต่อีตอนกลับไปถึงบ้านพบพ่อของลูกทีไรอารมณ์วิปัสสนากรรมฐานหายไปหมดทุกที จนกระทั่งพบหลวงพ่อใหม่ หรือฟังเทป อารมณ์นั้นจึงฟื้นคืนขึ้นมา ลูกอยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า วิธีที่จะทรงอารมณ์วิปัสสนา พิจารณาร่างกายให้ตลอดรอดฝั่งนี้ ลูกควรจะทำอย่างไรเจ้าทะ? หลวงพ่อ ความจริงเขาก็ทำถูกแล้วนะ อย่าไปทำใหม่ เวลาว่างจากพอไอ้หนูก็พิจารณา เจอะพ่อไอ้หนูก็มีเตตาบารมี เมตตา กรุณา สงสาร อันนี้ความจริงทำถูกไม่ใช่ไม่ถูก เพราะอารมณ์เรายังไม่ถึงอนาคามีใช่ไหม... เพียงแค่พิจารณาร่างกายชั่วเวลาว่างเดี๋ยวเดียว จุดนี้จะเป็นจุดสำคัญตอนก่อนที่เราจะตาย เพราะก่อนที่เราจะตายปั๊บ อาศัยอารมณ์จิตที่เคยคิดถึงนพพานใช่ไหม... ถือว่าร่างกายไม่ดี มันป่วยขนาดนั้น จะคิดว่าร่างกายนี่มันไม่ดี มองไปเห็นร่างกายโสโครก ถ้ามีความรู้สึกแค่โสโครก มันจะเกิดนิพพิทาญาณความเบื่อหน่าย ตอนนั้นเป็นอนาคามี ถ้ามีความคิดว่า เราไม่ต้องการร่างกายนี้อีก จะเป็นอรหันต์ เป็นสังขารุเปกขาญาณ ไม่ยากนี่สำคัญมาก ตัวอย่างบุคคลมีความรู้สึกนิดหน่อย ก็ได้แก่ พระจุลปันถก เรื่องย่อ ๆ เป็นอย่างนี้ พระจุลปันถกพระพุทธเจ้าบอกว่า ในสมัยดึกดำบรรพ์ ท่านเคยเป็นพระมหากษัตริย์ วันหนึ่งออกเลียพระนคร เลียพระนครมันก็ร้อนใช่ไหม... ปรากฏว่าเหงื่อไหล ท่านก็นำผ้าเช็ดหน้าที่มีสีขาวมาเช็ดเหงื่อ ผ้าก็สกปรกก็มองดูคิดว่า ร่างกายมันสกปรกขนาดนี้เชียวหรือ แล้วเขาคิดเท่านั้นไม่ได้คิดอีกนะ ต่อมาอีกหลายชาติ มาพบองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถ คือพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าทรงส่งผ้าขาวให้ คลึงไปคลึงมาเป็นอรหันต์เลย และอันนี้มันเป็นเรื่องใหญ่มาก แม้จะใช้ได้เวลาเล็กน้อยอย่าคิดว่ามันเบานะ หนักมาก อานิสงส์หนักมาก และก็เป็นเชื้อสายให้บรรลุมรรคผลด้วยเหตุอันนี้ นี่เขาทำถูกแล้ว ผู้ถาม อย่างนี้ก็ต้องรักษาอารมณ์จิตต่อไป หลวงพ่อ ถูกแล้ว...ใช่ ๆ กลับไปบ้านก็มีเมตตา มีกรุณา สองอย่างอย่าทิ้ง ไม่ได้... ทิ้งแตกกัน อยากตัดกามารมณ์ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยู่ตลิ่งชัน ลูกเป็นวัยสะรุ่นอายุ ๑๗ ปี ที่เดือดร้อนอยู่ก็คือว่า ไอ้เรื่องอารมณ์ทางเพศ ลูกพยายามเอาอสุภกรรมฐาน กับกายคตานุสสติของหลวงพ่อ ไปตัดเพื่อให้มันเด็ดขาด แต่มันก็ได้ชั่วครั้งชั่วคราว พอไปเจอหนุ่มเจอพวกเข้ามันก็คึกอีก ก็ไม่ทราบว่าจะทำยังไง ลูกกลุ้มใจเหลือเกิน ขอบารมีหลวงพ่อช่วยตัดกามารมณ์ ของลูกสักครั้งเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ (หัวเราะ) โอ้ นี่ยุ่งแล้ว จะลุกไม่ค่อยจะไหวเลย เอาอย่างนี้ซิ เพื่อความสะดวก...แต่งงานเสียเลยนะ ผู้ถาม อย่างนี้คลายเครียดแน่นะ หลวงพ่อ (หัวเราะ) ใช่ ๆ ๆ ก็คลายเครียด ก็เจริญกรรมฐานต่อไป อย่าง นางวิสาขา ไงล่ะ นางวิสาขาท่านเป็นพระโสดาบันตั้งแต่อายุ ๗ ปี อายุ ๑๖ ปีก็มาแต่งงาน ไอ้หนูนี่เกินไปปีหนึ่งแล้ว ผู้ถาม แล้วยังมีลูกมีเต้าเป็นระนาว หลวงพ่อ แค่ ๒๐ คน ผู้ถาม โอ้โฮ นี่เป็นพระโสดาบัน เขายังคลายเครียดได้ หลวงพ่อ (หัวเราะ) ใช่ ๆ ๆ เรื่องอย่างนี้มันตัดกันไม่ออก ต้องเป็นพระอนาคามี ถ้ายังไม่ถึงอนาคามี คือพระโสดาบัน กับสกิทาคามีนี่ ยังต้องแต่งงานอยู่ เวลาเครียดขึ้นมาก เราก็คลายเครียดเสีย จิตก็เป็นฌาน (หัวเราะ) จิตเป็นฌานง่าย ใช่ไหม ผู้ถาม ถ้าจะให้ตัดจริง ๆ ถ้าจะไม่แต่งาน ก็ต้องเป็นอะไร พระอนาคามี? หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ค่อย ๆ เป็นนะ ปลงขันธ์ ๕ ตอน (จุด ๆ ๆ) ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกพิจารณาธรรมะเป็นส่วนใหญ่ มองเห็นชีวิตเน่าเปื่อย น่าเบื่อหน่ายมีแต่ความทุกข์ ไม่ช้าก็ต้องตาย เหมือนท่อนไม้อันไร้ค่า อารมณ์อย่างนี้จะปรากฏประหลาด คือจะปรากฏเฉพาะเวลา ๓ ทุ่ม คือเป็นเวลาที่ (จุด ๆ ๆ) เมื่อเป็นเช่นนี้ หลวงพ่อ (หัวเราะ) เดี๋ยว ๆ ๆ จุดอะไร ผู้ถาม ผมรู้แล้ว...หลวงพ่อคงไม่รู้ซิอยู่วัด (หัวเราะ) หลวงพ่อ ฉันไม่รู้จุดอะไรกัน (หัวเราะ) เขาปลงขันธ์ ๕ ได้ดีนะ ผู้ถาม นี่เขาสารภาพดีนะ หลวงพ่อ ตรงไปตรงมา ดีมาก...เป็นสัจจธรรม ผู้ถาม จนกระทั่งบางครั้งสามีโมโหถึงดับด่า อีระยำ ตอนอื่นไม่ไปปลง เสือมาปลงตอนจุด ๆ ๆ เดี๋ยวนี้ลูกสบายใจได้แล้ว เวลาที่ปัญหาเกิดขึ้น (จุด ๆ ๆ) ลูกก็เรียกหลวงพ่อช่วยทุกครั้ง หลวงพ่อ (หัวเราะ) ผู้ถาม ปู้โธ่ถัง ปลงสังขารไม่ดูเวล่ำเวลา ไม่ดูอย่างยกทรงเป็นตัวอย่าง หลวงพ่อ ใช้ได้...เวลานั้นจิตใจเป็นเอกัคคตารมณ์ เป็นอารมณ์เดียว เป็นฌาน ขอบารมีได้ง่าย ผู้ถาม เอ๊ะ ตอนขอบารมีหลวงพ่อ หลวงพ่อเป็นพระสงฆ์จะไปจุด ๆ ๆ ไม่ได้นะ ไม่ถูกเรื่องถูกราวเหมือนกัน หลวงพ่อ ไม่ใช่ ไม่เป็นพยานเขา (หัวเราะ) นี่หัวเราะเจ็บท้องเลย วิธีฝึกใจให้เข้มแข็ง ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ไม่รู้ว่าเป็นเวรกรรมอะไร เกิดมาในชาตินี้รู้สึกว่า ไม่มีความเข้มแข็งในดวงจิตเลย ใช้คาถาก็ไม่แข็ง มาทำบุญกับหลวงพ่อก็ไม่เข้ม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็อยากจะขอคำแนะนำจากหลวงพ่อว่า วิธีฝึกให้จิตใจเข้มแข็งเพื่อพระนิพพานชานินี้ ลูกควรจะฝึกด้วยวิธีไหน? หลวงพ่อ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ใช้เบ้าหลอมเหล็ก คนเหลวแล้วก็กินต่อไปใจจะแข็ง ร่างกายก็แข็ง กินเหล็กได้ เข้มแข็งไงล่ะ เนื้อเหล็กกินไม่ไหวนะ กินขี้เหล็กก่อน...(หัวเราะ) เอาอย่างนี้ซิค่อย ๆ นะ ค่อย ๆ คิด ใช้เวลาน้อย ๆ เราทำอารมณ์ทำสมาธิใช่ไหม ใช้เวลานิดหน่อย ๑-๑๐ เราก็เลิก แค่นี้พอใช้ได้ ไม่ช้าก็ชิน นิสัยไม่ดี ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าลูกมีนิสัยไม่ดีอยู่อย่างหนึ่ง คือว่าต้นดีกลางกับปลายคด หลวงพ่อ ดีมาก ผู้ถาม ดีอีกแล้ว ปัญหาทุกอย่างมาหาหลวงพ่อนี่ หลวงพ่อ ดีหมด...อย่างเทวทัตไง ต้นดีปลายคด ผู้ถาม นี่เขาเรียก “ดีหมด” นะครับ หรือว่า “หมดดี” หลวงพ่อ หมดดี ผู้ถาม เขาว่ามาอย่างนี้ คือเวลาฟังหลวงพ่อเทศน์ใหม่ ๆ มันปีติ เอาจริงเอาจัง ปฏิบัติคร่ำเคร่งนั่งหูดับตับไหม้เลย แต่พอหลวงพ่อกลับไปแล้วซิคะ จิตมันเลวระยำคิดจะทำโน่น คำความชั่วต่าง ๆ นานา อารมณ์อย่างนี้ ลูกแก้ไม่ตกเลยเจ้าค่ะ ขอบารมีหลวงพ่อโปรดช่วยความสว่างกระจ่างใจสักครั้งเถิดเจ้าค่ะ หลวงพ่อ ก็ดีแล้วนี่ ผู้ถาม ดีอีกแล้ว ผิด...เลว...ก็ดี หลวงพ่อ อ้าว...ทำไม่เล่า ก็เวลาฟังเทศน์จิตเขาดี ทำไมจำว่า เขาไม่ดีล่ะ ผู้ถาม นี่เขากล่าวหมายถึง ตอนที่หลวงพ่อกลับไปแล้วจิตไม่ดีครับ หลวงพ่อ ก็ช่างมัน...เราก็มาดีใหม่ แต่เวลาจะตายความดีอาจเข้าถึงตัวได้นะ ถ้ามันจะตายธรรมดาของคนมันเป็นอย่างนั้นแหละ จะให้ดีทุกวันเป็นไปไม่ได้หรอก ต้องดีบ้างชั่วบ้าง ทำความดีคราวละน้อย ๆ ทำบ่อย ๆ ก็เต็ม เหมือนน้ำฝนตกทีละหยาด ๆ สามารถทำให้ภาชนะเต็มได้ใช่ไหม... อย่างนี้ที่หลวงพ่อมามีปีติ ไอ้ปีติเป็นตัวสำคัญมาก เป็นมหากุศล และจงอย่าลืมว่าเวลาจะตายนะมันจะช่วย ปีตินี่จะช่วย เมื่อปีติช่วยเข้าสนองใจปั๊บเห็นภาพพระทันที นี่ตายแบบนี้ลงนรกไม่ได้ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน แก้ตัวใหม่ ก่อนจะหลับภาวนา “พุทโธ” ๓ ครั้งตื่นขั้นก่อนจะลุกขึ้นภาวนา “พุทโธ” ๓ ครั้ง แค่นี้พอแล้วเอาแค่ฉันเมื่อเป็นเด็ก ฉันเมื่อเป็นเด็กแม่บังคับแค่นี้ ก่อนจะหลับ หัวถึงหมอนปั๊บภาวนาพุทโธ ต้องว่าดัง ๆ นะ ให้ท่านได้ยิน พอตื่นขึ้นปั๊บ “พุทโธ...พุทโธ...พุทโธ” แล้วก็ไป เราก็ว่าตามประสาเด็ก ที่ว่าเมื่อกี้หลวงพ่อกลับไปแล้วชั่ว ความจริงเขายังไม่ชั่วหรอกบางวันเขาก็ภาวนา บางวันเขาก็ไหว้พระ ยังไม่ชั่ว ยังนึกถึงหลวงพ่อยู่ ถ้าทางที่ดีนะ ควรจะรับหนี้จากหลวงพ่อไปเสียบ้าง จะได้นึกถึงหลวงพ่อทุกวัน ๆ ใช่ไหม (หัวเราะ) ผู้ถาม เรียกว่าถ้ารับหนี้จากหลวงพ่อไปได้ไอ้เรื่องอะไร ๆ หลวงพ่อ ก็นึกถึงหลวงพ่อทุกวันไง...เป็นสังฆานุสสติ ตายแล้วไปสวรรค์ทันที ผู้ถาม อ๋อ การนึกถึงว่าจะช่วยใช้หนี้หลวงพ่อ เป็นสังฆานุสสติ หลวงพ่อ ใช่ เป็นการช่วยสงฆ์ นึกถึงพระสงฆ์ไงเล่า สังฆานุสสติ แปลว่า นึกถึงพระสงฆ์ ผู้ถาม นี่ถ้าเกิดนึกอะไรไม่ได้ จับนึกถึงกล้องยานัตถุ์หลวงพ่อ เป่าปู้ด ๆ ๆ เห็นกล้องยานัตถุ์ นึกถึงกล้องยานัตถุ์อย่านี้ ตายแล้วไปไหนครับ? หลวงพ่อ ตายแล้วไปเกิดเป็นกล้อง (หัวเราะ) อันนี้ก็เป็นสังฆานุสสติเหมือนกัน เพราะกล้องยานัตถุ์ของหลวงพ่อ อย่าลืมว่าลงคำหลวงพ่อ หลวงพ่อเป็นพระสงฆ์ใช่ไหม? ผู้ถาม เรียกว่าอะไรแล้วแต่ เกี่ยวกับหลวงพ่อนี่เป็น หลวงพ่อ เกี่ยวกับหลวงพ่อ หรือพระองค์ใดองค์หนึ่งก็ตาม...เหมือนกัน เป็นสังฆานุสสติเหมือนกัน ถ้าเกี่ยวกับพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งเป็นพุทธานุสสติ เกี่ยวกับการสวดมนต์หรือฟังเทศน์เป็นธัมมานุสสติ ผู้ถาม นั่งสมาธินิดหน่อย ๆ ก็เป็นธัมมานุสสติ หลวงพ่อ อย่าลืม นิดหน่อยนี่ มีความสำคัญมาก มันสะสมตัวเอง ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า แม้ทำบุญคราวละเล็กคราวละน้อย แต่ทำบ่อย ๆ มันก็สามารถทำบารมีให้เต็มได้เหมือนน้ำฝนที่ตกทีละหยาด ๆ สามารถทำภาชนะให้เต็มได้ เห็นไหมด...ได้นี่เวลาหลวงพ่อมาปีติดีมาก ก็ไหลไปบ้างไหลมาบ้าง ไม่ได้เสียทุกวัน ฉันรู้นะที่พูดมาน่ะโกหก เขาไม่เสียทั้งวันหรอก เขาเสียบ้างไม่เสียบ้างเท่านั้นเอง เฉพาะเวลาบางเวลา ผู้ถาม โอ๊ะ! หลวงพ่อรู้เสียด้วย เป็นอันว่าก็เป็นคนดีคนหนึ่ง หลวงพ่อ ฉันขอแช่งคนนี้ไว้ ตายแล้วห้ามเกิดเป็นมนุษย์ ไปสวรรค์ เป็นเทวดา เป็นนางฟ้าไป ท้อแท้ทำความดี ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะทำความเพียรเพื่อทำความดี แต่บางครั้งก็มีอารมณ์ท้อแท้จะทำอย่างไรดีคะ? หลวงพ่อ ถ้าท้อแท้ต่อความเพียรก็แสดงว่าขี้เกียจ คนที่มีความเพียรคือคนขยัน ความเพียร เพียรต่อสู้กับความชั่ว เพื่อหวังให้มีผลในความดี เป็นเรื่องธรรมดาของคน ไอ้การต่อสู้ความขยันหมั่นเพียร มันจะมีทุกเวลาไม่ได้นะ ในบางครั้งกรรมที่เป็นอกุศลเดิม มันเข้ามาครอบงำจิต เวลานั้นจะตัดความดีของเราให้รู้สึกท้อแท้ไม่กล้าต่อสู้...เบื่อ! พอกุศลเข้ามาสนองปั๊บ กุศลเตะไอ้นั่นออกไปนี่ขยันแล้วสร้างความดี ต้องเป็นอย่างนั้นเหมือนกันทุกคน หนักเข้าๆ กุศลมีกำลังแรงก็เตะได้นั่นกระเด็นออกไป พอถึงพระโสดาบันปั๊บ อกุศลยังเข้ามาได้ แต่เข้าก็เข้าแรงไม่ได้ ถ้าถึงพระโสดาบันอกุศลเข้าแรงไม่ได้ มันจะสร้างความขุ่นมัวบ้าง แต่จะถึงทำบาปไม่ได้ คำว่า “ขุ่นมัว” อาจจะต้องโกรธ ใช่ไหม...พระโสดาบันยังมีโกรธ พระโสดาบันยังมีความรักในระหว่างเพศ พระโสดาบันยังมีความอยากร่ำรวย แต่เรื่องละเมิดศีลไม่มี แต่มีอารมณ์ที่แจ่มใสจริง ๆ คือพระอรหันต์ ถ้ายังไม่ถึงพระอรหันต์เพียงใด ก็ยังเตะกันใหม่ แต่ว่า เตะเบา ๆ พระอรหันต์ไม่โกรธ ผู้ถาม หลวงพ่อได้พูดไว้ว่า พระอรหันต์มีอารมณ์โกรธ แต่ดับอารมณ์ได้ฉับพลัน หลวงพ่อ ฉันสงสัย...ฉันเขียนผิดหรือคนอ่านจำผิด อารมณ์โกรธ ไม่มีตั้งแต่อนาคามี แต่ท่าทางแสดงความโกรธน่ะมีอยู่ ไม่ใช่อารมณ์โกรธ ที่แสดงแบบนั้นกลัวคนนั้นจะเสีย ก็แสดงท่าว่าโกรธ อย่างที่พระพุทธเจ้าลงโทษพระสงฆ์ มีคำสั่งลงโทษนั่นไม่ใช่โกรธนะ...หวังดี นี่จำผิดแล้ว ถ้าอารมณ์โกรธมีและดับได้เร็วเป็นพระสกิทาคามี อนาคามีนี่เขาไม่มีแล้ว แต่ถ้าความโกรธเกิดขึ้นจะดับไม่ยาก ซื้อรถดับเพลิงไว้ พอเริ่มโกรธปั๊บ...สตาร์ทพรืด นำพ่นพรวด หกคะเมนเกนเก้ หายไปเอง นั่นไม่ใช่อรหันต์นะ ฉันคงไม่เขียนผิดละมั้ง ต้องกลับไปอ่านใหม่ แต่ว่าแสดงความโกรธนั้นมีอยู่ เพราะว่าจ่ะลงโทษ คือไม่ลงโทษก็ยับยั้ง ไม่ยังงั้นคนนั้นจะเสีย อย่างพระพุทธเจ้าลงโทษพระต่าง ๆ อย่าง พระฉันนะ ก็เหมือนกัน หนักมาก ที่สั่งให้พระสงฆ์ลงพรหมทัณฑ์พระฉันนะ อันนี้เรื่องใหญ่มาเชียว ไม่ใช่พระพุทธเจ้าโกรธ แต่ต้องการให้พระฉันนะดี แต่ในเมื่อพระสงฆ์ลงพรหมทัณฑ์ท่านก็เสียใจ คิดว่าตอนพระพุทธเจ้าอยู่ใคร ๆ ก็คุยด้วย พระพุทธเจ้านิพพานแล้ว จะไปหาใครก็ไม่มีใครคุยด้วย พระอรหันต์ก็เยอะ เพราะพระพุทธเจ้าสั่ง เพราะการรู้ตัวตอนนี้ เป็นเหตุให้พระฉันนะเป็นพระอรหันต์ เขาทำเพื่อประโยชน์ ไอ้คนถูกลงโทษใหม่ ๆ อาจจะนึกว่าเราไม่น่าถูกลงโทษเลย ไอ้คนที่ทำความผิด ไม่รู้ตัวว่าผิดเป็นเรื่องธรรมดา กรรมฐานกองสุดท้าย ผู้ถาม อ่านหนังสือธัมมวิโมกข์ เกี่ยวกับเรื่องการปฏิบัติพระกรรมฐานบ้าง แนะการปฏิบัติของหลวงพ่อบ้าง มีอยู่ตอนหนึ่งที่หลวงพ่อชอบพูดอยู่บ่อย ๆ เสมอว่า ถ้ายังไง ๆ ฉันก็ไม่ทิ้งกรรมฐานกองสุดท้าย ฉันชอบกรรมฐานกองสุดท้ายเป็นอย่างมาก อยากเรียนถามว่า กรรมฐานกองสุดท้ายที่หลวงพ่อใช้หลวงพ่อนึกเป็นแรจำวัน คืออะไรเจ้าคะ? หลวงพ่อ กองสุดท้าย คือ สังขารุเปกขาญาณ เป็นกองสุดท้ายในพระพุทธศาสนา บรรลุอรหันต์ในที่นั่งเดียว ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกได้อ่านหนังสือ ธัมมวิโมกข์ฉบับหนึ่งบอกว่า นักปฏิบัติที่ปฏิบัติถึงได้ พระโสดาบันแล้ว ไม่ต้องลุกขึ้น ให้ตีตั๋วรวดเป็นพระอรหันต์ไปในที่นั่งนั้นได้เลย ลูกอยากให้หลวงพ่ออธิบาย พร้อมทั้งแสดงวิธีปฏิบัติเรื่องนี้ พอเป็นไตเติ้ลให้ลูกดูหน่อยเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ มีไตเติ้ลด้วยนะ ไอ้ไตเติ้ลมันแปลว่ายังไง ไตไม่ดีหรือไง...(หัวเราะ) เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน ที่พูดอย่างนั้นละนะ พูดตามวิสุทธิมรรค ท่านพระพุทธโฆษาจารย์ ท่านรจนาวิสุทธิมรรคเป็นพระอรหันต์ องค์นั้นนะท่านเจจียนไว้ว่า ถ้าบุคคลผู้ใดเจริญพระกรรมฐานในที่นั่งใดได้พระโสดาบัน ไม่ต้องลุกจากที่ทำให้ถึงพระอรหัต์เลย และวิธีปฏิบัติจริง ๆ เขาปฏิบัติกันตามนี้นะ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เขาไม่มุ่งสกิทา อนาคา เขาตีตั๋วเข้าอรหันต์ไปเลย วิธีการตีตั๋วอรหันต์เป็นอย่างนี้พอถึงพระโสดาบันเสร็จให้จับ อวิชชา ตัวสุดท้าย พิจารณาตามความเป็นจริงว่า มนุษยโลกทั้งโลกมันเต็มไปด้วยความทุกข์ เทวโลกกับพรหมโลก มันมีความสุขจริงแต่สุขไม่นาน ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีก็กลับมาเกิดใหม่ มีทุกข์ใหม่ งั้นเราไม่ต้องการในที่นี้ เราต้องการจุดเดียวคือนิพพาน เท่านั้นแหละ และอารมณ์ก็จะทรงฌาน อารมณ์ทรงฌานก็จะตัดกิเลสเอง เวลาปฏิบัติจริง เขาทำแบบนั้นกันนะ ถ้าตามแบบเขาต้องว่ากัน พระโสดา สกิทา อนาคา อรหันต์ นี่ตามแบบ ถ้าเราไม่พูดแบบนั้นเขาก็หาว่า “นอกแบบ”อีก เวลาปฏิบัติก็ต้องว่าอีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฆราวาสเป็นอรหันต์ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ที่ว่าฆราวาสสำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว อยู่นานไม่ได้ต้องนิพพานไป ในกรณีที่สามีสำเร็จอรหันต์แล้ว สามารถจะบอกภรรยาได้หรือไม่ว่า น้องจ๋า...พี่สำเร็จแล้ว หลวงพ่อ คงจะบอกได้นะ ผู้ถาม แล้วถ้าภรรยาจะบอกว่า เมื่อพี่เข้านิพพานแล้ว ขอได้โปรดสงเคราะห์ให้น้องร่ำรวย อย่างนี้จะขัดกับพระนิพพานหรือเปล่าคะ? หลวงพ่อ เจ้าของจดหมายกับฉันคิดผิดกัน ฉันคิดว่าถ้าไปนิพพาน ขอฉันมีสามีใหม่ได้ไหมคะ...(หัวเราะ) ผู้ถาม เออ...ดีเหมือนกันนะ หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ซิ พระอรหันต์ท่านยอมรับกฎของกรรมมันจะรวยหรือไม่รวยอยู่ที่กฎของกรรม ถ้าชาติก่อนทำทานไว้ดี กฎของกรรมแห่งทาน ก็บันดาลให้เราร่ำรวย แต่ทานก็เป็นเขต การให้ทานแก่สัตว์หรือทานกับบุคคลอื่นทานกับบุคคลเป็นคนมีศีลหรือไม่มีศีล ทรงฌานสมาบัติไหม เป็นพระอริยเจ้าไหม แต่ทานที่ดีที่สุดคือ สังฆทาน เป็นต้นเหตุ เป็นต้นทาน ของหมาเศรษฐีตรง ผู้ถาม ฉะนั้น จักรพรรดิก็ไม่ได้เป็น จักรเพชรก็ไม่ได้เป็น หลวงพ่อ ได้...ก็ไปรวมอยู่ที่นิพพานไงล่ะ ทรัพย์สินต่างต่าง ๆ ก็ไปรวมที่พระนิพพานหมด ที่นิพพานจะเห็นว่า พื้นแผ่นดินก็เป็นเพชร กำแพงบ้านก็เป็นเพชร บ้านทั้งหลายก็เป็นเพชร เครื่องใช้ทั้งหมดก็เป็นเพชร ตัวเองก็เป็นเพชรแถมส้วมถ้ามีก็เป็นเพชร พระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะขอวิธีบำเพ็ญบารมี ที่เวลาบรรลุอรหันต์แล้ว จะได้ปฏิสัมภิทาญาณได้ด้วยนั้น เราจะต้องทำบุญประเภทไหนและอธิษฐานแบบไร เพื่อเวลาสำเร็จแล้ว จะได้ปฏิสัมภิทาญาณพร้อม ๆ ไปเลยเจ้าคะ? หลวงพ่อ ฉันยังไม่ได้เลย สำคัญปฏิสัมภิทาญาณนี่ ฉันยังไม่ได้เลย แล้วจะสอนใครได้ ผู้ถาม อ๋อ ต้องได้ก่อนถึงจะสอนได้ หลวงพ่อ ใช่ซิ รออีก ๓๐ปีจะบอกให้...มันต้องอาศัยบารมีเก่า ไม่ใช่ไปเรียนใหม่ คือเก่าเขาเคยได้สมาบัติ ๘ มาแล้ว เคยได้อภิญญามาแล้ว อาศัยบุญของสมาบัติ ๘ นี่ได้ปฏิสัมภิทาญาณ ไม่ใช่มาสร้างกันส่งเดช ผู้ถาม ต้องบุญเก่าตามมา หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ผู้ถาม งั้นก็แสดงว่า มโนมยิทธิที่ฝึกอยู่ทุกวันนี้ ที่ได้กัน ปุ๊บปั๊บ...ตาทิพย์ แสดงว่าบุญเก่าเขา หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ทดสอบได้เลย ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ อภิญญา ๖ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกอ่านธัมมวิโมกข์ เมื่อเดือนกรกฎาคม หน้า ๕๔ ว่าด้วยปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ อภิญญา ๖ จึงสงสัยว่า คนที่จะบรรลุ ๓ อย่าง อย่างที่หลวงพ่อว่านั้น สมมุติทำบุญในชาตินี้ล้วน ๆ แล้วอธิษฐานว่า เจ้าประคุณ ถ้าฉันเป็นอรหันต์เมื่อไหร่ ขอให้ได้ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ อภิญญา ๖ อธิษฐานอย่างนี้ จะมีทางสำเร็จในชาติปัจจุบันได้หรือไม่เจ้าคะ? หลวงพ่อ สำเร็จ... แต่ไม่ใช่สำเร็จอรหันต์หรอก สำเร็จอธิษฐาน จะไปทำทำไม ฉันให้ฝึกมโนมยิทธินี่ดีแล้ว ชอบยากๆ ผู้ถาม ความจริงแค่ขึ้นไปนิพพานได้นี่ ก็ หลวงพ่อ เหลือแหล่...ถึงจุดหมายปลายทางแล้ว อยากได้ ปฏิสัมภิทาญาณ อยากได้ไปทำไม ไม่มีความหมายเลย แค่นิพพาน...อะไร ๆ ก็แค่นิพพาน ผู้ถาม เรียกว่าสบายที่สุดก็คือ...นิพพาน หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ไม่น่าจะมีคนฉลาดแบบนี้เลย อยากได้อภิญญา ผู้ถาม กราบเท้านมัสการหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกอยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า การที่เราฝึกมโนมยิทธิแล้ว โดยใช้ภาพพระพุทธรูปแก้วใสของหลวงพ่อจับเป็นกสิณ กับใช้ภาพองค์สมเด็จพระชินราช จะได้ผลเหมือนกันหรือไม่ เพราะผมตั้งใจแล้วว่าต่อไปอนาคต ผมจะเอาอภิญญา ๖ ให้ได้ขอรับ หลวงพ่อ เอาแน่หรือ..เอาแน่นะ? ผู้ถาม อ้อ...มโนมยิทธินี่ ถ้าพูดถึงว่าจับพระพุทธรูปใส หลวงพ่อ ได้ทั้งสองอย่าง ... อะไรก็ได้ อภิญญานี่ต้องได้กสิณทั้ง ๑๐ นะ อย่าทำเตาะแตะส่งเดชไป กสิณทั้ง ๑๐นี่ต้องคล่องทั้งหมด แล้วก็เดินหน้าถอยหลังได้ เข้าฌานสลับฌานได้ยากแล้วนะ เอาอย่างนี้ซิ ถ้าฝึกต้องการอภิญญา ๖ ฝึกไปนิพพานง่ายกว่าเยอะ ดีกว่าเยอะ ไม่ได้เกิดประโยชน์ ผู้ถาม ความจริงมโนมยิทธิก็เหลือกินเหลือใช้แล้ว หลวงพ่อ ก็แค่นั้นแหละ ได้อภิญญา ๖ ก็แค่นั้นแหละ ไปได้เท่ากัน ผู้ถาม แต่ฆราวาสได้แค่ ๕ หรือ ๖ ก็ได้ครับ หลวงพ่อ ถ้า ๖ ต้องเป็นพระอริยเจ้านะ อันที่ ๖ อาสวักขยญาณ ไงล่ะ ความจริงเอาแค่เป็นพระอริยะดีกว่า อภิญญาเฉย ๆ จะทำอะไรกัน ได้มโนมยิทธิก็ถมเถไปแล้ว เจริญอรูปฌาน ผู้ถาม หลวงพ่อขอรับ ผมสงสัยว่า ผู้ที่เจริญอรูปฌาน หรืออรูปพรหมนั้นน่ะ ถ้าจะต่อวิปัสสนาญาณ หวังมรรคผลพระนิพพานในชาตินี้ จะเปลี่ยนแปลงหรือจะต่อย่างไร ขอหลวงพ่อโปรดแนะนำด้วยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ ได้หรือยัง...ทำได้หรือยัง? ผู้ถาม เอ้า...คนเขียนทำได้หรือยัง แล้วเป็นไงครับ อรูปฌาน ผมยังไม่รู้เรื่องเท่าไหร่? หลวงพ่อ อากาสานัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เวสัญญานาสัญญายตนะ วิญญาณัญจายตนะ คนที่ถามนี่ยังทำไม่ได้หรอก ถ้าได้แล้วเขาไม่ถามแบบนี้ เพราะปัญญามันเกิดแล้ว ถ้าต้องการนิพพาน ๗ วันเท่านั้นแหละ ต้องการอรหันต์นะ เจริญวิปัสสนาญาณใช้อรูปฌานเป็นพื้นฐานนะ ไม่เกิน ๗ วัน เป็นพระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณ ผู้ถาม ฌานก็ดีเหมือนกันนะซิ ได้ฌานก็ดีเหมือนกัน หลวงพ่อ อ้าว...ก็ต้องถือฌานเป็นพื้นฐาน จะเป็นอรหันต์ เป็นโสดา สกิทาคา เหมือนกัน ต้องมีฌานเป็นพื้นฐานไม่มีฌานเป็นพื้นฐานไม่ได้ ผู้ถาม บางองค์เขาบอกว่า สมถะไต้องใช้ ใช้วิปัสสนาล้วน รวดเดียวไปนิพพานได้ง่าย เพราะสมถะก็ใช้ไม่ได้ หลวงพ่อ มันจะรู้เรื่องเมื่อไหร่ ไอ้คนสอนนะ ผู้ถาม โง่เหมือนยกทรงนะ หลวงพ่อ โง่กว่ายกทรงเยอะ มันแยกกันไม่ได้ ศีล สมาธิ ปัญญา สมถะคือ สมาธิ ถ้าไม่มีสมาธิวิปัสสนาญาณ มันมียังไง ปัญญามียังไง สมถะคือสมาธินั่นเอง ก็ต้องทำพร้อมกัน ผู้ถาม สงสัยท่านตัวเบ้อเร่อ มาขาดสมาธิตัวเดียว หลวงพ่อ ไม่รู้...ไอ้หมอนั่นไม่รู้แน่ ผู้ถาม ครับ ๆ ๆ ก็คงเป็นพระอรหันต์รุ่นใหม่ หลวงพ่อ รุ่นโน้นซิ..รุ่นเทวทัต ขอขมาโทษหลวงพ่อ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ก่อนอื่นผมขอกล่าวคำสวัสดีต่อหลวงพ่อด้วย ที่เคยล่วงเกินหลวงพ่อ มาเป็นเวลาช้านานแล้ว เพราะปฏิเสธเรื่องนิพพานที่หลวงพ่อสอนผมเป็นลูกศิษย์ พระอภิธรรม มันว่าง...มันสูญ เดี๋ยวนี้ผมรู้แล้ว่า ไม่ว่าง...ไม่สูญ ตามที่อาจารย์มันว่า (อ้าว...สงสัยจะล้างแค้นเลยเออ...ฉุนอาจารย์เก่า) หลวงพ่อ ด่าทั้งสองฝ่าย ผู้ถาม นั่นซิ....วันนี้ที่จดหมายมา ไม่มีอะไรหรอกครับ คือจะมากราบขอขมาลาโทษ ดอกไม้ธูปเทียนไม่มีมาผมเอาสตางค์ใส่ตู้แทนแล้วนะครับ หลวงพ่อ เดี๋ยว ๆ สีอะไร? ผู้ถาม อ้อ...ต้องดูสี การขอขมานี่ ต้องมีสีหรือครับ? หลวงพ่อ ต้องมีสี (หัวเราะ) ไม่รู้เขาด่าสีไหนนี่ ผู้ถาม นี่จำไม่ได้ก็ต้องใช้สี...สีม่วง หลวงพ่อ นิพพานต้องสีม่วง....(หัวเราะ) ผู้ถาม แล้วโดยสรุปก็คือว่า ขอหลวงพ่อได้โปรดอโหสิกรรมให้ลูกด้วย ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ลูกจะขอปฏิบัติตามแนวมโนมยิทธิทุกประการขอรับ หลวงพ่อ ไม่เป็นไร ไม่เคยถือโทษโกรธใคร ผู้ถาม เอ๊ะ ปรกติหลวพ่อไม่เคยทำอะไรใครเลยหรือครับ? หลวงพ่อ เคย ผู้ถาม อ้าว...เดี๋ยว ๆ ๆ เมื่อกี้บอกว่าไม่เคย อันนี้บอกว่าเคยอีกแล้ว หลวงพ่อ เมื่อกี้บอกไม่เคยถือโทษโกรธใคร ทำอะไรนี่เคยทำ ถ้าความจริงฉันโกรธคนนั้นโทษน้อย ถ้าฉันไม่โกรธคนนั้นโทษมาก ถ้าฉันโกรธ เขาด่าฉันมาใช่ไหม ฉันด่าเขาด้วย ขึ้นสถานีเสียเงินสองฝ่าย ผู้ถาม อ๋อ...หมายถึงค่าปรับโรงพักงั้นหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ทีนี้ถ้าเราไปด่าคนที่เราไม่ควรจะด่า อย่างพระอริยเจ้านี่ ท่านไม่ด่าตอบ...เราซวย แล้วก็ซวยกันมาเยอะแล้ว ผู้ถาม ยังงี้ก็แสดงว่าเขาด่าเรา เราด่าตอบ อย่างนี้ไม่ดีนะ หลวงพ่อ ไม่ดี ผู้ถาม ก็เป็นอันว่าสบายใจได้อย่างหนึ่งว่า หลวงพ่อไม่เคยถือโทษใครเลยนะ หลวงพ่อ ไม่แน่...เมื่อก่อนเอา เมื่อก่อนโน้นเอา ผู้ถาม เคยโกรธเหมือนกันหรือครับ หลวงพ่อ? หลวงพ่อ เคย... ตอนเป็นหลวงพ่อไม่โกรธหรอก ตอนเป็นหลวงพี่ซิ ผู้ถาม เดี๋ยว...ต่างกันยังไงครับ หลวงพ่อ...หลวงพี่นี่? หลวงพ่อ หลวงพ่อมันแก่...หลวงพี่มันหนุ่ม ผู้ถาม ตอนนั้นเคยมีเหมือนกันหรือครับ? หลวงพ่อ เคยมี...เหมือนชาวบ้านเขานี่...เหมือนกัน ยี่ห้อเดียวกัน ผู้ถาม แหม...ขนาดมีบุญขนาดหลวงพ่อนี่ ยังมีหรือครับ? หลวงพ่อ ใครมีบุญ? ผู้ถาม อ้าว...ก็หลวงพ่อซิ ใคร ๆ ก็เอาอะไรมาถวาย ๆ หลวงพ่อ มี...เขาถวายเป็นของสงฆ์ เสือกไปเอาเองซิ ลงอเวจี (หัวเราะ) สังฆทานนี่ตัวร้ายกาจ มาตราเดียวอเวจีง่าย ๆ คำว่า “สังฆทาน” พระผู้รับถือว่าผู้แทนสงฆ์เท่านั้น เอาไปเข้าส่วนกลางเขา ผู้ถาม อ๋อ...อย่างนั้นคนที่เข้าใจผิดคือบอกว่า สังฆทานต้องมีตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป เอ๊ะ ทำไม...ทำไมซอยสายลมหลวงพ่อรับองค์เดียว อย่างนี้ก็เป็นปาฏิปุคคลิกทานจริง ๆ หลวงพ่อ รับแทนสงฆ์ ในพระไตรปิฎก เขาก็เขียนไว้ เสือกไม่อ่านเอง ผู้ถาม อ๋อ นี่ใช้ภาษาไทยตอบเลยหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่...คนไทยใช้ภาษาเจ๊กรู้เรื่องยาก ปรามาสพระอริยเจ้า ผู้ถาม เรื่องพระอริยเจ้าก็มีอยู่นิดคือว่า การปรามาสพระอริยเจ้าด้วยเจตนาก็ตาม ไม่เจตนาก็ตาม โมโหด้วยความตั้งใจก็ตาม อยากเรียนถามว่า จะมีกรรมมากไหมครับ? หลวงพ่อ ก็ลงนรกด้วย เจตนาก็ตาม ไม่เจตนาก็ตาม ลงเหมือนกัน ผู้ถาม ไม่ต้องสอบสวนหรือครับ? หลวงพ่อ ไม่ต้องสอบ... สบาย ก็ไม่ยาก ก็ไปขอขมาต่อพระพุทธเจ้าเสียซิ ถ้าไม่พบพระพุทธเจ้าก็พระพุทธรูป ผู้ถาม ต้องไปพบพระพุทธรูปที่วัดท่าซุง หรือว่า หลวงพ่อ ไม่จำเป็น...ที่บ้านก็ได้ ให้นึกว่าท่านคือพระพุทธเจ้า เพราะพระอริยเจ้านี่ ขอขมาโดยตรงตัวไม่มีผล อย่างสมมุติยกทรงเป็น “โสดาตาบัน” ใช่ไหม ผู้ถาม เดี๋ยว ๆ ครับ ตามศัพท์พระไตรปิฎกเขาเรียก “โสดาบัน” ครับ หลวงพ่อ ได้นี่มันหนักแน่ “โสดาตะบัน” นี่ขั้นเอกพิชีนะ เพราะตะบันจนกรทั่งแน่นปั๋งไม่คลายตัว สมมุติว่า ยกทรงเป็นพระโสดาบัน เขาไปด่าไปว่าเข้านินทาเข้าก็บาป ใช่ไหม...ไปขอโทษโดยตรงกับยกทรงนี่ไม่มีผล ต้อบงขอโทษโดยตรงกับพระพุทธเจ้า เพราะว่าความเป็นพระโสดาบัน ไม่ใช่เกิดจากยกทรงเกิดจากพระพุทธเจ้าท่านสงเคราะห์ ผู้ถาม แล้วอย่างพระโสดาบันที่บวชเป็นพระ กับโสดาบันที่เป็นฆราวาส ถ้าเราปรามาสโทษจะเป็นอย่างไรครับ? หลวงพ่อ ครือกัน ผู้ถาม เพราะฉะนั้นพวกเราจำไว้นะ ฆราวาสที่เป็นพระอริยะมีเยอะแยะ หลวงพ่อ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน พระโสดาบันไปตันแค่ศีล ๑.เคารพพระพุทธเจ้า ๒.เคารพพระธรรม ๓.เคารพพระอริยสงฆ์ ๔.มีศีล ๕ บริสุทธิ์ องค์พระโสดาบันมีแค่นี้ ผู้ถาม อุ้ยตายแล้ว หลวงพ่อนี่เทศน์ไม่เหมือนกับโทรทัศน์เดี๋ยวนี้ยังออกอากาศปาว ๆ อยู่นะครับ ว่าพระโสดาบัน ๑.สักกายทิฏฐิ ต้องตัดขันธ์ ๕ โดยเด็ดขาด หลวงพ่อ เอาเลื่อยที่ไหนมาตัด เดี๋ยวก่อน ... พระโสดาบันถ้าตัดขันธ์ ๕ เด็ดขาด ลองคิดดู นางวิสาขา ท่านเป็นพระโสดาบันตั้งแต่อายุ ๗ ปี ขันธ์ ๕ นะคนเดียวนะ พออายุ ๑๖ ได้อีก ๕ ขันธ์...มีผัว ต่อไปก็ลูกชาย ๑๐ คน มีผู้หญิง ๑๐ คน ลูกทั้งหมด ๒๐ คน ตัดหรือไม่ตัด ตัดหรือต่อ ... พระโสดาบันกับสกิทาคามี สองอยางยังแต่งานได้ ไม่แต่งานก็อนาคามีขึ้นไปเท่านั้นเอง ไอ้เทศน์อย่างนั้น ท่านเทศน์ถูกของท่าน แต่ไม่ถูกตามพระไตรปิฎก ผู้ถาม อย่างนี้ฆราวาส ที่จะเป็นพระโสดาบัน แค่ศีล ๕ ก็ หลวงพ่อ แค่นั้นแหละ เขาเรีย “สัตตักขัตตุง” ผู้ถาม อย่างนี้เป็นฆราวาสก็ดีกว่าเป็นพระซิครับ? หลวงพ่อ โอ้ย ดีกว่าเยอะ...ความจริงแล้วฆราวาสถ้าพูดตามส่วน เขาได้เปรียบกว่าพระมาก ๑.เจี๊ยะไม่เลือกเวลา ประการที่ ๒ เข้าวิกได้ ผู้ถาม หลวงพ่อรู้ด้วยหรือครับ? หลวงพ่อ อ้าว...เคยเป็นฆราวาสมาก่อนนี่ ประการที่ ๓ มีผัวมีเมียได้ ประการที่ ๔ หลับตื่นสายได้ พระตื่นสายไม่ได้ใช่ไหม...เช้ามืดต้องทำวัตรสวดมนต์ ต้องเจริญกรรมฐาน ถ้าพลาดหน่อยเดียวพระลงนรก สมมุติว่ามีปลาหนึ่งตัวนะ พระมีปลาหนึ่งตัว ฆราวาสมีปลา ๑๐๐ ตัว ตัวขนาดเดียวกัน พระฆ่าปลาหนึ่งตัว ฆราวาสฆ่าปลา ๑๐๐ ตัว พระโทษมากกว่า ก็เพราะว่าทรงศีลเป็นบุคคลที่ชาวบ้านเขาต้องบูชา นี่ละบาปมาก พระไม่ใช่เรื่องเล็กนะ ผู้ถาม โอ้ย ไม่บวชดีกว่า หลวงพ่อ ใช่...ยกทรงก็เคยเสียท่ามา ๑๘ ปีแล้วซิ ฆราวาสเป็นพระโสดาบัน ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกสงสัยว่า ถ้าฆราวาสที่มีจิตเข้าถึงพระโสดาบันแล้ว เวลาประสบสิ่งที่ทำให้ไม่สบาย เช่นเรื่องเกี่ยวกับการทำมาหากิน การกระทบอารมณ์ต่าง ๆ อยากจะทราบว่า อารมณ์เขาตอนนั้นจะเป็นอย่างไร เจ้าคะ? หลวงพ่อ พระโสดาบันก็มีอารมณ์คล้ายคลึงกับคนธรรมดายังมีความรักในระหว่างเพศ ยังต้องการความร่ำรวย ยังมีความโกรธ ยังมีความหลง แต่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ในขอบเขตของศีล ฉะนั้นความสะเทือนใจย่อมมี แต่ว่า พระโสดาบันไม่ละเมิดศีล ไม่ผิดกาเม ความต้องการรวยยังมี แต่ว่าไม่โกงใคร ไม่ละเมิดศีล โกรธได้แต่ไม่ฆ่าใคร หลงในชีวิตแต่คิดว่าร่างกายจะไม่ตาย ขอบเขตเขามีแค่นั้นนะ จะไปนึกว่าพระโสดาบันเขาไม่มีความรู้สึกไม่ได้ ถือว่าชาวบ้านชั้นดี ผู้ถาม นึกว่าเป็นพระโสดาบันแล้วจะไม่โกรธ หลวงพ่อ พระโสดาบันน่ะไม่โกรธ แต่แข้งอาจจะโกรธ อย่าลืมนะ ยังเตะได้ เขาไม่ได้ฆ่านะ นี่บอกกันตรง ๆ พระโสดาบัน พระสกิทาคานี่ อย่าไปแหยมเข้านะ ผู้ถาม เอาเรื่องเหมือนกันหรือครับ? หลวงพ่อ ไม่เอา...เตะเลย ดีไม่ดีมันมีปืนไม่ตั้งใจจะฆ่า ยิงให้บาดเจ็บ เป็นการยับยั้ง เขายังทำได้นะ ศีลเขาไม่ได้ขาดนะ ผู้ถาม อย่างนี้ก็ยังไว้ใจไม่ได้ หลวงพ่อ ไว้ใจได้แน่นอน ถ้ายั่วหนรัก ๆ ถูกเตะแน่ ถ้าเป็น ผู้หญิงเขาอาจจะตบเอา อย่าไปยุ่งนักไม่ใข่อนาคามี ดูตามขั้นตอนเขาก่อน อนาคามีต่างหากที่ไม่มีความโกรธ จะคิดมากไปว่า พระโสดาบันจะไม่มีความรู้สึกน่ะไม่ได้ ต้องดูตามขั้นตอน โคตรภูญาณ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกพบหนังสือเล่มหนึ่ง ท่านพูดถึงเรื่อง โคตรภูญาณ ลูกไม่เข้าใจเลยเจ้าค่ะ ปฏิบัติอย่างไร ถึงจะเข้าถึงโคตรภูญาณเจ้าคะ? หลวงพ่อ โคตรภูญาณ เขาแปลว่า ระหว่าง ระหว่างโลกีย์กับโลกุตระตอนหนึ่ง ระหว่างพระโสดาบันกับพระสกิทาคาตอนหนึ่ง ระหว่างพระสกิทาคากับพระอนาคามีตอนหนึ่ง ระหว่างพระอนาคามีกับพระอรหันต์ มีหลายโคตร มี ๔ โคตร ๕ โคตร ผู้ถาม ตกลงคำว่า “โคตร” นี่หมายถึง “ระหว่าง” หลวงพ่อ ระหว่าง... เขาสมมุติว่า จิตของเราจะเข้าถึงพระโสดาบันใช่ไหม มันยังไม่ถึงแต่แหย่เข้าไปแล้ว ท่านเปรียบเทียบบอกว่า คล้ายลำรางเล็ก ๆ เท้าข้างซ้ายเหยียบฝั่งนี้ เท้าข้างขวาเหยียบฝั่งโน้น ทั้งสองเท้ายังยันดินอยู่ ยังไม่ยกเท้านี้ไป ระหว่างนั้นเรียก “โคตรภูญาณ” ญาณในระหว่างโลกีย์กับโลกุตร แต่ว่าเวลานั้นสำหรับตอนต้นนะ เอาตอนต้นที่จะเป็นพระโสดาบัน จะมีอารมณ์ ๆหนึ่งขึ้นในใจนั่นคือ ต้องการพระนิพพานอย่างเดียว จิตจะรักพระนิพพานอย่างยิ่ง ใครจะชวนเป็นเทวดาเป็นนางฟ้าไม่ต้องการหมด ต้องการนิพพานอย่างเดียว พอเข้าถึงพระโสดาบันปั๊บ...อารมณ์ ๆ หนึ่งจะเกิดขึ้นนั่นคือ...ธรรมดา ผู้ถาม เป็นยังไงครับ? หลวงพ่อ ถูกด่า...ก็ธรรมดาของคนเป็นอย่างนี้ ถูกนินทา...ก็ธรรมดาของคนเป็นอย่างนี้ แต่อย่าด่าบ่อยนักนะ เอาบ้าง (หัวเราะ) คือว่าพระโสดาบันยังมีโทสะ แต่โทสะไม่รุนแรง ผู้ถาม ในโทรทัศน์วิทยุเทศน์ บอกพระโสดาบันนี่หมดแล้ว โลภะ โทสะ โมหะ หลวงพ่อ นั่นมันโทรทัศน์ไม่ใช่ที่นี่ นี่โทรทัศน์วงจรปิด นั่นเขาวงจรเปิด ผู้ถาม อ๋อ...จริง ๆ แล้วไม่ถึงขนาดนั้นหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่ ๆ ผู้ถาม อย่างนี้ก็ลูกหลานนั่งแถวนี้ก็มีสิทธิ์ หลวงพ่อ โอ๊ย...มีสิทธิ์ทุกคน กล้วยตานี้สุก ๆ ไม่ยาก ผู้ถาม อ้อ...บังเอิญหลวงพ่อพูดคืนนี้เกี่ยวกับ อรหัตมรรค เรียนถามนิดคือว่า “อรหัตมรรค” กับ “อรหัตผล” นี่อารมณ์ต่างกันมากหรือไม่ครับ? หลวงพ่อ ต่างกันมาก...ต่างเยอะเชียว อรหัตมรรคมีอะไรบ้าง? ๑.ต้องตัด รูปราคะ ยังมีอารมณ์หลงในรูปอยู่ ต้องตัดตัวนี้ก่อน รูปฌานนะ ไม่ใช่รูปคน ประการที่ ๒ เมื่อตัดตัวนั้นแล้ว ต้องตัด อรูปราคะ ต้องตัดอารมณ์ที่รักอรูปฌาน คือหลงในอรูปฌาน ยังใช้ฌานแต่ไม่หลงในฌาน ใช้ฌานเป็นประโยชน์นะ ๓.ตัด มานะ การถือตัวถือตน ๔.ตัด อุทธัจจะ คืออารมณ์ฟุ้งซ่าน ๕.ตัด อวิชชา อรหัตมรรคก็ยังมี ๕ อย่าง คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา พออรหัตผลเลยไม่มีอะไร อรหัตผลเหลืออย่างเดียว สังขารุเปกขาญาณ วางเฉยหมด ผู้ถาม ไม่เอาอะไรเลยหรือครับ? หลวงพ่อ เอา...เอาเฉย ๆ คำว่า “สังขารุเปกขาญาณ” วางเฉยในขันธ์ ๕ ใช่ไหม... ขันธ์ ๕ มันจะแก่ ขันธ์ ๕ มันจะตาย ก็เป็นเรื่องของมัน คือว่าถ้ายังมีขันธ์ ๕ ก็จะต้องประคับประคอง ถ้าไม่อย่างนั้นมันหิว ถ้าขันธ์ ๕ มันป่วย ก็รักษาเป็นการระงับเวทนา ถ้าขันธ์ ๕ จะตายไม่หนักใจเพราะต้องการนิพพาน ผู้ถาม ต้องมีอารมณ์ขนาดนั้น ถึงวางได้ขนาดนี้นะครับ? หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ และเป็นสุขที่สุด มันเป็นสุขบอกไม่ถูก ก็ไม่ใช่สุขอย่างกับสุขในฌาน ๑ เป็นสุขนะ นั่นมันสุขต่างหาก ไอ้นี่มันสุขที่ไม่อาศัยอะไรทั้งหมด คือไม่อาศัยอามิสเขาเรียกว่า นิรามิสสุข ไม่ต้องมีวัตถุเป็นเครื่องเกาะ อารมณ์จะสุขเอง ผู้ถาม ถ้าหากว่าลูกหลานนี่ สมมุตินะครับ ขณะนี่ทรงอารมณ์พระโสดาบันได้แล้วนี่ จะไม่เอาละ สกิทา อนาคา จะตีรวดไปทีเดียวตอนตายเป็นอรหันต์ จะได้ไหมครับตอนนั้น? หลวงพ่อ วิธีปฏิบัติเขาก็ปฏิบัติแบบนั้น ไอ้พูดตามแบบเขาต้องไล่ตามระดับ ใช่ไหม... แต่ถ้าปฏิบัติจริง ๆ ท่านบอกว่า ถ้าได้พระโสดาบันในที่นั่งใด ให้ทำจิตให้บรรลุอรหันต์ในที่นั่งนั้นแต่ยังไม่ทันลุกเป็นอรหันต์เลย ผู้ถาม อ๋อ...ตีรวดข้ามไปเลย หลวงพ่อ ใช่ ๆ ๆ ไปจับ อวิชชา เลย วิธีตีรวดก็จับเฉพาะอวิชชา ได้พระโสดาบันแล้วจับอวิชชา อวิชชามี ๒ อย่างด้วยกันคือ ฉันทะกับราคะ ฉันทะ มีความพอใจในมนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก ราคะ เห็นมนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกสวยสดงดงามน่าอยู่ ไม่มีในอารมณ์เของเรา และโลกทั้ง ๓ นี่ไม่พ้นทุกข์ เราไม่ต้องการ เราต้องการนิพพาน เท่านั้นแหละ ถ้าทำเป็น...ไม่ยาก อยากไปนิพพานก่อนหลวงพ่อ ผู้ถาม หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะกราบพึ่งบารมีหลวงพ่อเจ้าค่ะ คือลูกปรารถนาที่จะไปมรรคผลนิพพานให้มันเร็วกว่าที่เขากำหนด เพราะมันเบื่อหน่ายร่างกายเหลือเกิน แต่ใจหนึ่งก็ไม่ห่วง แต่ใจหนึ่งก็ยังเป็นห่วง ไม่ห่วงตัวแต่ห่วงหลวงพ่อ อยากจะขออนุญาตหลวงพ่อตายก่อน ไปก่อนจะได้ไหม หรือว่าจะกลายเป็นลูกอกตัญญูขอหลวงพ่อ ได้โปรดอโหสิกรรมด้วยเถิดเจ้าค่ะ? หลวงพ่อ นี่...คนนี้อยู่ใกล้วัดไหน อ้าว...เผื่อพระบังสุกุลไง ผู้ถาม อ๋อ...เวลาตายหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่...อย่างนั้นจะแนะนำให้ตายอย่าง พระโคธิกะ ก็แล้วกัน คือปาดเชือดคอตาย ผู้ถาม เขาว่าฆ่าตัวตายก็ตกนรกนะ...หลวงพ่อนะ หลวงพ่อ แต่ไปนิพพานนะ พระโคธิกะไปนิพพานนะ ถ้าเบื่อร่างกาย เบื่อจริง ๆ นะ คิดว่าร่างกายเป็นศัตรู เราหิวก็เพราะร่างกาย ป่วยไข้ไม่สบายเพราะร่างกาย มีทุกข์ทุกอย่างเพราะร่างกาย เราไม่ต้องการมันอีก ขึ้นชื่อว่าร่างกายประกอบด้วยธาตุ ๔ อาการ ๓๒ อย่างนี้ไม่มีกับเรา เราต้องการนิพพาน เพียงแค่นนี้ก็ไปนิพพาน แต่ระวังมันเจ็บนะ เอาอย่างนี้ดีกว่า เอาตายแบบสบาย ๆ ดีกว่า อยู่เรื่อย ๆไปจนกว่าจะตายเอง ฆ่าตัวตายเดี๋ยวเกิดเจ็บขึ้นมา จิตใจฟุ้งซ่านลงนรกไปเลย ผู้ถาม ต้องเบื่อจริง ๆ จึงจะไปนิพพานได้ หลวงพ่อ ใช่ ๆ ผู้ถาม เบื่อ ๆ อยาก ๆ เบื่อเฉพาะตอน หลวงพ่อ เบื่อ ๆ แต่ว่าห่วงหลวงพ่อ ไม่เบื่อจริง เบื่อต้องเป็น สังขารุเปขาญาณ ตัดทุกอย่างอารมณ์มันจะทรงตัวเอง ไม่ใช่ไปสร้างมันเกิดขึ้น ให้มันเกิดเอง ถือว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกเป็นของธรรมดา เกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่มีกังวล ถ้าอยู่เราก็ต้องบริหารร่างกายตามธรรมดา ต้องกินข้าว ต้องถ่ายส้วม ต้องไปขี้น่ะ ต้องป่วย ต้องรักษาโรค อย่างพระพุทธเจ้าเห็นไหม แต่ว่าเวลาขันธ์ ๕ จะพัง มันก็เป็นเรื่องของมัน “เตสัง วูปะสะโม สุโข การเข้าไปสงบสังขารนั่นย่อมเป็นสุข” นั่นหมายความอารมณ์เราเป็นสุขจากร่างกาย เราไม่เดือดร้อนเพราะร่างกาย ร่างกายจะอยู่ก็เชิญอยู่ จะตายก็เชิญตาย ทำจิตให้เป็นสุขนะ ผู้ถาม เอาแค่นี้นะครับ หลวงพ่อ ค่อย ๆ ไป ค่อย ๆ ทำ แต่แค่เบื่อจริง ๆ ยังไป นิพพานไม่ได้นะ เบื่อเป็น นิพพาญาณ แต่อนาคามีต้องเป็น สังขารุเปกขาญาณ วางเฉยในขันธ์ ๕ ตัดสักกายทิฏฐิ ผู้ถาม กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพ เมื่อปีที่แล้ว น้องชายของกระผม ขอร้องให้กระผมตัดสักกายทิฏฐิของเขา กระผมก็ทำท่าอยากจะตัดอยู่ ก็ไม่รู้วิธีจะตัดแบบไหน ประการใด จึงมากราบเรียนขอคำแนะนำจากหลวงพ่อ ช่วยตัดให้หน่อยเถิดขอรับ? หลวงพ่อ ไปหาเจ๊กขายหมูซิ..มีดคมดี ผู้ถาม อ๋อ...ตัดต้องใช้มีดหมูหรือครับ? หลวงพ่อ ใช่...ตัดสักกายทิฏฐิ ต้องตัดร่างกายยังไงล่ะ...กร๊วบ! ทีเดียวขาดเลย สักกายทิฏฐิ ถ้าตัดขาดก็เป็นพระอรหันต์ จำให้ดีนะ คือว่าสักกายทิฏฐิเขาตัด ๓ ขั้น อย่างพระโสดาบันกับพระสกิทาคามีใช้ปัญญาเล็กน้อย สมาธิเล็กน้อย แต่มีศีลบริสุทธิ์ แค่มีความรู้สึกว่า ร่างกายจะต้องตาย ถ้าอนาคามี เห็นร่างกายสกปรกโสโครก มีความเบื่อหน่ายเกิดนิพพิทาญาณ ถ้าอรหันต์เห็นว่า ร่างกายไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา มี ๓ ขั้น ไปเทศน์แบบนั้น ชาวบ้านก็ไม่ต้องทำกันละ ต่างคนต่างท้อ อย่างเด็กจะแบบน้ำทั้งปีบไมไหวมันต้องใช้กระป๋องเล็ก ๆใช่ไหม พอกับแรงเด็ก ผู้ถาม ถ้าอย่างนั้นคนที่มีบุญน้อย ก็ใช้มินิสังฆทานไปก่อน หลวงพ่อ มันเป็นยังไงนะ? ผู้ถาม อย่างชุดละ ๑๐๐ เขาเรียก “มินิสังฆทาน” ครับ หลวงพ่อ อ๋อ...อย่างนั้นเหรอ ******************************* จบบริบูรณ์ ข้าพเจ้าขอพิมพ์ถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา และ สังฆบูชา กวางน้อย พิมพ์สิ้นสุดเมื่อ 25 พ.ย. 47 ปัญหาการรักษาศีล ดูข้างล่าง ดูข้างบน ปัญหาการรักษาศีล ปัญหาการปฏิบัติธรรม ปัญหาพระนิพพานและอานิสงส์ต่าง ๆ TDStats.com - Hit Counter & Website Statistics

พระสกิทาคามี ใช้อารมณ์คิด ทบทวนกำลังใจ พรหมวิหารสี่ ให้หนักขึ้น



กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าลูกจะขอทราบเกี่ยวกับเรื่องอานิสงส์สักเรื่องหนึ่งว่า วิธีที่จะกราบพระให้ถูกต้องตามแบบฉบับ เพื่อจะมีผลานิสงส์มาก ๆ นั้น จะต้องกราบแบบไหน ขอแบบฉบับวัดท่าซุงเป็นตัวอย่างด้วยเจ้าค่ะ?
หลวงพ่อ         ให้กราบด้วยความเคารพอย่างเดียวพอ ให้จิตเคารพนะ ก่อนที่จะกราบพระพุทธเจ้า นึกถึง พระพุทธเจ้า นึกถึงพระพุทธรูปก่อน กราบครั้งที่ ๒ กราบพระธรรม นึกถึงดอกมะลิแก้ว ให้ไหลจาพระโอษฐ์ พระพุทธเจ้าลงหัวเรา กราบครั้งที่ ๓ นึกถึงพระสงฆ์องค์ใดองค์หนึ่งที่เราเคารพ... พอ เอาใจสำคัญกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ถ้าใจไม่เคารพ ไม่มีความหมาย

สมาทานพระกรรมฐาน
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าคำสมาทานกรรมฐานของหลวงพ่อ ปรากฏว่าลูกท่องไม่ได้เลย ลูกใช้อย่างนี้เจ้าค่ะ พอหลับตาปุ๊บ ลูกบอกว่า กรรมฐานทั้งหลายที่หลวงพ่อให้ลูก ขอสมาทานทั้งหมด ณ กาลบัดนี้แล้วก็หลับตาเลย
หลวงพ่อ         ใช้ได้เลย ๆ อ้าว นี่ได้จริง ๆ แต่ว่าอย่าลืมนึกถึง พระพุทธเจ้า อย่าเอาแค่หลวงพ่อนะ ว่ากรรมฐานที่หลวงพ่อเรียนมานี่ เป็นของพระพุทธเจ้า ขอยอมรับกรรมฐานทั้งหมด ที่พระพุทธเจ้าสอนทุกสิกขาบท แล้วนอนภาวนา “พุทโธ” หลับไปเลย... ใช้ได้

พื้นฐานการเจริญพระกรรมฐาน
ผู้ถาม             หลวงพ่อครับ การเจริญพระกรรมฐาน ต้องมีพื้นฐานอะไรบ้างครับ?
หลวงพ่อ         พื้นฐานเหรอ... ถ้าเป็นชายต้องมีกางเกง... พื้นฐานจริง ๆ ก็มี ศรัทธา ความเชื่อ ตัวนี้ตัวเดียว พระศาสนาเรา ถ้าไม่มีความเชื่อเสียอย่างเดียว ไม่มีอะไรเป็นผล และต้องใช้ ปัญญา ร่วมด้วยนะ เขาแนะนำกันมาเราคิดดู มันควรหรือไม่ควร แต่อีกสิ่งที่เป็นฤทธิ์ มันเกินวิสัยที่เราจะคิด อย่างฤทธิ์ของวิชชา ๓ ฤทธิ์ของอภิญญา ฤทธิ์ของปฏิสัมภิทาญาณ นี่เราคิดไม่ได้ เพราะขืนคิดบ้า คิดยังไงมันก็ไม่ลงตัว มันจะเหมือนกับที่เราคิดไม่ได้ เราจะตัดความสามารถของฤทธิ์ก็ตัดไม่ลง
                   อย่าง วิชชา ๓ มีทิพจักขุญาณ ถือว่ามีฤทธิ์ทางใจ ตามธรรมดาเราไม่สามารถเห็นสิ่งของที่ลี้ลับได้ใช่ไหม... แต่ถ้าเขาได้ ทิพจักขุญาณ..คุณ! ไม่มีอะไรหนาเขาเลย อย่าว่าแต่วางข้างหน้าเลย วางมุมรูปไหนเขาก็รู้ วางโลกไหนก็ได้ทุกโลก นี่ถ้าเขารู้จักใช้นะ ที่ฝึกไปแล้วไม่รู้จักใช้นี่เยอะ ๙๐ เปอร์เซ็นต์ เศษ ๆ หน่อย ๆ เอาไปแล้วไม่รู้จะใช้อะไรดี บางทีก็ปล่อยบูดไปเลยมีเยอะแยะจริง ๆ แล้วถ้าได้แล้วเขาต้องฝึกซ้อม ทำอยู่เสมอๆ ได้ง่ายเกินไปเลยปล่อยหายง่าย อย่างนี้มีเยอะแยะ

ทำสมาธิจิตว่าง
ผู้ถาม             กระผมทำสมาธิจนรู้สึกว่ามีสติอย่างเดียว แล้วเห็นเงาดำแอบเข้ามา ขอถามหลวงพ่อว่า อย่างนี้จิตว่างหรือเปล่า ทำถูกต้องหรือไม่สำหรับแนวกรรมฐาน?
หลวงพ่อ         จิตไม่ว่าง ยังมีความรู้สึกอยู่ ทำน่ะ ทำถูก แต่จิตไม่ว่าง การทำให้จิตว่างนะ ไม่มีนะ คนถามเข้าใจด้วยนะ จิตว่างนี่ไม่มี จิตมันมีสภาพเกาอยู่ ๓ อย่าง คือ ๑.เกาะชั่ว ๒.เกาะดี ๓.อยู่เฉย ๆ ไม่เกาะชั่วไม่เกาะดี ตัวนี้ว่าง คือจิตมีอารมณ์ของพระนิพพาน ถ้าคำว่า “ว่าง” ในที่นี้ ก็ว่างเฉพาะอารมณ์ที่เป็นกิเลส ส่วนอารมณ์ที่เป็นกุศลมันก็ไม่ว่างเหมือนกัน
                   เป็นอันว่า จิตจริงๆ มีสภาพไม่ว่างนะ ถ้าจะถามว่า เวลานั้นจิตว่างจากความชั่วหรือไม่อย่างนี้ควรถาม อย่างนั้นต้องตอบว่า ตอนนั้นจิตว่างจากความชั่ว ๕ อย่าง ที่เรียกกันว่า นิวรณ์ คือ
                   1. กามฉันทะ ความพอใจในรูปสวย เสียเพราะ กลิ่นหอม รสอร่อย สัมผัสระหว่างเพศ
                   2. ปฏิฆะ อารมณ์ไม่พอใจ
                   3. ความง่วง
                   4. ความฟุ้งซ่าน
                   5. สงสัย

สมาธิเล็กน้อย
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะกราบเรียนถามเกี่ยวกับ เรื่องสมาธิเล็กน้อย คือว่าสมาธิของลูกนี่ จะได้แค่ ประมาณ ๒-๓ นาที หลังจากนั้นไปอารมณ์จะฟุ้ง แล้วก็ทุกวันเป็นอย่างนี้ ไม่สามารถจะแก้ได้ ขอบารมีหลวงพ่อช่วยแก้เรื่องการปฏิบัติของลูก ให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไปด้วยเถิดเจ้าค่ะ
หลวงพ่อ         พอแล้ว ๒ นาทีพอแล้ว อย่าลืมนะวันละ ๒ นาที ๑๐ วันเท่าไหร่ ๑๐๐ ปีเท่าไหร่ วิธีที่ทรงสมาธิให้ทรงตัว จับ อานาปานุสสติ โดยเฉพาะ ฝึกลมหายใจเข้าออกหายใจเข้าหายใจออกนับเป็น ๑ ถึง ๑๐ ใช่ไหม... ตั้งใจคิดว่าถ้ายังไม่ถึง ๑๐ จิตมันวอกแวกนะ เริ่มต้นใหม่เอาให้ถึง ๑๐ ให้ได้ วิธีดีที่สุดเอาตามนี้นะ เอาดีอย่างพระพุทธเจ้าทรงตรัสกับ พระสารีบุตร ซิว่า
                   “สารีปุตตะ ดูก่อนสารีบุตร บุคคลใดทำจิตให้ว่างกิเลสวันหนึ่งชั่วขณะจิตหนึ่ง ตถาคตขอกล่าวว่า บุคคลนั้นมีจิตไม่ว่างจากฌาน” สองนาทีนี่ มันว่างจากกิเลสนะ ... ใช้ได้

ทำสมาธิรำคาญเสียง
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง บ้านของลูกอยู่ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช มีความข้องใจเกี่ยวกับเรื่องประหลาดที่บ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็คือว่า เวลาสวดมนต์ทำกรรมฐาน จะมีเสียงสวดมนต์บ่นพึมพำ ๆ เป็นผู้ชายบ้าง เป็น ผู้หญิงบ้าง เป็น เด็กบ้าง แล้วก็ทำความรำคาญให้กับลูก ในขณะเจริญพระกรรมฐานเสมอ ๆ ขอเรียนถามหลวงพ่อว่า จะมีวิธีกำจัดพวกเหล่านี้ได้อย่างไร จะได้ไม่รบกวนในการเจริญกรรมฐานต่อไปเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         เอาแล้ว... หากินพลาดบทแล้ว
ผู้ถาม             ก็รำคาญนี่ครับ... หลวงพ่อ!
หลวงพ่อ         ถ้ารำคาญแสดงว่าสมาธิไม่พอ ถ้าหากว่าจิตเข้าถึงปฐมฌาน จะไม่รำคาญในเสียง แต่ความจริงนะ ถือว่าเป็นคนมีโชค สามารถได้ยินเสียงของพวกอมนุษย์ได้ อย่างนี้มีโชคนะถือว่าดี เขาสงเคราะห์ แต่บังเอิญถ้าผู้นั้นใช้กำลังใจไม่พอกับความดีที่เขาให้
                   เอาใหม่ ตั้งใจใหม่ ถ้ามันมาบ่นให้ฟังเพลินไปเลย คือต้องฝึกนะ ต้องฝึกสู้กับเสียง เพราะฌานขั้นต้น จะไม่รำคาญในเสียง เสียงได้ยินเขาพูดทุกอย่าง ร้องรำทำเพลง แต่เราจะไม่รำคาญในเสียงเขาคุย แสดงว่าคนนี้ยังมีจิตไม่ถึงฌานที่ ๑ ยังไม่เต็มปีติเลย แต่ความจริงตัวที่ได้ยินมันมาจากปีติ อันดับแรกถึงปีติ ได้ยินใช่ไหม ต่อไปจิตตก ตกจากปีติ ยังไม่ถึง ฌาน ๑

นั่งกรรมฐานมีคนดึง
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง เวลาลูกนั่งพระกรรมฐานที่บ้านก็ตาม ที่ห้องพระก็ตาม ส่วนใหญ่ก็ถนัดเรื่องพุทโธ ที่ประหลาดใจก็คือว่า เวลานั่งภาวนาไปคล้าย ๆ จะมีใครก็ไม่ทราบ ดึงไปข้างหน้าหงายไปข้างหลัง เอียงไปข้าง ๆ ตัวโยกเยก เขาเรียกกรรมฐานโยกเยกเป็นเพราะอะไรครับ?
หลวงพ่อ         อย่างนี้เขาเรียก โอกกันติกาปีติ ปีติตัวที่ ๓ จิตเริ่มดีแล้ว แต่ทว่าเทวดาประจำบ้านท่านบอกว่า อารมณ์หยาบไปเวลาขึ้นต้น อาจารย์อ่านฉันก็ถามเทวดาท่าน...ไม่ยาก
                   ท่านบอกเวลาเริ่มต้นอารมณ์หยาบไป ใช้อย่างนี้นะ ก่อนเริ่มต้น พอนั่งปั๊บ หายใจยาว ๆ แรง ๆ สัก ๕-๖ ครั้ง เป็นการระบายอารมณ์หยาบ ต่อไปอาการอย่างนั้นจะคลายตัว พออาจารย์ถามฉันก็ถามท่านเหมือนกัน ท่านก็เลยบอก... ใช้ได้
ผู้ถาม             อ้อ... ที่หลวงพ่อตอบเก่ง เพราะมีถามตอบอย่างนั้นหรือครับ?
หลวงพ่อ         ใช่... อีกหลายต่อ อย่างเมื่อคืนนี้อุทิศเจ๊งจั๊ง หลายต่อยุ่งเลย
ผู้ถาม             ผมจะขอต่ออีกนิดคือว่า บางครั้งจะเห็นเป็นคล้าย ๆ ดวงสีขาว ๆ คล้าย ๆ แก้ว ลูกไม่ทราบว่าเป็นเพราะอะไรครับ?
หลวงพ่อ         นั่นละถูกแล้ว ปีติ พออารมณ์ใจเข้าถึงปีติ อารมณ์เริ่มเป็นทิพย์ เมื่ออารมณ์เริ่มเป็นทิพย์ เริ่มเห็นนิมิตที่ไม่มีภาพจริง ๆ นะ มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นเป็นของธรรมดา
ผู้ถาม             ครับ ๆ ที่เห็นนั่นก็เป็นของดีนะ
หลวงพ่อ         ดีแล้ว แต่ว่าใช้อามรณ์ให้ละเอียดกว่านั้นนะ อย่าลืมเอาแบบเกณฑ์ทหาร เขาทำอย่างไร หายใจเข้าลึก ๆ หายใจออกแรง ๆ ใช่ไหม... สัก ๕-๖ ครั้งระบายอารมณ์หยาบ
ผู้ถาม             แล้วก็บอกว่า สมัยก่อนลูกเจ็บไข้ได้ป่วยเป็นโรคหัวใจ โรคโน่นโรคนี่ บัดนี้ลูกหายพอสมควรแล้ว จึงขอกราบขอบพระคุณที่หลวงพ่อเมตตาให้กรรมฐานปฏิบัติ แล้วลูกหายจากโรคภัยไข้เจ็บเจ้าค่ะ
หลวงพ่อ         ยังหายไม่หมดนะ
ผู้ถาม             เหลืออะไรครับ
หลวงพ่อ         โรคสงสัย

ทำสมาธิตัวโยก
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง เวลาที่ลูกสวดมนต์ก็ดี ฟังเทปก็ดี ตัวโยกไปเยกมาระงับไม่อยู่ แต่ก็แปลกนะครับ สบายใจดีมาก อย่างนี้เป็นเพราะอะไรครับ ถ้าจะแก้ไขให้ดีไปกว่านี้อีก หลวงพ่อจะแก้ไขอย่างไรครับ?
หลวงพ่อ         รู้แค่เฉพาะโยกไปนะ แต่เยกมาไม่รู้นะ อย่างนั้นเขาเรียก โอกกันติกาปีติ เร่งรัดมันจะเสีย อยากจะโยกก็เชิญมันโยกไปตามชอบใจ ถ้าปีติตัวนี้เต็มอารมณ์เมื่อไร ก็เลิกโยก มีอารมณ์ดิ่งเป็นฌาน

ทำสมาธิง่วงนอน
ผู้ถาม             หลวงพ่อขอรับ กระผมนั่งกรรมฐานทีไรแล้วเกิดนิวรณ์ตัวที่ ๓ คือง่วงนอนมากเหลือเกิน กระผมทำตามหลวงพ่อแนะนำทุกอย่าง อาบน้ำ ล้างหน้า แหงนดูฟ้า ปรากฏว่าแก้ไม่ตกเลยสักที เลยกลุ้มใจ อยากจะพึ่งบารมีหลวงพ่อให้หาวิธีแบบใหม่ที่ไม่ง่วงนอนด้วยเถิดขอรับ?
หลวงพ่อ         มีอีกวิธีไม่ทำนี่ ถ้าง่วงก็นอนหลับไปเลย อันนี้ได้ผลนะ ดีกว่าทรมาน เพราะว่าภาวนาไป ถ้าเวลานั้นจิตไม่ถึงฌานมันจะหลับไม่ได้ ถ้านอนแล้วภาวนา ถ้าจิตถึงฌานจะตัดหลับทันที ช่วงเวลาหลับกี่ชั่วโมงก็ตาม ยังทรงฌานนั้นอยู่ ควรทำแบบนี้นะ อย่าทรมาน ง่าย ๆ หากินสะดวก ๆ เรียนกับพระขี้เกียจ... สบายมาก เพราะฉันหากินแบบขี้เกียจมาตลอดเวลาแบบไหนที่ได้ง่ายลงทุนน้อยเอาเลย

นั่งสมาธิศีรษะสั่น
ผู้ถาม             กระผมฝึกสมาธิอยู่ที่บ้าน พอถึงระดับหนึ่งเกิดศีรษะสั่นอย่างรุนแรง พอตอนเช้าคอระบมไปหมด ทำยอย่างไรดีขอรับ?
หลวงพ่อ         ความจริงก็ดีเหมือนกันนะ ก็ต้องสั่นให้มันหายระบมต้องแก้กัน ความจริงไม่เป็นไรปล่อยไปเรื่อย ๆ ก็แล้วกันนะ เวลานั้นก็ถือว่าขณะนั้นจิตเข้าถึง อุเพงคาปีติ ว่าหยาบไปหน่อยคอจึงระบม ถ้าจิตละเอียดนี่จะไม่เป็นอย่างนั้น จะไม่มีอาการอื่น คงจะมีจิตกระสับกระส่ายกังวลนะ พอถึง อาการสั่นหัวละก็...จิตหยาบ

ทำสมาธิตกใจ
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกได้เจริญพระกรรมฐานเป็นเวลาช้านานแล้ว มีปัญหาอยู่ที่ตรงที่ว่า พอจิตของลูกใกล้ ๆ จะเป็นสมาธิ จะมีสิ่งประหลาด ๆ ทำให้ลูกตกใจอยู่เสมอ จึงทำให้การเจริญกรรมฐานของลูกไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร อยากจะปรึกษาหลวงพ่อว่า วิธีที่จะแก้ปัญหาแบบนี้ ควรจะแนะนำให้ลูกปฏิบัติอย่างไรเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         นั่นเป็นของธรรมดานะ ได้ยินเสียง ปึงปัง ๆ ๆ คล้าย ๆ ใครยิงปืนใกล้ ๆ ก็มี เป็นของธรรมดาเขาลอง ๆ ตอนนั้นจิตเป็นอุปจารสมาธิ เขาลองดูว่าเราจะตกใจไหม ส่วนใหญ่เป็นเทวดาชั้นจาตุมหาราช
ผู้ถาม             อ้อ ... นี่เกี่ยวกับเรื่องเทวดาเขาทดสอบ
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ

ทำสมาธิรู้เรื่องในอดีต
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกนั่งทำสมาธิอยู่เพียงแป๊บเดียว เรื่องราวในอดีตมันปรากฏเหมือนในจอโทรทัศน์ แวบมา ๆ อย่างนั้นแหละ ลูกก็มาเกิดความสงสัยว่า อย่างนี้จิตของลูกฟุ้งซ่านอยู่หรือเปล่าเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         เป็นเรื่องธรรมดานะ เมื่อจิตสงบเรื่องราวในอดีตก็เกิดขึ้นเป็นเรื่องธรรมดานะ แต่ว่าถ้าจะทรงอารมณ์ให้รักษาอานาปา มันต้องมาแน่ มาก็ช่างมัน มันแล้วไปแล้ว

นั่งสมาธิลมออกหู
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา นั่งสมาธิแล้วปรากฏว่าลมออกทางใบหู เสียงดัง ปี๊ด...ปี๊ด
หลวงพ่อ         ก็ยังดี ดีกว่าออกต่ำ ดังปุ๋ง ปุ๋ง (หัวเราะ)
ผู้ถาม             แต่ทีนี้เวลาจิตรวมเป็นสมาธิแล้ว ได้เห็นเป็นดวง ๆ มีกลมบ้าง บางทีก็ดำ บางทีก็ขาว ลอยเข้ามาจะชนลูกตา ลูกก็ต้องผงะ ลืมตาแล้วก็นั่งสมาธิใหม่ แล้วก็ลอยมาแล้วก็ชนอยู่อย่างนี้เป็นประจำ ใช้ทั้ง พุทโธ ใช้ทั้ง นะมะพะธะ แต่ไม่สมารถจะแก้ปัญหานี้ได้ ขอความเมตตาหลวงพ่อช่วยแนะนำหรือแก้ไขครั้งนี้ด้วยเถิดเจ้าค่ะ
หลวงพ่อ         จะแก้ทำไม เขาไม่แก้กันหรอก นั่นเป็น นิมิต ของ อานาปานุสสติ ใครเขาแก้กันละ เวลานั้นอานาปานุสสติกำลังเข้าถึงปีติ จึงเกิดภาพนี้ขึ้น เขียวบ้าง แดงบ้าง ขาวบ้างตามใจ แล้วแต่เขาจะเกิดของเขา ก็ไปกลัวของดี กลัวสวรรค์

นั่งสมาธิปวดขา
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกปฏิบัติพระกรรมฐานตามแนวของหลวงพ่อทุกประการ ที่แก้ไม่ตกมีอยู่อย่างเดียวนั่นคือ นั่งไปไม่ถึง ๒-๓ นาที จะมีความรู้สึกปวดที่ขาทันที ลองเปลี่ยนแล้วมันก็เป็นอย่างนี้อีก ลูกอยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า การกำหนดจิตไม่ให้ปวด การกำหนดจิตไม่ให้มีเวทนา เพื่อจะได้นั่งนาน ๆ เหมือนหลวงพ่อ จะทำอย่างไรดีขอรับ?
หลวงพ่อ         ก็ไม่เป็นไร บีบจมูกสักหนึ่งชั่วโมง หายเอง... ตาย... ไม่เจ็บไม่ป่วยถ้ามันมีเวทนาอย่างนั้น ก็ใช้วิปัสสนาญาณช่วยซิ เกิดมาเป็นทุกข์อย่างนี้ จะเล่นแต่สมถะ ที่ว่าทำตามทุกอย่างนั้นไม่จริง .... ไม่จริง ฉันเล่นทุกอย่าง ถ้าป่วยขึ้นมาฉันเล่น วิปัสสนาญาณช่วย ฉันว่าทั้งสองอย่างนะ แต่นี่ล่อสมถะอย่างเดียว ไม่ใช้ปัญญาเข้าช่วย ในเมื่อนั่งมันเมื่อยก็ลุกขึ้นยืน ยืนเหมื่อยก็เดิน เดินเมื่อยก็นอน นอนเมื่อยก็นั่ง นั่งเมื่อยก็เดิน นั่งเรียบ ๆ ไม่ดี ก็นั่งเก้าอี้ก็ได้
ผู้ถาม             กรรมฐานนั่งเก้าอี้ได้หรือครับ...หลวงพ่อ?
หลวงพ่อ         โอ้ย...นั่งบนตอไม้ยังได้เลย นั่งยอดไม้ก็ได้ ที่ไหนก็ได้ มันอยู่ที่ใจ ให้ร่างกายสบายก็แล้วกัน
ผู้ถาม             ก็ตกลงว่าเปลี่ยนเสียนะ อิริยาบถใดมันไม่ไหวก็...อ๋อ...ต้องใช้วิปัสสนาญาณช่วยจะได้ประโยชน์มาก
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ มีความจำเป็น

นั่งสมาธิตัวร้อน
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าคะ มีเด็กอายุประมาณ ๒๑-๒๒ ปีเจ้าค่ะ เขาเห็นพ่อเขานั่งสมาธิแล้วก็นั่งบ้าง พอถึงแค่นั้นเขาบอกทันทีว่า ตัวเขาร้อนไปหมดเลย ทนไม่ไหว เขาเลิกสาเหตุเพราะอะไรเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         เรื่องนี้ตอบไม่ได้ ไม่เคยปรากฏ
ผู้ถาม             เขาบอกร้อนไปหมดเลย เขาไม่ทำเขากลัว
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ต้องมีบาปอะไรอย่างใดอย่างหนึ่งเข้ามาขวางนะ
ผู้ถาม             แล้วสมมุติว่าเขาพยายามจะทำต่อ
หลวงพ่อ         เอ... ถ้าทำต่อไปได้ก็ดี ทำน้อย ๆ นะ
ผู้ถาม             พอรู้สึกร้อนก็หยุดซะ
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ หยุดซะ ไม่ช้าก็หาย เอาอย่างนี้นะ ไอ้ตัวร้อน นี่ก็คือตัวบาปเก่า มันคงขวางทาง ถ้าการเจริญสมาธิอย่างน้อยจะขึ้นสวรรค์ ถ้าอย่างนั้นต่อไปก็เป็นพรหม ต่อไปก็ไปนิพพาน ขึ้นสูงหนีมัน มันก็ขวางตัว และถ้าเราสามารถหาทางต่อสู้ด้วยการพอรู้สึกตัวว่าร้อน จะร้อนมากเกินไปเราก็เลิก ไม่ยอมแพ้มันก็หมดเรื่องดีกว่า นั่ง ๆ หนัก ๆ เข้ามันจะหายร้อนเองนะ รู้สึกถ้าร้อนจิตกระสับกระส่ายก็เลิกซะ ถือเอาบุญเข้ามาผสมทีละหน่อยเหมือนน้ำนะ ไอ้ความร้อนเหมือนไฟใช่ไหม... น้ำค่อยๆใส่ไป ถ้าน้ำมากขึ้นมาไฟมันก็ดับ เอาอย่างนั้นก็แล้วกันนะ

ทำสมาธิไม่ได้ดี
ผู้ถาม             หลวงพ่อขอรับ ผมทำสมาธิทุกวัน ๆ ละ หนึ่ง ชั่วโมง มาเป็นเวลา ๒๐ ปีแล้วครับ มันไม่ไปเหนือไปไม่ไปใต้เลย ไม่ทราบว่าติดขัดอะไร หรือมีกรรมเวรประเภทไหมมาปิดบัง ขอบารมีหลวงพ่อ ช่วยแก้ไขหน่อยเถิดขอรับ?
หลวงพ่อ         สมาธินี่ถ้าทำเฉย ๆ ก็ไม่ไปไหนนะ มันก็อยู่แค่ ฌาน ถึงฌานหรือเปล่าก็ไม่รู้ น่ากลัวจะไม่ถึงฌาน น่ากลัว ตะเกียกตะกายอยู่ข้างฌาน มันขึ้นฌานไม่ไหว ไต่บันไดแกร๊ก ๆ แต่ความจรงิถ้าเรื่องสมาธิจริง ๆ นะ ถ้าหากว่าได้จริง ๆ ก็อยู่แค่ฌาน ๔ ฌาน ๔ แล้วก็ไม่ไปไหนละ ก็ทรงตัวบ้าง เดินหน้าบ้าง ถอยหลังบ้าง ไปข้างหน้า ๑ ก้าว ถอยหลัง ๕ ก้าว ทีนี้ผลการปฏิบัติจริง ๆ เขาไม่ได้มุ่งสมาธิ ต้องหวังตัด สังโยชน์ ถ้าจะบอกว่า วิปัสสนาญาณก็จะมากเกินไป ความจริงถ้ามุ่งตัดสังโยชน์ ก็ต้องดูอารมณ์ใจตัวตัด ไม่ใช่ดูสมาธิ
                   อันดับแรก ความโลภ อยากได้ทรัพย์สินของบุคคลอื่นมีในเราหรือเปล่า เบาลงไปไหม ประการที่ ๒ ความโกรธ เบาไหม ประการที่ ๓ ความหลง เบาลงไหม สิ่งที่มีความสำคัญคือ
                   1. ลืมความตายหรือเปล่า
                   2. เคารพพระไตรสรณคมน์จริงจังไหม
                   3. มีศีล ๕ บริสุทธิ์ไหม
                   4. หวังพระนิพพานจริงจังหรือเปล่า...?
                   เขาดูตรงนี้นะ มุ่งเอาสมาธิกลุ้มใจตาย มันไม่มีการทรงตัว เวลาใดร่างกายดีไม่มีอารมณ์กลุ้ม สมาธิก็ทรงตัวใช่ไหม... ร่างกายอ่อนเพลียหน่อย สมาธิก็ทรุดตัว เอาแต่สมาธิไปไม่รอด
ผู้ถาม             เมื่อภาวนาไปไม่ได้ อย่างนี้จะมีโอกาสบรรลุธรรมเบื้องสูงหรือเปล่าครับ?
หลวงพ่อ         ทะลุธรรมแน่ จุดหมายปลายทางเขาคือสังโยชน์
ผู้ถาม             ทีนี้ถ้าหากว่าไม่ได้อะไรเลย แต่ถ้าตั้งใจว่าตายเมื่อไหร่ไปนิพพานเมื่อนั้น พอจะไปได้ไหมครับ... หลวงพ่อ?
หลวงพ่อ         พอเห็นทาง...แต่ไม่เข้าทาง
ผู้ถาม             ๒๐ ปีแล้วนะครับ
หลวงพ่อ         ๑๐๐ ปีก็ไม่ได้ ถ้าเข้าทางจริงต้องคิดว่า ๑.ชีวิตนี้จะต้องตาย ตัวสักกายทิฏฐินะ ๒.วิจิกิจฉา ไม่สงสัยในคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระอริยสงฆ์ ๓.มีศีล ๕ บริสุทธิ์ และก็ ๔.มีจิตมุ่งเฉพาะพระนิพพาน อันนี้ถึงจะได้ อันนี้ถึงจะเข้าทางหรือเข้าเขตเลย

ฝึกสมาธิไม่ได้
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าเกี่ยวกับเรื่องสมาธินี่ผมโชคดี ทำมาด้วยตนเองเป็นเวลา ๒ ปีแล้ว โดยการอ่านหนังสือบ้าง ฟังวิทยุบ้าง ดูโทรทัศน์บ้าง โดยใช้คำภาวนาว่า พุทโธ แต่ว่าไม่ได้รู้ไม่ได้เห็นอะไรเลย แม้แต่นิมิตเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ไม่ได้ กระผมตั้งใจว่าจะมาฝึกมโนมยิทธิ เลิก พุทโธ โดยมาใช้ นะมะพะธะ จะมีทางเป็นไปได้ไหมครับ?
หลวงพ่อ         เดี๋ยวก่อน...ขอตอบก่อน พวกที่ใช้ นะมะพะธะ เขาไม่ได้เลิก พุทโธ เวลาจะใช้มโนมยิทธิเขาก็ใช้ นะมะพะธะ คือ นะมะพะธะ เป็นของพระพุทธเจ้าท่าน อย่าไปเลิกนะ ถ้าเลิก “พุทโธ” ล่ะซวย พุทโธ ก็คือพระพุทธเจ้า นะมะพะธะ เป็นคาถาบทหนึ่งในธาตุ ๔ ของกรรมฐาน ๔๐ ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนบอกคาถาบทนี้เอาไว้ใช้เป็นกำลังในการฝึกมโนมยิทธิ ถ้าลืมเจ้าของเก่า คือพระพุทธเจ้า ก็เจ๊ง!
                   ก็เป็นอันว่า จะมาฝึกมโนมยิทธิมาฝึกแต่อย่าทิ้ง “พุทโธ” ว่าง ๆ ก็ใช้ พุทโธ แบบสบาย ๆ เวลาจะใช้มโนมยิทธิเราก็ใช้ นะมะพะธะ ก็มีหลาย ๆ อย่าง มีทั้งขา มีทั้งรถ “พุทโธ” เหมือนมีขามีแขน “นะมะพะธะ” เหมือนมีรถนั่งอย่างดี เป็นเครื่องบินก็ได้

นะมะพะธะ
ผู้ถาม             หลวงพ่อครับ อย่างคำภาวนาว่า “นะมะพะธะ” เป็น พุทธานุสสติกรรมฐาน หรือครับ “นะมะพะธะ” แปลว่าอะไรครับ?
หลวงพ่อ         “นะมะ” แปลว่า นมัสการ “พะธะ” แปลว่า ไหว้พระพุทธเจ้า เรื่องจริงนะ “นะมะพะธะ” ที่แปลว่า ธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ เขาไม่ได้ภาวนา เขาพิจารณานะ คำว่า “นะมะพะธะ” ที่ท่านมาบอกจริง ๆ บอกว่า ไม่ใช่ธาตุ ๔ เป็นการนมัสการพระพุทธเจ้าเป็น พุทธานุสสติกรรมฐาน

ภาวนาแล้วจิตตกวูบไป
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกภาวนา พุทโธ กับ อานาปา ควบกันไปก็ปรากฏว่า จิตสงบมันก็ไม่ใช่ แต่ว่าเป็นอุปจารสมาธิก็ไม่เชิง มันจะมีจุด ๆ หนึ่งอย่างนี้ขอรับ จิตมันไปตกวูบ พอวูบไปปั๊บ ผมก็เกิดความกลัว ก็ภาวนาใหม่ เริ่มต้นใหม่ก็วูบอีก ลักษณะแบบนี้แก้ไม่ตก ไม่รู้จะแก้ยังไง ขอพึ่งบารมีหลวงพ่อแนะนำวิธีลูกหย่อยเถิดขอรับ?
หลวงพ่อ         อาการแบบนี้นะ ขณะที่จิตสบาย ขณะนั้นจิตตั้งอยู่ในปฐมฌาน แต่ว่าสมาธิไม่ทรงตัว สมาธิตก ฌานเริ่มตก มีวูบเสียว ๆ คล้ายตกต้อนไม้ใหญ่ นั่นเขาเรียก จิตพลัดจากฌาน วิธีแก้ไม่ยาก เพราะว่าเริ่มต้นทีแรกลมหยาบเกินไป ให้ใช้หายใจยาว ๆ แบบเกณฑ์ทหารน่ะ ๕-๖ ครั้ง หายใจแรงๆ ยาว ๆ นะ ทำอย่างนี้ทุกวัน ๆ ไม่ช้า อาการจะหาย ขับลมหยาบทิ้งไปก่อน อันนี้ไม่ยาก

ภาวนาพุทโธไม่เห็นอะไร
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าลูกได้ปฏิบัติภาวนาสมาธิกรรมฐานแบบ “พุทโธ” มาหลายปีแล้ว ปรากฏผลว่าไม่ได้เห็นอะไรเลยสักอย่าง ได้แต่เงียบกริบ อันนี้จะเกี่ยวกับว่า เป็นเพราะเวรกรรมชิตก่อนทำไว้อย่างไร ชาตินี้เวลาทำสมาธิจึงไม่ได้รู้ไม่ได้เห็น เหมือนกับคนอื่นเขาเจ้าค่ะ?
หลวงพ่อ         ก็สมาธิเขาทำเพื่อเงียบ ตั้งใจสงัด จิตสงัดจากกิเลส ทีนี้การทำสมาธิเขาไม่ได้หมายถึงการเห็น ไอ้นั่นที่ปฏิบัติเป็น สุกขวิปัสสโก ถ้าต้องการเห็นต้องเป็น เตวิชโช หรือ ฉฬภิญโญ คนละหมวดนี่ ปฏิบัติให้ถูกหมวดซินะ ถ้าเป็นเตวิชโชก็สามารถเห็นได้ ระลึกชาติได้ ถ้าเป็นฉฬภิญโญเห็นได้ด้วย ไปถึงด้วย ใช่ไหม ต่างกัน มโนมยิทธินี่ก็มันบวกวิชชา ๓ กับอภิญญา คือว่าใหญ่กว่าวิชชา ๓ แต่เป็นอภิญญาขนาดเล็ก

อิริยาบถ
ผู้ถาม             มีพระออกโทรทัศน์เมื่อสองวัน ท่านบอกว่าปฏิบัติอย่างนี้ได้ผลอะไรนะ ขวาหงาย ยกแล้วก็ย่าง แล้วก็ยก จำไม่ได้ ปิ๊ดปี้ปิ๊ด เหมือนจราจรนั่นแหละ ท่านบอกอย่างนี้นะ ของอาตมานี่ไม่นานหรอก แค่ ๓ ปีก็พอรู้ผล ๓ ปีนะ พอจะรู้ผลนะ หลวงพ่อ มโนมยิทธินี่ช้าไปนะ ปุ๊บปั๊บ ได้ไปเลย ยังกับปฏิบัติ “วิปัสสนาจราจร” แน่ะ เห็นว่าทำออกโทรทัศน์ขำดีนี่ก็แปลกดีเหมือนกัน ความจริงมีหรือเปล่าครับ?
หลวงพ่อ         แบบนี้จะเป็น มหาสติปัฏฐาน อิริยาบถ แต่ว่ายาวไปมหาสติปัฏฐานก็เพียงว่า จะยกเท้าย่างเท้าให้รู้อยู่ ก้าวไปข้างหน้า ก้าวไปข้างหลัง จะกินจะกลืน ไอ้ตอนกินนี่รู้ ตอนกลืนไม่รู้ รู้ไม่ทันกลืนลงก่อน พอกินปั๊บก็เลยเข้าไปเลย เอาแค่ให้รู้ตัวอยู่เสมอ สติสัมปชัญญะใช่ไหม
                   ความจริงไม่มีอะไร เขาพร้อมแล้วนะ ถ้าได้แล้วไม่มีอะไร ต้องระวัง เป็นไปเองโดยอัตโนมัติ อย่างตานี่กระพริบอยู่เสมอผงจะมายังไม่ทันรู้ ใช่ไหม... ตากระพริบแล้ว ข้อนี้ฉันใด พระอริยเจ้าตามขั้นเหมือนกัน ท่านทำตามหน้าที่ของท่าน จิตทำไปเอง

เจริญมหาสติปัฏฐาน
ผู้ถาม             หลวงพ่อขา ลูกเจริญพระกรรมฐานโดยใช้องค์มหาสติปัฏฐานเป็นหลักใหญ่ บางครั้งจิตก็วูบ บางครั้งก็สว่าง บางครั้งก็คล้าย ๆ จะหมดความรู้สึก มีอาการปฏิบัติไปถึงจุดนี้ทีไร ก็มีอันจะต้องเลิก เพราะใจหนึ่งก็อยากได้ อีกใจหนึ่งก็กลัวตาย ขอให้หลวงพ่อช่วยแนะนำวิธีแก้ไขอารมณ์นี้ เพื่อการเจริญปฏิบัติของลูกได้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป สู่มรรคผลนิพพานในชาติปัจจุบันนี้ด้วยเถิดเจ้าค่ะ?
หลวงพ่อ         กลับไปอ่านใหม่
ผู้ถาม             อ่านอะไรครับ?
หลวงพ่อ         มหาสติปัฏฐานสูตรแต่ละข้อ สอนถึงอรหันต์ทั้งหมดทุกข้อ ไม่จำเป็นต้องทำทั้งหมด ทำข้อใดข้อหนึ่งก็ถึงอรหันต์ อ่านให้จบตอนท้ายนะ “ไม่ยึดถือโน่นไม่ยึดถือนี่ ไม่ยึดถืออะไรทั้งหมด” เขาทำเพียงข้อเดียว ไอ้ที่ทำนั่นยึดสมถะมากกว่า วิปัสสนา สมถะ คืออารมณ์สมาธิให้ทรงตัว จิตทรงตัว วิปัสสนา คือหาความเป็นจริง กลับไปอ่านใหม่ อ่านไปใช้ปัญญาคิดตามด้วยนะ นิดเดียว
ผู้ถาม             เป็นอันว่าไปไม่ยาก
หลวงพ่อ         ไม่ยาก
ผู้ถาม             ไปไม่ยากก็แสดงว่าเคยทำ
หลวงพ่อ         ถูกแล้ว

มหาสติปัฏฐาน ๔ สั้น ๆ
ผู้ถาม             หลวงพ่อขอรับ ผมไปพบมหาสติปัฏฐาน ๔ ในพระตรีปิฎก ท่านว่าไว้อย่างนี้ จะต้องปฏิบัตินานถึง ๗ ปี ถึงจะมีโอกาสได้มรรคผลนิพพานได้ กระผมไม่ชอบครับ นานเกินไป อยากจะมาขอพึ่งบารมีหลวงพ่อว่ามหาสติปัฏฐาน ๔ สั้น ๆ ไปนิพพานได้ง่ายของวัดท่าซุงน่ะ มีบ้างไหมครับ?

หลวงพ่อ         มี ๆ ๆ ก็ตัวอย่างใช่ไหม ที่พระพุทธเจ้าเทศน์ให้ ท่านพาหิยะ ฟังว่า “พาหิยะ...เธอจงอย่าสนใจในรูป” เท่านี้ ท่านเป็นพระอรหันต์
ผู้ถาม             อ๋อ เท่านี้ สั้นที่สุดเลยนะครับ
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ เท่านี้เอง เป็นอรหันต์พร้อมปฏิสัมภิทาญาณ
ผู้ถาม             แล้วที่ลูกหลานทั้งหลายกำลังฟังกถาอันนี้ เดี๋ยวเกิดบรรลุทีเดียวพร้อมกันหมดทำยังไงครับ?
หลวงพ่อ         ก็ดีซิ ช่วยกันบิณฑบาต อย่าลืมนะ คนที่นั่งมีกี่คน ถ้ามีสักพันคน อย่าลืมว่าในประเทศไทยมี ตั้ง ๕๕ ล้านคน

ทำสมาธิปวดหัว
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง กระผมเป็นโรคประสาทประหลาดนิดหนึ่ง คือว่าโดยปรกติแล้ว ร่างกายสมบูรณ์แบบทุกอย่างทุกประการ แต่เวลาจะนั่งสมาธิเป็นเวลา ๑๐ ปีมาแล้ว มีอาการดังต่อไปนี้คือ พอนั่งปุ๊บ พอจิตสบายจะมีความรู้สึกทางที่ศีรษะ แล้วเหมือนมีอะไรเลื่อนไป เลื่อนมาอยู่บนศีรษะรอบ ๆ แต่พอเลิกนั่งแล้ว หายเหมือนปลิดทิ้ง นั่งทีไรก็เป็นอย่างนี้เป็นประจำ จึงขอคำแนะนำจากหลวงพ่อว่า อาการเช่นนี้จะมีวิธีแก้ไขอย่างไร ประการใดหรือไม่ขอรับ?
หลวงพ่อ         แก้อิริยาบถดีกว่า ถ้านั่งไม่ดีแบบนั้นใช้นอน คือใช้ยืนหรือใช้เดินก็ได้ ถนัดนอนก็นอน ดีกว่า สบายกว่า
ผู้ถาม             กรรมฐานนอนได้หรือครับ...หลวงพ่อ?
หลวงพ่อ         นั่ง นอน ยืน เดิน มีผลเสมอกันจ้ะ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน อย่างฉันนี้นอนมา ๙๐ เปอร์เซ็นต์
ผู้ถาม             นอนกรรมฐานหรือครับ?
หลวงพ่อ         ใช่ สบายมาก เข้าทั้งตัวเลย
ผู้ถาม             อ้อ นี่รับสารภาพเลย
หลวงพ่อ         ทำไม โกหกทำไม พระ? อีตอนที่ฉันลาพุทธภูมินะ และพระท่านมาบอกว่า ถ้าคุณจะลาพุทธภูมิให้ลาได้ แต่ต้องมีเงื่อนไข ภายใน ๑๒ ปีนี่ตายไม่ได้ นักเรียนทุน ๑๒ ปีผ่านมาแล้ว ก็มาอีก ๑๐ ปียังไม่ตายไม่ได้ ผ่านไปแล้วตอนนี้กำหนด ฉันขี้เกียจกำหนด ถึงเวลาก็ไม่ตาย เตรียมตั้งท่าทุกทีก็ไม่ตายสักที
ผู้ถาม             อ้อ ได้ทุนถาวร
หลวงพ่อ         ได้ทุนถาวร ก็เป็นอันว่าตอนนั้นท่านบอกว่า เมื่อสัญญาตกลงนั้นน่ะ เราคิดว่ามีชีวิตช่วงนี้อยู่กี่ปีก็ช่างมัน ก็ดีกว่าเกิดอีก ๑ ชาติ มันมีทุกข์ไม่เท่ากับเกิดอีก ๑ ชาติ ใช่ไหม... ก็ตกลงกับท่าน เป็นอันว่าขอลาพุทธภูมิ ท่านก็อนุมัติพอท่านอนุมัติ ท่านก็สั่งว่านับตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป เวลา ๔ ทุ่มตรง ฉันจะมาสอนเธอ เวลา ๒-๓ ทุ่มครึ่งให้เลิกรับแขก
                   ทีนี้พอถึงเวลา ๓ ทุ่มครึ่ง ฉันก็บอกแขก ตอนนั้นคุยกับแขกกลางคืนด้วยนะ ทีนี้มันเคยคุยถึง ๕ ทุ่ม ๖ ทุ่ม ใช่ไหม... ก็มีบางคนบอกว่า ยังไม่ถึงเวลาครับ ก็เลยบอกยังไม่ถึงเลวลาของแกก็ช่าง เวลาของฉันมันถึงแล้ว ฉันเข้าห้อง แกนั่งอยู่ยามก็แล้วกัน ฉันก็เข้าห้องฉันซิ เรื่องอะไรงานต้องเป็นงาน งานเรามีใช่ไหม
                   พอเข้าไปในห้องก็เตรียมตัวบูชาพระ ล้างหน้าล้างตาบูชาพระพอ ๔ ทุ่มเป๋ง ท่านมาทันทีตามเวลาเลย เป๋ง...ถึงเลย ในห้องมีแสงสว่างคล้ายกับไฟหลายแสนแรงเทียน...สวยมาก มาถึงปั๊บแทนที่ท่านจะบอกนั่ง ท่านบอกเธอเหนื่อยมาตั้งแต่เช้า...เพลียนอนฟังและจงคิดตามฉันพูด ท่านสอนตั้งแต่ ๔ ทุ่ม ถึง ตี ๒ ถึง ๑ เดือน สอนวิชาอะไรรู้ไหม “ทุกข์” ทุกข์ตัวเดียว ฉันมีความรู้อริยสัจแค่ “ทุกข์” ตัวเดียวนะ
ผู้ถาม             หนึ่งเดือนหรือครับ?
หลวงพ่อ         ใช่ ๑ เดือนเต็ม ค่อย ๆ พูดไปทีละข้อ ท่านพูดละเอียดมาก พูดช้า ๆ ให้คิดตาม พอถึงตี ๒ ก็กลับ อย่างนี้ทุกคืน ๑ เดือน เป็นอันว่านอนดี ถ้านอนภาวนาทุกขเวทนามันไม่เครียดใช่ไหม ถ้ามันจะหลับให้ปล่อยหลับไปเลย อย่าฝืนไว้เพราะจิตถ้าเริ่มเป็นสมาธิ กำลังใจจะรวมตัว พอถึงฌานปั๊บ จะตัดหลับ เมื่อหลับแล้วหลับกี่ชั่วโมง ก็ถือว่าทรงฌานอยู่เท่าเวลานั้น เวลาหลับเขาถือว่า “ทรงฌาน” อันนี้ได้กำไรมาก
                   ถ้าจิตเริ่มเป็นสมาธิกำลังใจจะรวมตัวมาทีละน้อย พอสมาธิมั่นคงพอถึงฌานปั๊บ มันตัดหลับทันที ตัดหลับแบบนี้สังเกตเวลาตื่น ถ้าจิตทรงฌานก่อนหลับจริงเวลาตื่น พอรู้สึกครึ่งหลับครึ่งตื่น มันจะภาวนามาเลย ไม่ต้องบังคับ เขาภาวนาเลย ภาวนาด้วยกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออด้วย เวลานั้นจะเป็นไปตามนั้น
ผู้ถาม             ถ้าปุ๊บปั๊บตายขณะนั้น ก็...
หลวงพ่อ         ไปตามกำลังฌาน เขาถือว่าก่อนจะหลับอยู่ฌานไหน เวลาหลับก็ทรงฌานนั้น ถ้าหากว่าตายขณะหลับก็ไปตามกำลังของฌาน ถ้าเป็นฌานโลกีย์ธรรมดา ก็ไปเป็นพรหม แน่นอน ถ้าบังเอิญเวลาก่อนจะหลับ มันใช้วิปัสสนาญาณควบคิดว่าการเกิดเป็นมนุษย์มันเป็นทุกข์ เราไม่ต้องการมันอีก ร่างกายเต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก เป็นทุกข์อย่างนี้เราไม่ต้องการอีก คำว่า “ไม่ต้องการร่างกาย” นี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ ถ้าตายเวลานั้น จะไปนิพพานทันที
ผู้ถาม             อย่างนี้ไม่ต้องลงทุนอะไรเลยนะครับ?
หลวงพ่อ         ก็ต้องลงทุนนอนหน่อย (หัวเราะ) นั่ง นอน ยืน เดิน มีผลเสมอกัน
ผู้ถาม             ขอถามอีกนิดหนึ่งครับ ตอนที่สมเด็จท่านสอนทุกข์นี่ใช้ภาษาอินเดียหรือภาษาอะไรครับ?
หลวงพ่อ         ภาษาไทยชัดมาก เพราะมาก เสียงเพราะจริง ๆ เสียงกังวาล อย่าลืมว่าพระพุทธเจ้าคนภาษาไหน เวลาเทศน์จะเป็นภาษานั้นหมด เวลาฟัง ๑๐ ภาษาก็ต่างคนต่างรู้เป็นภาษาของตนเอง เป็นอัจฉริยะไง อัศจรรย์ยังไงล่ะ เทศนาปาฏิหาริย์ เทศน์เป็นปาฏิหาริย์ แต่ใครนั่งด้านไหนก็ตาม จะถือว่าพระพุทธเจ้าหันหน้าไปหาเสมอ ไม่มีคำว่า “หลัง” ไม่มีคำว่า “ข้าง” ดีไหม
ผู้ถาม             เสียดายนะ เกิดทันตอนนั้นป่านี้ก็
หลวงพ่อ         ป่านนี้ก็ลงอเวจีไปแล้ว (หัวเราะ)

นั่งสมาธิเวียนศีรษะ
ผู้ถาม             คือว่าไม่ทราบเป็นเพราะเหตุไร เวลานั่งสมาธิคราวใดจะมีความรู้สึกเวียนศีรษะ มีความคลื่นเหียนเป็นอย่างมาก แต่เมื่อลูกตรวจดูแล้ว ก็ปรากฏว่าในอดีตชิตเคยมีแมวกัดลูก เมื่อนั่งทีไรก็มีอาการอย่างนี้เกิดขึ้นทุกครั้ง จึงอยากจะกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า ก่อนนั่งควรจะทำอย่างไร... อาการอย่างนี้จึงจะไม่เกิดขึ้นอีกเจ่าคะ?
หลวงพ่อ         ลำบากเหมือนกันนะ เอาอย่างนี้ซิ ก่อนจะนั่ง อุทิศส่วนกุศลให้ ขอให้แมวอโหสิกรรมเสียก่อน แล้วก็ทำจิตให้เป็นสุข อย่าให้เครียดเกินไป กรรมฐานทำใจให้สบาย ๆ ถ้าเครียดเกินไป มันก็เวียนหัวเหมือนกัน อาจจะเครียดเกินไปละมั้ง จะตั้งใจเอาดีมากไปนะ
ผู้ถาม             อ๋อ ทำกรรมฐานนี่ ต้องใจสบาย ๆ หรือครับ?
หลวงพ่อ         ก็ มัชฌิมาปฏิปทา ไงล่ะ เธอทั้งหลายจงละส่วนสุด ๒ อย่าง คือ ๑.กามสุขัลลิกานุโยค คืออย่าอยากได้เกินไป ๒.อัตตกิลมถานุโยค เคร่งครัดเกินไป ถ้าส่วนสุด ๒ อย่าง อย่างหนึ่งอย่างใดมีกับเธอ เธอจะไม่บรรลุมรรคผล ขอทุกคนจงตั้งอยู่ใน มัชฌิมาปฏิปทา คือ “พอสบาย ๆ”

ทำสมาธินิ่ง
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพ คือเวลาที่ลูกนั่งปฏิบัติพระกรรมฐาน เวลาจิตสงบแล้วจะนิ่งไปเลย นิ่งไปชนิดที่เรียกว่า ไม่รับรู้ไม่รับทราบ มันนิ่งไปเฉย ๆ ข้างล่างก็ไม่ไป ข้างบนก็ไม่ไป ลูกก็เกรงว่าถ้าหากตายไปในลักษณะนิ่งไม่รู้สึกอย่างนี้จะไปในที่ไม่ดีไม่ชอบเป็นแน่ จึงกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า มีคำแนะนำอย่างไรต่อไปจากนิ่งเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         มันนิ่ง ต่อไปก็นอน โธ่เอ๋ย เขาก็ต้องการกันแค่นิ่ง ไอ้นิ่งเป็นอารมณ์ของฌาน มันเป็นอุเบกขาใช่ไหมล่ะ ถ้าจิตเป็นอุเบกขาจัดว่าเป็นฌานสูง ต้องการกันแค่นั้น จะไปนิพพานหรือไม่ไปนิพพานอยู่ที่อารมณ์ต้น ก่อนที่เราจะภาวนาต้องพิจารณาใคร่ครวญก่อน ตัดสินใจว่าเราจะไปที่ไหนก่อน ถ้าตายแล้วจะไปไหน อย่างที่เคยบอกไว้นะ แล้วเราก็ภาวนา ถ้าจิตเป็นสมาธิถ้าตายเมื่อไร เราก็ไปตามที่เราต้องการเมื่อนั้น

อารมณ์ดิ่ง
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง หลวงพ่อ พูดถึงเรื่องอารมณ์ดิ่งในการทำสมาธินั้น หลวงพ่อบอกว่า เป็นอารมณ์ฌาน ทีนี้พอลูกมาทำบุญกับหลวงพ่อ พอเห็นหน้าหลวงพ่อปุ๊บ ก็มีอารมณ์ดิ่งอย่างนั้นปั๊บทันที อยากจะหลับตาทำสมาธิก็หลับไม่ได้ ทำไมจึงเป็นอย่างนั้นเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         ความจริงไม่จำเป็นจะต้องนั่งหลับตาหรอก ถ้าดิ่งแบบนั้นก็มีสมาธิแบบนั้น ก็มีสมาธิ ๒ อย่าง สังฆานุสสติ กับ จาคานุสสติ นึกถึงพระเป็นสังฆานุสสติ อันนี้ดีมาก
ผู้ถาม             พูดถึงว่าถ้าจะให้ดียิ่งขึ้นไปกว่านี้ ตอนอารมณ์ดิ่งจะต้องทำอะไรเพิ่มเติมอีกเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         โดดขึ้นหลังคา เอาขาไปแขวนกับต้นไม้ หัวห้อยลงมา ไม่ต้องหรอก เอาแค่นั้นพอนะถ้าเลยไปต้องทำแบบนั้น

ภาวนาปนเป
ผู้ถาม             กราบเท้านมัสการหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ขณะนี้ลูกใช้คาถาเงินล้านของหลวงพ่อผสมปนเปกันไป จนกระทั่งไม่แน่ใจเสียแล้ว กล่าวคือคาถาก็ว่าเต็มบท อานาปาก็จัก พิจารณาขันธ์ ๕ ก็คิด นิพพานก็จะไป ทำไปทำมาเดี๋ยวนี้ชักขลุกขลักเสียแล้ว ก็เลยเริ่มต้นแบบเดิมอีก ก็อยากกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า อันนี้เป็นเพราะอารมณ์ของจิตของลูกฟุ้งซ่านไปหรือเปล่า และจะแก้ไขอย่างไรครับ?
หลวงพ่อ         ใช้เวลาซิ เวลาไหนจะใช้อะไร แต่ว่า อานาปานุสสติ ต้องใช้ประกอบเสมอไปนะ ทุกอย่างจะทำอะไรก็ตาม ต้องขึ้นต้นด้วยอานาปานุสสติ กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ว่าช้า ๆ สบาย ๆ อักขระชัดเจน

ขณะภาวนามีอารมณ์ฟุ้งซ่าน
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ปัจจุบันนี้การปฏิบัติธรรมของกระผมชักจะแย่ลงไปเลยเกิดปัญหาขึ้นมาว่า ในขณะที่กำลังภาวนา “นะมะ” เข้า “พะธะ” ออก ปรากฏใจของลูกแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งอยู่กับองค์ภาวนา ส่วนหนึ่งฟุ้งซ่านออกไปข้านอก ฟุ้งซ่านไร้สาระ อารมณ์แบบนี้เกิดขึ้น จึงทำให้ตัวเองต้องวิตกกังวลว่า หากตายในขณะที่จิตซีกหนึ่งฟุ้งซ่าน จะตกนรกเป็นอย่างแน่ ขอบารมีหลวงพ่อช่วยชี้แนะแก้ไขด้วยเถิดขอรับ
หลวงพ่อ         ไม่เป็นไร... แบ่งเป็นสองซีก ซีกที่ภาวนาอยู่เกิดเป็นนางฟ้าและพรหม อีกซีกหนึ่งเกิดในนรก เดี๋ยวก่อนที่เขาถามมานี่เป็นเรื่องธรรมดานะ ถ้ายังไม่ถึงอรหันต์เพียงใด ความฟุ้งซ่านย่อมมีกับคน แต่ให้ดูกำลังใจว่า เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ไหม เอาแค่นี้พอ ถ้าจิตยังมีความเคารพอยู่ถือว่าไม่เหลวงไหล เรื่องคิดออกนอกทางเป็นของธรรมดา
                   ดูตัวอย่าง พระอัสสชิ พระอัสสชินี่เป็นพระอรหันต์รุ่นแรกรุ่น ๕ องค์ เวลาที่จะนิพพานเป็นโรคทางกระเพาะหนัก ปั่นป่วนมาก จิตใจก็ฟุ้งซ่าน ก็ให้พระไปนิมนต์พระพุทธเจ้ามา พอพระพุทธเจ้ามาก็กราบทูลว่า “บัดนี้ความดีของข้าพระพุทธเจ้าสบายตัวเสียแล้ว ความดีหมดไปเหลือแต่ความชั่ว ... จิตฟุ้งซ่าน
                   พระพุทธเจ้าถามว่า “อัสสชิ เธอระงับกายสังขารไม่ได้หรือ” (คืออานาปา) ท่านบอก “ระงับไม่อยู่ครับ มันฟุ้งใหญ่ มันเสียด” พระพุทธเจ้าถามว่า “อัสสชิ เธอเห็นว่าร่างกายเป็นของเธอหรือ” ท่านบอก “ไม่ใช่ พระเจ้าข้า” ในเมื่อมีความรู้สึกอย่างนี้ พระพุทธเจ้าบอกว่า “ความดีของเธอไม่เสื่อม ยังทรงตัวอยู่” พระอรหันต์ก็ฟุ้งซ่านเหมือนกันเวลาป่วยหนัก และที่คิดว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรามันไม่มี คือไม่ต้องการโลกต่อไป ใช่ไหม สำหรับญาติโยมที่ถามเมื่อกี้นี้ ไม่เป็นไรนะ จิตยังเคารพพระอยู่...เป็นใช้ได้

เคยเป็นมิจฉาทิฏฐิ
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง กระผมเคยเป็นมิจฉาทิฏฐิอยู่ครั้งหนึ่ง คือคิดว่าพระอรหันต์ที่เหาะได้ แสดงว่ากิเลสยังไม่หมด เพียงแค่ปรามาสเท่านี้เอง ปรากฏว่าภายหลังผมเจริญพระกรรมฐานแล้ว สมาธิไม่เคยผ่องใสเลย กระผมขอกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า กระผมต้องการนิพพานในชาตินี้ เมื่อเป็นอย่างนี้อยู่ จะมีทางแก้ไขอย่างไรหรือไม่ขอรับ?
หลวงพ่อ         ขอขมาโทษต่อพระพุทธเจ้า ปรามาสตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไป ขอขมาโทษเป็นส่วนตัวไม่หาย ต้องขอขมาโทษตรงต่อพระพุทธเจ้านะ

ครวญเพลงทำสมาธิได้ดี
ผู้ถาม             เวลาปรกติแล้ว ลูกก็ปฏิบัติตามคำสั่งหลวงพ่อมาด้วยดีโดยตลอด แต่ที่จะออกนอกคอกอยู่สักนิด ก็คือว่า เวลาที่ลูกครวญเพลงเบา ๆ ทีไร อารมณ์จะเป็นสมาธิ เห็นอะไรต่ออะไร แบบชนิดที่ว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ แต่พอจับคำภาวนานั่งสมาธิกลับไม่เห็นอะไรเลย ในลักษณะอย่างนี้ จึงทำให้กระผมมีความอึดอัดเป็นอย่างมาก เกรงว่าครวญเพลงเกิดสมาธิ ตายแล้วตกนรก
หลวงพ่อ         อ้าว ๆ ที่นรกไม่มีเพลงนะ ถ้าพวกเพลงนี่ต้องไปอยู่ ดาวดึงส์ ทั้งรำทั้งเพลงเลย ความจริงการครวญเพลงของเขา จิตเป็นสมาธิขั้นอุปจารสมาธิ ครวญเพลงก็ดีหรือว่าสวดมนต์ก็ตาม หรือว่าฟังเทศน์ก็ตาม เวลานี้จิตอยู่ในขั้นอุปจารสมาธิ เวลานั้นอารมณ์เป็นทิพย์ เห็นอะไรได้ สำหรับคนนี้เวลานั่งทำสมาธิแน่นเกินไป เลยอุปจารสมาธิ ถ้าถอยกำลังใจตั้งอยู่อุปจารสมาธิจะเห็นชัดกว่ามาก
ผู้ถาม             ครับ...!

การดูมหรสพ
ผู้ถาม             ลูกชอบดูละคร โขน หนัง เรียกว่าติดเอามาก ๆ เลย มีความลุ่มหลงเป็นอย่างมาก ลูกอยากจะเรียนถามว่า การดูมหรสพเพื่อเป็นแนวทางพระกรรมฐานนั้น เราควรจะดูแบบไหน และใช้ปัญญาแบบไรเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         ใช้ปัญญาแบบ พระสารีบุตร พระโมคคัลลาน์ เอาอย่างนี้ซิ ถ้าดูแบบวิปัสสนาญาณ ก็เห็นว่าผู้แสดงนี้เป็นทุกข์ ไม่ทุกข์เขาไม่มาแสดง เขาต้องการสตางค์เพราะเขาไม่มีเงิน ต่อมาแสดงเมื่อมันเหนื่อยก็ทุกข์ คนแสดงก็ดี คนดูก็ดี ไม่ช้าก็ตายเหมือนกันหมด ทุกคนต่างคนต่างตาย พระสารีบุตร พระโมคคัลลาน์ คิดแบบนี้
                   ท่านบอกว่า คนที่แสดงมหรสพก็ตาม คนดูก็ตาม ทั้งหมดนี้มีอายุไม่ถึง ๑๐๐ ปีก็ตายหมด ไอ้เราก็ต้องก็ตาย ไอ้เราก็ต้องกตายเหมือนกัน ทีนี้ในโลกนี้มีของคู่กัน มีผู้หญิงก็ต้องมีผู้ชาย มีมืดก็ต้องมีสว่าง ฉะนั้น ธรรมที่ทำให้คนตายมีอยู่ ธรรมที่ทำให้คนไม่ตายก็ต้องมี

เบื่อวัฏฏจักร
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา หนูไม่เคยปฏิบัติกรรมฐาน ไม่เคยฟังเทศน์เลย แต่มีความรู้สึกอย่างนี้เจ้าค่ะ คือเบื่อในวัฏฏะเจ้าค่ะ มันเกิดขึ้นเองโดยไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก่อน (เบื่อแบบนี้ไว้ใจได้หรือเปล่าก็ไม่รู้) ตอนนี้ลูกก็มีอายุแค่ ๓๔ ปี อยากจะอยู่สัก ๕๐-๖๐ ปี แล้วก็ตั้งใจจะไปไม่กลับเลย อารมณ์อย่างนี้ ลูกควรจะเพิ่มเติมอย่างไรอีกเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         อารมณ์นี้ดี ... เป็นนิพพิทาญาณ ไม่เคยเจริญกรรมฐานเลยนะ ไม่แน่หรอก เพราะว่าชาตินี้ไม่ได้เจริญ แต่ชาติก่อนเจริญ ผลของบุญนี่นะ ถ้าสนองขึ้นมาเมื่อใด สังเกตในสมัยพระพุทธเจ้า คนไม่เคยเรียนอะไรเลย ฟังเทศน์จบเดียวเป็นอรหันต์พร้อมไปด้วยปฏิสัมภิทาญาณ นั่นแสดงว่าบุญเก่าเขาเต็ม รายนี้ก็เหมือนกัน จะถือว่าไม่เคยเจริญกรรมฐานไม่ได้ ชาตินี้ไม่ได้ทำแต่ชาติก่อนทำ บุญอันนั้นมาสนอง แต่ระวังให้ดีนะ มันเป็นฌานโลกีย์ มันเสื่อมได้ ต้องระมัดระวังให้มาก

สมาธิเสื่อม

ดูข้างล่าง

ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกเชื่อคำแนะนำของหลวงพ่อทุกอย่าง แต่ว่าเรื่องสมาธินี่ ไม่ทราบว่าระยะนี้เป็นอย่างไร ชอบตกอยู่เรื่อย ๆ พยายามยกเอาจิตขึ้นสู่องค์ภวังค์ ขึ้นมาแป๊บเดียวมันก็หล่นลงไปอีก เบื่อเหลือเกินเจ้าค่ะ สมาธินึกขึ้นได้ว่าหลวงพ่อแก้ปัญหาเก่ง สามารถจะยกจิตขึ้นมาได้ ขอให้หลวงพ่อช่วยแนะนำอีกเถิดเจ้าค่ะ
หลวงพ่อ         ขอยืมบุ้งกี๋เหล็กเขามา เอาตักจิตยกขึ้นมา (หัวเราะ) เอาอย่างนี้ซิ เรื่องนี้เป็นของธรรมดา ทำไป ๆ ต่อไปเมื่อกำลังจะดีบ้าง กิเลสมาร ก็เข้ากวนใจ ทุกคนเป็นเหมือนกัน ก็เกิดมีอารมณ์เบื่อบ้าง มีอารมณ์มืดบ้าง พอดีร่างกายไม่ค่อยสบายก็มีอารมณ์มืด ทีนี้การภาวนามันมีสองอย่าง อารมณ์ทรงตัว กับ อารมณ์คิด ถ้าทรงตัวไม่ไหวก็ใช้อารมณ์คิด คิดว่ายังไง
                   มันจะแก่ก็ช่างมัน มันจะตายก็ช่างมัน มันจะป่วยก็ช่างมันหวยจะกินก็ช่างมัน ฝึกไว้มันจะชิน คิดว่าทุกอย่างมันเป็นไปตามกฎของกรรม ขึ้นชื่อว่ากฎของกรรม ไม่มีใครหลีกเลี่ยงได้ พระพุทธเจ้าเองยังโดน เราก็เหมือนกัน ขอทำชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายตายแล้วเลิกกัน... ไปนิพพานอารมณ์แทรกซ้อน
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง เวลาลูกเริ่มไหว้พระสวดมนต์ อันดับแรกจะต้องหาวาจนน้ำตาไหลทั้ง ๆ ที่ไม่เคยง่วง อีกอย่างหนึ่งชอบมีอารมณ์แทรกซ้อน เวลาเจริญอานาปานุสสติกรรมฐาน คิดโน่นคิดนี่ เผลอ ๆ ก็เป็นฝ่ายอกุศลอารมณ์อย่างนี้จะมีวิธีแก้ไขอย่างไรหรือไม่ เพราะเป็นปรกติเลยขอรับ?
หลวงพ่อ         เป็นของธรรมดา ทุกคนเป็นเหมือนกัน เขาเรียกว่า นิวรณ์ นิวรณ์ตัวที่ ๒ กับนิวรณ์ตัวที่ ๔ นิวรณ์ตัวที่ ๒ คืออารมณ์โกรธไม่พอใจ นิวรณ์ตัวที่ ๔ คือ อารมณ์ฟุ้งซ่าน เราก็ถอยหลังเสียใหม่ พักสักประเดี๋ยวหนึ่ง ดูอะไรให้มันเพลิน ๆ พอเริ่มใหม่ปั๊บ จับลมหายใจเข้าออก เอาจิตจับเฉพาะลมหายใจเข้าออกให้มันทรงตัว ทีสองทีก็เป็นที่พอใจแล้ว

ทำอารมณ์ก่อนผ่าตัด
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม หมอจะผ่าตัดลูกด้วยเหตุที่เป็นเนื้องอก ลูกไม่อยากผ่าตัดเลยเพราะกลัวตาย แต่ก็ไม่เชิงกลัว (เอ๊ะ ยังไง) คือลูกอยากจะถามหลวงพ่อเดี๋ยวนี้ว่า ก่อนที่เขาจะลงมือผ่าตัด ลูกควรจะทำอารมณ์พระกรรมฐานแบบไหน เวลาตายตอนนั้นจะได้ตายสบาย?
หลวงพ่อ         เอาอย่างนี้ซิ พุทโธ นึกถึงพระพุทธเจ้าหรือพระพุทธรูปก็ได้ ไง ๆ ก็ยังไม่ตายวันนี้ เขายังไม่ถึงเวลาตาย ไอ้เวลาตายคือเวลาไม่หายใจ นี่ผ่าตัดอีกสัก ๓ ครั้งก็ยังไม่ตายคนนี้นะ แต่ว่า เขาต้องการอารมณ์กรรฐานนะ ... ดีแล้ว พุทโธ ก็แล้วกันสำคัญมาก ถ้าหากว่าได้มโนมยิทธิจับพระนิพพานเป็นอารมณ์พุ่งไปนิพพานเลย ไปนิพพานนี่ดีนะ คือว่าหมอไปทำฟันฉันทั้งหมดนี่ ๒๘ ครั้ง ขูดบ้าง เจาะบ้างอะไรบ้างนะ ฉันกลัวปวดกลัวเสียวฉันก็เปิดไปนิพพาน หมอต้องเรียกเวลาเลิก
ผู้ถาม             ทำไมครับ หลวงพ่อ?
หลวงพ่อ         ไม่รู้สึก เพลิน คราวหนึ่งเมื่อรู้สึกจะเสียว พอเริ่มเสียวนิด ฉันก็เปิดไปเลย หมอก็ทำไปตั้งแต่ ๒ โมงครึ่งเช้า ถึง ๕ โมง ๑๕ นาที หมอเรียกฉันรู้สึกตัว ถามหมอเสร็จแล้วหรือ หมอถามว่าเจ็บไหม พอแกถามว่าเจ็บไหม ทีนี้ไปเลย (หัวเราะ) ความจริงยังไม่เจ็บนะ ก็เลยคิดว่าน่ากลัวมันจะเจ็บจะเสียว ใช่ไหม... เขาถามว่าเจ็บไหม เสียวไหม หลวงพ่อ? ฉันก็ไม่พูด ไปเลย
ผู้ถาม             จะผ่าตัดหรือจะทำอะไร เราจู๊ดไปเลย นี่
หลวงพ่อ         นึกถึงนิพพานไว้เป็นอารมณ์ ถ้าบังเอิญมันตายเวลานั้น ก็ไปนิพพานเลย

ทำสมาธิชอบโกรธ
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกทำสมาธิทีไร กิเลสตัวหนึ่งที่ลูกแก้ไม่ได้ คืออารมณ์โกรธ เวลาปรกติก่อนนั่งสบาย หัวเราะร่าเริง พอเข้านั่งสมาธิทีไร เดี๋ยวไอ้โน่น เดี๋ยวไอ้นี่มารบกวน โดยสถานที่นั้นก็เงียสนิท ทีนี้ก่อนจะนั่งจะตั้งจิตอธิษฐานว่าอย่างไร เวลาทำกรรมฐานจึงจะไม่มีอารมณ์โกรธเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         เอาอย่างนี้ซิ ไม่โกรธหนอ ๆ ๆ (หัวเราะ)
ผู้ถาม             หายไหมครับ
หลวงพ่อ         อาจจะไม่หาย ก็ทำใจสบาย คิดว่าเป็นเรื่องธรรมดาเสียงที่อื่นจะเข้ามาก็เป็นเรื่องของเขา เพราะเสียงนี้เราไม่ต้องการ สิ่งที่เราต้องการคือคำภาวนากับรู้ลบมหายใจเข้าออกเท่านี้ก็พอแล้ว

ชอบถูกนินทา
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อเจ้าขา ลูกมีเวรมีกรรมอะไรก็แก้ไม่นาย ทำบุญสงเคราะห์อนุเคราะห์คนอื่นทีไร ทีแรกเขาก็ยกยอปอปั้นดี พอลับหลังก็นินทาแหลกเลย ในลักษณะอย่างนี้ทำให้ลูกมีอารมณ์ขุ่นหมอง จิตเศร้าหมองเป็นประจำ ขอกรรมฐานของหลวงพ่อช่วยแนะนำอารมณ์ประเภทนี้ด้วยเถิดเจ้าค่ะ?
หลวงพ่อ         แก้อารมณ์เรอะ ฉันคิดว่าแก้อาการ
ผู้ถาม             อารมณ์กับอาการไม่เหมือนกันหรือครับ?
หลวงพ่อ         ไม่เหมือน... อาการคือถูกนินทา อารมณ์ก็ขุ่นมัวอาการอย่างนี้นะฉันเจอเป็นปรกติ พระเจ้าอยู่หัวท่านเคยตรัส สมัยก่อนเคยไปเฝ้าท่านนะ ท่านก็เล่าเรื่องคนนินทาท่านให้ทราบ ท่านเล่าหลายเรื่อง มาตอนหลังท่านบอกว่า เมื่อก่อนนี้เขาหาว่าผมฆ่าพี่ แต่เดี๋ยวนี้เขาหาว่าผมฆ่าพ่อตา เขาลือบอกว่า พ่อตาผมเป็นไข้ เอาเหล้ากรอกปากแล้วพาวิ่งตายไปเลย
                   ก็เลยบอกว่า พระองค์แบบไหน อาตมาก็แบบนั้นแหละ ให้เขาเขาก็ด่า ไม่ให้เขาเขาก็ด่า แต่เราให้เป็นการตัดกิเลสของเราเป็นของธรรมดา ท่านถามหลวงพ่อคิดยังไงครับ เลยบอกว่าใช้คาถาบทหนึ่งว่า “ช่างมัน ๆ” และถามว่าพระองค์ล่ะ ผมคิดว่า “เรื่อย ๆ ครับ” คือว่าของอย่างนี้เป็นธรรมดา แต่ว่าเราทำดีก็แล้วกัน
ผู้ถาม             โอ นี่แสดงว่า พระทัยของพระองค์นี่ปลงตกเหมือนกันนะ
หลวงพ่อ         ท่านเก่งมาก เรื่องปลงนี่เก่งมาก สมาธิก็เก่งจัด การเข้าฌานออกฌานก็เก่งมาก และใช้กำลังใจได้ด้วยนะ ท่านเป็นอัจฉริยะทุกอย่าง ถ้าไม่คุยกับท่านจะไม่รู้เรื่อง เรื่องธรรมะนี้ละเอียดลออมาก ทั้ง ๆ ที่มีเวลาน้อยนะ แต่ว่าละเอียดลออมาก

ช่วยเขาแต่ถูกด่า
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกเองก็ไม่รู้ว่าจะมีกรรมเก่ากรรมใหม่เป็นประการใด คือว่าลูกเป็นคนมีเมตตา ชอบช่วยเหลือเผื่อแผ่คนบ้านใกล้เรือนเคียง และคนเดือดร้อนทั่วไปเสมอ ติดใจอยู่นิดหนึ่งก็คือว่า ทุกคนที่ได้รับการช่วยเหลือไปแล้วนั้น เขาไม่เคยรู้บุญคุณของลูกเลย เขากลับมาเยาะเย้ย “เอ็งมันโง่ เสือกช่วยข้า” ลูกก็มานึกถึงหลวงพ่อว่าวิธีทำบุญให้เขานึกถึงบุญคุณของเรานี้ จะทำแบบไหนเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         ความจริงโรคเดียวกับฉันนะ ก็ถูกด่ามาเรื่อย ๆ
ผู้ถาม             โอ หลวงพ่อเป็นเหมือนกันหรือครับ?
หลวงพ่อ         สมัยก่อนหนัก หนักมาก ในเมื่อเราเป็นโรคเดียวกันรักษาหายนะ ให้ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดา ทำบุญให้ถือว่าทำบุญ ถ้าทวงคุณอานิสงส์มันต่ำ เราถือว่าเราให้ไป เราสงเคราะห์เพื่อเป็นทานใช่ไหม ปล่อยไปเลย ถ้าเขาอกตัญญู ไม่รู้คุณมาสองเราแบบนั้น เขาลงนรกเป็นเรื่องเของเขา อย่าไปยุ่งกับเขา
ผู้ถาม             โอ ขนาดหลวงพ่อยังเป็นเลยนะ
หลวงพ่อ         พระพุทธเจ้ายังเป็น โดนเทวทัตล่อเห็นไหมล่ะ

โกรธแล้วถึงมีสติ
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ลูกเป็นคนนิสัยไม่ดีนิดเดียว คือเป็นคนที่โกรธแล้วจะมีสติในภายหลัง ทีนี้ก็อยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า ควรจะทำอย่างไร จึงจะมีสติก่อนที่เราจะโกรธเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         เอาอย่างนี้ซิ พอลุกมาตอนเข้าก็ตะโกน “สติโว้ย...มาพร้อมกันโว้ย” “สติโวย...มาบริบูรณ์โว้ย” “สติโว้ย...มาทั้งหมดโว้ย” ร้องอย่างนี้ทุกวันเลย สติไม่ไปไหนนะ หัดเจริญ อานาปานุสสติ ซิ

ชอบอาฆาตพยาบาทผู้อื่น
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ลูกมีกิเลสที่เลวร้ายอยู่หนึ่งตัว กล่าวคือ ความเคียดแค้นอาฆาต พยาบาทจองเวรกับผู้อื่นทั้ง ๆ ที่เมตตาก็แผ่แล้ว เทปหลวงพ่อก็ฟังแล้ว หนังสือหลวงพ่อก็อ่านแล้ว สมาธิก็ทำแล้ว แต่ปรากฏว่าแก้ไม่ตก วันนี้อยากจะขอทีเด็ดจากหลวงพ่อว่า จะมีทางแก้ไขอย่างไร เพราะเกรงว่าอาฆาตเคียดแค้น ตายแล้วจะลงนรกเจ้าค่ะ?
หลวงพ่อ         ทีเด็ดก็คือว่า ไปหาถ้ำไกล ๆ จะได้ไม่โกรธคนอื่น ถ้าอย่างนี้เขาดีแล้วนี่ เขารู้ว่ามันไม่ดี แสดงว่าคนนี้เริ่มดีมากแล้ว ใช้อารมณ์เดิมก็แล้วกันนะ ค่อย ๆ ลดไปนะ อย่างนี้ดีมากแล้ว ไม่ใช่ไม่ดีนะ เขารู้ว่าเลวแสดงว่าดีขึ้นนะ ที่พระพุทธเจ้าทรงบอกว่า “บุคคลรู้ตัวว่าเป็นพาล ท่านบอกว่าบุคคลนั้นคือบัณฑิต” ทีนี้คนที่เขาคิดว่าอารมณ์นี้มันเลว แต่ความจริงที่รู้ว่าเลวน่ะ ต้องเป็นคนดีแล้ว ถ้าไม่ดีไม่รู้ว่าเลว
                   และประการที่ ๒ ถ้ารู้ว่าเลวแล้ว ไม่กล้าเปิดเผย ยังลงอยู่นี่เขาเปิดเผยตัวเองก็ต้องถือว่าดีมาก ค่อย ๆ ทำก็แล้วกันจะหายไปเอง

ชอบทะเลาะกัน
ผู้ถาม             กราบเท้าพระเดชพระคุณหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกมีเรื่องจะขอคำแนะนำจากหลวงพ่อ คือว่าที่บ้าน ของลูกครอบครัวไม่รู้เป็นยังไง ทะเลาะวิวาทเสียดด่า มีอันจะต้องเดือดร้อนกันอยู่เสมอ
หลวงพ่อ         ดี ๆ ๆ ๆ
ผู้ถาม             อะไรครับ หลวงพ่อ แกด่ากันทะเลาะกัน
หลวงพ่อ         ออกกำลังกาย ใช้ปัญญาบารมี (หัวเราะ) เอ๊ะ ด่าแบบไหนจะดีนะ ใช้ปัญญาเรื่อย ๆ นี่ล่ะ โลกธรรม
ผู้ถาม             เขาบอกว่า แม่ก็ศาสนาหนึ่ง ลูกก็ศาสนาหนึ่ง คือในบ้านมีทั้ง ๓ ศาสนา มีพุทธ มีคริสต์ มีอิสลาม แต่ที่ร้ายที่สุดก็คือว่า ศาสนาอิส...นะ ชอบรังแกพุท และชอบว่าพระพุทธรูป ดิฉันก็โกรธก็บอก “นี่ของใครของมันซิวะ”
หลวงพ่อ         เออ...เขาถูกต้องนะ
ผู้ถาม             วะ...นี่ถูกต้องหรือครับ?
หลวงพ่อ         ถูกต้อง วะ...นี่แปลว่าหนักแน่นนะ
ผู้ถาม             ก็เลยเป็นอันเถียงกันไปเถียงกันมาแบบนี้ ที่จะกราบเรียนถามโดยสรุปก็คือว่า ลูกควรจะทำอารมณ์จิตแบบไหน ที่สามรถจะต้านอารมณ์ที่มายั่วเย้า หรือยุแหย่ ทำให้ลูกเดือดร้อนได้เจ้าคะ?
หลวงพ่อ         ถือว่าเป็นกฎธรรมดาของชาวโลก ชาวโลกถ้าเกิดมาแล้วต้องถูกนินทา วันนี้แนะนำว่า นัตถิ โลเก อนินทโต คนที่ไม่ถูกนินทาเลยไม่มีในโลก นี่พระพุทธเจ้าพระพุทธรูปแท้นะ ท่านเป็นอิฐเป็นปูน พูดไม่ได้ยังถูกนินทาเลย ได้เราล่ะ
ผู้ถาม             อย่างนั้นก็ให้มันนินทาให้มันด่าต่อไป
หลวงพ่อ         ถ้านินทาด่าจริง ๆ ถ้าเก่งจริงนะ เขาต้องไม่เลิก ๒๔ ชั่วโมง ไม่กินข้าวไม่กินปลา ด่าเรื่อย...นินทาเรื่อย
ผู้ถาม             แม้แต่จะปวดท้องขี้ปวดท้องเยี่ยว
หลวงพ่อ         ไม่เลิก ไม่ไปขี้ด้วย
ผู้ถาม             ไหวหรือครับ...หลวงพ่อ?
หลวงพ่อ         ก็นั่นซิ เดี๋ยวแพ้เราเองแหละ เราเฉยไว้ก็หมดเรื่องกันนะ
ผู้ถาม             ใช้ตำราหลวงพ่อ
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ ช่างมัน ๆ ๆ

ทุกข์เรื่องสามี
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา สามีของลูกไม่ค่อยอยู่กับร่องกับรอยอีเหละเขะขะ แบบสิบแปดมงกุฎ มีเพื่อนเขาแนะนำว่าให้ไปหาหมอแขก เขาสามารถจะทำผู้จิตผูกใจให้แน่นปึกเลยเจ้าค่ะ ลูกเกรงว่าถ้าทำไปแล้วจะเกิดบาปเกิดโทษ ลูกคิดไปอย่างนั้น คือลูกเกรงว่ามโนมยิทธิของลูกจะเสื่อมหาย ฉะนั้นลูกมาพึ่งบารมทีหลวงพ่อดีกว่า วิธีที่จะยึดจิตของผัวโดยธรรม วิธีนั้นขอหลวงพ่อช่วยแนะนำสักครั้งเถิดเจ้าค่ะ
หลวงพ่อ         มีอย่างเดียว ยิ้มตลอดเวลา นี่ชนะจริง ๆ นะ มาเวลาไหนก็ยิ้ม มาดึกมาดื่นก็ยิ้ม ยิ้มไว้เถอะ ไมข้าเลิก
ผู้ถาม             อย่างนี้ไม่ต้องว่าคาถาอะไรเลยหรือครับ?
หลวงพ่อ         คาถาว่าให้มันเหนื่อย ถ้าหากว่าเราว่าคาถา ด่าเขา เขาไม่เข้ามาหรอก เห็นไหมล่ะนี่จริง ๆ นะ ได้ผลนะ จะมาดึกมาดื่นแล้วก็ตามใจ เห็นหน้าก็ยิ้มไปเถอะ พยายามยิ้มไว้ไม่ช้าเกรงใจ ถ้ายิ้มไว้เรื่อย ๆ ไม่หิ้ว เลิกหิ้ว เขามีตัวอย่างอยู่แล้ว เมื่อก่อนฉันเคยแนะนำวิธีนี้สมัยอยู่กรุงเทพฯ หลายคนนะ โดยมากพวกภรรยาจะไปเล่าให้ฟัง ใช่ไหม ว่าผัวกินเหล้าเมายาและก็เจ้าชู้ บอก “คุณกลับไปตั้งใจยิ้มอย่างเดียว...อย่าบ่น จะไปเวลาไหนก็เตรียมตัวไว้ได้เลย”
                   ถ้าเป็นนักเที่ยว ก่อนกลับมาจากทำงาน เราซักเสื้อรีดผ้าเสร็จ บอกเสี้อผ้ารีดให้แล้ว ไม่ช้าไม่กี่วัน...คุณ ไม่เกิน ๑๕ วันชักปลดจังหวะช้าลง...ไปน้อย ประมาณเดือนเศษ ๆ อยู่นั่นไม่ยาว... ไม่ยาก
ผู้ถาม             ขนาดหลวงพ่ออยู่วัดยังรู้วิธีปราบ
หลวงพ่อ         (หัวเราะ) ไม่ใช่อะไร ไอ้ทีแรกจริง ๆ นะ ฉันใช้วิธีนี้ วิธียิ้มนะ แต่ว่าต้องเอาแป้งมาให้กระป๋องหนึ่ง สตางค์ ๖ บาท ธูป ๕ ดอก เทียน ๑ เล่ม จะเสกให้ แต่ว่าจะเสกนี่ต้องเสก ๓ เดือน ให้ระหว่างที่ก่อนจะเสกนี่ ต้องยิ้มไว้เสมอ ๆ นะ ความจริงไม่เสกวางไง้เฉย ๆ (หัวเราะ) พอถึง ๓ เดือนแกก็มาเอาใช่ไหม สตางค์ก็คืนไปบอกว่า สตางค์นี่ไปซื้อของใส่บาตรบูชาครูก็ไปใช้ไม่กี่วันบอกกลับมาชนะแล้ว เพราะอะไร แกเลิกหยุดก่อน ๓ เดือน ใช่ไหม
ผู้ถาม             โอ...ยังไม่ทันจะใช้แป้งเลยได้ผล
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ ที่แรกจะไม่ทำวิธีแบบนั้น เลยเกรงแกจะไม่เชื่อ ต้องทำหน่อย ต่อมา สมเด็จพุฒาจารย์ วัดอนงค์ ท่านเรียกไปถาม เห็นเล่ากันว่า แกมีคาถาเสน่ห์หรือ (หัวเราะ) บอกครับ ผมไม่มีคาถา แต่มีวิธีเสน่ห์ ถามว่าทำไง ก็เลยเล่าให้ฟังหัวเราะกิ๊ก ๆ บอก เออ... เข้าใจหากินโว้ย ทำต่อไป... ได้ผลนะ

ชอบทะเลาะกับสามี
ผู้ถาม             ขอเรียนรบกวนหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกได้นับถือสักการบูชาหลวงพ่อมาเป็นเวลานานแล้ว แต่ว่าอะไร ๆ ก็ดี หมด เสียอยู่อย่างเดียวเจ้าค่ะ ที่แก้ไม่ตก คือว่าสามีกับดิฉันนี่ ชอบทะเลาะกันเป็นประจำ ทั้ง ๆ ที่ต่างคนต่างก็อายุย่างเข้า ๗๐ กว่าแล้ว
หลวงพ่อ         โอ้ย... ดีมาก ๆ ออกกำลังกาย
ผู้ถาม             การทะเลาะเบาะแว้งนี่
หลวงพ่อ         ออกกำลังกายใช้กำลังสมองด้วย ใช้ความคิดปราดเปรื่อง สรรหาวาจามาด่ากัน
ผู้ถาม             ทั้ง ๆ ที่ต่างฝ่ายต่างก็ อายุ ๗๐ ปีกว่าแล้ว แกหึงฉันเหลือเกินเจ้าค่ะ ขนาดมาทำบุญแกยังให้คนมาเป็นเพื่อน ลูกก็เลยคิดว่าชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย ไม่อยากแต่งกับมันอีกต่อไปแล้ว ขอให้หลวงพ่อช่วยลูกไปนิพพานเร็ว ๆ เถิดเจ้าค่ะ
หลวงพ่อ         เออ... “อัตตา หิ อัตตโน นาโถ” ตนแลย่อมเป็นที่พึ่งของตน จะไปได้หรือไม่ได้ต้องตนทำเอง พระพุทธเจ้าบอกว่า “อักขาตาโร ตถาคตา” ตถาคตเป็นแต่เพียงผู้บอก ไม่ใช่นำไป บอกแล้วปฏิบัติตาม ของง่าย ๆ

รักพระนิพพาน
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกรักพระนิพพานมาก ก่อนนอนชอบภาวนา “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” แต่ทำสมาธิไม่ดีเลย อย่างนี้ลูกจะไปนิพพานได้ไหมคะ?
หลวงพ่อ         คำว่า “สมาธิ” นี่มันจำเป็น แต่คนถามไม่รู้จักสมาธิ ไอ้ตัวนึกถึงนิพพานมันเป็นสมาธิอยู่แล้ว “สมาธิ” เขาแปลว่า “ตามนึกถึง” ถ้านึกถึงนิพพานเขาเรียก อุปสมานุสสติกรรมฐาน ทีนี้ถ้าการนึกถึงนิพพานอย่างเดียว เรารักนิพพานภาวนาว่า “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” บ้าง “นิพพานะ สุขัง” บ้าง “นิพพานัง” บ้าง แต่ว่าก็ต้องดูอารมณ์ใจฝึกไว้อีกส่วนหนึ่ง คนที่จะไปนิพพานได้ต้องไม่ห่วงร่างกาย อันนี้ต้องฝึกไว้ด้วยนะ ต้องฝึกไว้ว่า ขึ้นชื่อว่าร่างกายมันเป็นทุกข์ สภาพของความทุกข์ที่เรามีความทุกข์เกิดขึ้นทุกอย่าง
                   1. ความหิว ถ้าเราไม่มีร่างกายมันก็ไม่หิว มันหิวเพราะมีร่างกาย
                   2. หนาวเกินไป ร้อนเกินไป ก็เพราะร่างกาย
                   3. ป่วยไข้ไม่สบาย เพราะร่างกาย
                   4. ต้องมีงานหนัก ก็เพราะร่างกาย
                   5. การพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ก็เพราะมีร่างกาย
                   6. ความตายมาถึง เพราะร่างกาย
                   ก็ใช้ปัญญาทบทวนไปว่า คนระดับชั้นไหนบ้าง ที่มีร่างกาย ไม่ทุกข์ ถ้าเราจะเกิดอีกกี่ชาติ ถ้าเรามีร่างกายอย่างนี้ มันก็ทุกข์อย่างนี้ แล้วขึ้นชื่อว่าร่างกายมีขันธ์ ๕ แบบนี้ เราจะไม่มีกับมันอีกเราต้องการจุดเดียวคือนิพพาน ทำใจแน่นอนแล้วภาวนาว่า “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” ก็ได้ “นิพพานัง” ก็ได้ ต้องคิดอย่างนี้ก่อนแล้วภาวนาคิดแล้วก็ภาวนาต่อไปอย่างนี้ใช้ได้
                   ถ้าเป็นอย่างนี้เวลาใกล้จะตายจริง ๆ อารมณ์จิตที่เราพิจารณามันจะรวามตัว มันจะมีความรู้สึกเบื่อหน่ายในร่างกาย และวางเฉยในร่างกาย จะมีความรู้สึกว่า การตายมีความสุขกว่านี้ ก็ไปนิพพาน
ผู้ถาม             แล้วภาวนาอย่างนี้ละค่ะ มีอยู่คืนหนึ่งพิจารณาความไม่เที่ยง เลยฝันว่ามีคนจะมาเอาลูกไป ลูกหนีแทบแย่ ตื่นแล้วยังมีความรู้สึกว่า เหมือนมีตนจะมาเอาเราไปจริง ๆ ทำไม ภาวนาแล้วเกิดเป็นอย่างนี้เจ้าคะ?
หลวงพ่อ         นี่แสดงว่ายังไปนิพพานไม่ได้แหง ๆ เพียงแค่เขาลอง เขาทดสอบหน่อยเดียว คนจะไปนิพพานคนเขาต้องทดสอบ เทวดาเขาต้องทดสอบว่า เรามีความมั่นคงพอไหมจะเอาไปหมายจะให้ตาย ความจริงบุคคลที่จะเข้าถึงนิพพาน เขามีความรู้สึกว่า ถ้าร่างกายตายเมื่อไร เขามีความสุข เขาไม่ได้ห่วงร่างกายนะ มันต่างกันเยอะ

พิจารณาเกิดดับ
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกชื่อ พรรัตน์ โชคจิตสัมพันธ์ อยู่ประเทศออสเตรเลีย หลวงพ่อเจ้าขาลูกอยู่ไกลมาก แต่ก็มีโอกาสได้อ่านหนังสือ ธัมมวิโมกข์เป็นประจำ ก็มีความสงสัยอยากจะใคร่เรียนถามข้ามทวีปมาดังต่อไปนี้ ข้อที่ ๑.การพิจารณาการเดดับนั้น เขาพิจารณากันแบบไหน ขอหลวงพ่อได้โปรดแนะนำด้วยเถิดเจ้าค่ะ?
หลวงพ่อ         เอ๊ะ นี่พูดไปเขาจะได้ยินหรือเปล่า นี่ฉันตอบไปนี้เขาคงไม่ได้ยินละมั้ง พิจารณาเกิดดับเหรอ พิจารณาแบบไหนดีล่ะ เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน เราเกิดมาแล้วมันเหลือแต่เวลาดับ ให้ดูคนอื่นดูสัตว์อื่นว่า เขาเกิดมาแล้วในที่สุดเขาก็ตาย เราก็มีสภาพเช่นเดียวกัน เมื่อเกิดมาแล้ว ไมช้าก็ตายเหมือนกันดูแค่นี้ก็แล้วกัน ไปดูตามตำราดูไม่เห็นหรอก ต้องดูแบบนี้นะเวลาปฏิบัติจริง เขาดูกันแบบนี้ ไม่ใช่ตามตำรา
ผู้ถาม             ข้อที่ ๒.วิธีพิจารณาร่างกายให้เห็นว่า เป็นที่น่ารังเกียจปฏิกูลนั้น จะองใช้ปัญญาและอารมณ์แบบไหนเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         ไม่ต้องใช้มาก สักเกตข้าว อาหารที่กิน เลือกแล้วเลือกอีกใช่ไหม.. พอเป็นกากไหลออกมาดูไม่ได้แล้วเป็นขี้ นี่อยู่ในร่างกาย ฉะนั้น ของในร่างกายทั้งหมด มันเต็มไปด้วยของสกปรก ไม่ใช่ของดี อย่างเลือดที่เราต้องการให้มีเลือดมาก ๆ ใช่ไหม แต่ว่าพอเลือดไหลออกมาแล้ว เราก็รังเกียจเลือดใช่ไหม แล้วก็สำหรับในปากน้ำลายมีอยู่เราอมได้ พอบ้วนมาเราแตะต้องไม่ได้ แสดงว่าข้างในร่างกายไม่มีอะไรดี มีแต่สกปรกอย่างเดียวเท่นั้นไม่ยาก
ผู้ถาม             อ๋อ แค่นี้เอง แต่ฝรั่งนี่แปลกจริง ๆ มันดูด กันได้นะ ไม่ปฏิกูล น่าเกลียด
หลวงพ่อ         คนไทยเขาก็มีดุดนะ หนังสือพิมพ์ลงบ่อย ๆ

อาหาเรปฏิกูลสัญญา
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกมีความถนัดและพิจารณาอาหาเรปฏิกูลสัญญาเป็นประจำ ก่อนทานอาหารทุกครั้งต้องพิจารณาเสียก่อน แล้วจึงค่อยรับประทาน ตอนพิจารณาก็เห็นเป็นซากสกปรก เลอะเทอะสะอิดสะเอียนมาก พาลทำให้กินไม่ได้ผ่ายผอมลงทุกวัน ๆ จึง ใคร่ถามหลวงพ่อว่า วิธีพิจารณาฉบับของหลวงพ่อ บริโภคได้โดยไม่สะอิดสะเอียนนั้นหลวงพ่อพิจารณาแบบไหนเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         พิจารณาเป็นอาหาเรปฏิกูลสัญญาแล้วนะ ต่อไปฉันก็ภาวนา “กินหนอ ๆ” มันเลอะเทอะ กูก็กินมึง กูจะกินเสียอย่าง คือการพิจารณาเป็นอาหาเรปฏิกูลสัญญา คือของทุกอย่างเกิดจากของสกปรก มีไก่สกปรก อาหารของสัตว์ก็สกปรก ร่างกายของสัตว์ก็สกปรก แต่ว่าสิ่งสกปรกทั้งหลายเหล่านั้น ร่างกายของเราก็สกปรก เมื่อของสกปรกกับสกปรกอยู่ด้วยกันก็ช่างมันปะไรถืออุเบกขา กินดะเลย คือว่าอย่าเห็นเฉพาะเวลานั้นซิ เวลานั้นเขาพิจารณาให้เห็น ให้เกิดเป็นนิพพิทาญาณ
                   นิพพิทาญาณ หมายถึงความเบื่อหน่าย เห็นร่างกายสกปรก หลังจากนั้นต้องใช้พิจารณาแบบนั้น ต้องใช้ สังขารุเปกขาญาณ เข้าควบคุม อารมณ์ใจวางเฉย มันสกปรกแล้วก็ไม่เป็นไร เราเกิดมาแล้ว ก็ต้องพบกับความสกปรก ต่อไปชิตหน้าความสกปรกจะไม่มีกับเราอีก เราตายเราจะไปนิพพานคิดอย่างนั้น

พิจารณาร่างกายเป็นปฏิกูล
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา เวลาหลวงพ่อเทศนาที่ซอยสายลมเกี่ยวกับเรื่องวิปัสสนา พิจารณาร่างกายเต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเกลียด ปฏิกูลเยอะแยะ เห็นตามภาพชัดเลยน่าเบื่อหน่ายจริง ๆ เจ้าค่ะ แต่อีตอนกลับไปถึงบ้านพบพ่อของลูกทีไรอารมณ์วิปัสสนากรรมฐานหายไปหมดทุกที จนกระทั่งพบหลวงพ่อใหม่ หรือฟังเทป อารมณ์นั้นจึงฟื้นคืนขึ้นมา ลูกอยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า วิธีที่จะทรงอารมณ์วิปัสสนา พิจารณาร่างกายให้ตลอดรอดฝั่งนี้ ลูกควรจะทำอย่างไรเจ้าทะ?
หลวงพ่อ         ความจริงเขาก็ทำถูกแล้วนะ อย่าไปทำใหม่ เวลาว่างจากพอไอ้หนูก็พิจารณา เจอะพ่อไอ้หนูก็มีเตตาบารมี เมตตา กรุณา สงสาร อันนี้ความจริงทำถูกไม่ใช่ไม่ถูก เพราะอารมณ์เรายังไม่ถึงอนาคามีใช่ไหม... เพียงแค่พิจารณาร่างกายชั่วเวลาว่างเดี๋ยวเดียว จุดนี้จะเป็นจุดสำคัญตอนก่อนที่เราจะตาย เพราะก่อนที่เราจะตายปั๊บ อาศัยอารมณ์จิตที่เคยคิดถึงนพพานใช่ไหม... ถือว่าร่างกายไม่ดี มันป่วยขนาดนั้น จะคิดว่าร่างกายนี่มันไม่ดี มองไปเห็นร่างกายโสโครก
                   ถ้ามีความรู้สึกแค่โสโครก มันจะเกิดนิพพิทาญาณความเบื่อหน่าย ตอนนั้นเป็นอนาคามี ถ้ามีความคิดว่า เราไม่ต้องการร่างกายนี้อีก จะเป็นอรหันต์ เป็นสังขารุเปกขาญาณ ไม่ยากนี่สำคัญมาก ตัวอย่างบุคคลมีความรู้สึกนิดหน่อย ก็ได้แก่ พระจุลปันถก เรื่องย่อ ๆ เป็นอย่างนี้
                   พระจุลปันถกพระพุทธเจ้าบอกว่า ในสมัยดึกดำบรรพ์ ท่านเคยเป็นพระมหากษัตริย์ วันหนึ่งออกเลียพระนคร เลียพระนครมันก็ร้อนใช่ไหม... ปรากฏว่าเหงื่อไหล ท่านก็นำผ้าเช็ดหน้าที่มีสีขาวมาเช็ดเหงื่อ ผ้าก็สกปรกก็มองดูคิดว่า ร่างกายมันสกปรกขนาดนี้เชียวหรือ แล้วเขาคิดเท่านั้นไม่ได้คิดอีกนะ
                   ต่อมาอีกหลายชาติ มาพบองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถ คือพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าทรงส่งผ้าขาวให้ คลึงไปคลึงมาเป็นอรหันต์เลย และอันนี้มันเป็นเรื่องใหญ่มาก แม้จะใช้ได้เวลาเล็กน้อยอย่าคิดว่ามันเบานะ หนักมาก อานิสงส์หนักมาก และก็เป็นเชื้อสายให้บรรลุมรรคผลด้วยเหตุอันนี้ นี่เขาทำถูกแล้ว
ผู้ถาม             อย่างนี้ก็ต้องรักษาอารมณ์จิตต่อไป
หลวงพ่อ         ถูกแล้ว...ใช่ ๆ กลับไปบ้านก็มีเมตตา มีกรุณา สองอย่างอย่าทิ้ง ไม่ได้... ทิ้งแตกกัน

อยากตัดกามารมณ์
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยู่ตลิ่งชัน ลูกเป็นวัยสะรุ่นอายุ ๑๗ ปี ที่เดือดร้อนอยู่ก็คือว่า ไอ้เรื่องอารมณ์ทางเพศ ลูกพยายามเอาอสุภกรรมฐาน กับกายคตานุสสติของหลวงพ่อ ไปตัดเพื่อให้มันเด็ดขาด แต่มันก็ได้ชั่วครั้งชั่วคราว พอไปเจอหนุ่มเจอพวกเข้ามันก็คึกอีก ก็ไม่ทราบว่าจะทำยังไง ลูกกลุ้มใจเหลือเกิน ขอบารมีหลวงพ่อช่วยตัดกามารมณ์ ของลูกสักครั้งเถิดเจ้าค่ะ
หลวงพ่อ         (หัวเราะ) โอ้ นี่ยุ่งแล้ว จะลุกไม่ค่อยจะไหวเลย เอาอย่างนี้ซิ เพื่อความสะดวก...แต่งงานเสียเลยนะ
ผู้ถาม             อย่างนี้คลายเครียดแน่นะ
หลวงพ่อ         (หัวเราะ) ใช่ ๆ ๆ ก็คลายเครียด ก็เจริญกรรมฐานต่อไป อย่าง นางวิสาขา ไงล่ะ นางวิสาขาท่านเป็นพระโสดาบันตั้งแต่อายุ ๗ ปี อายุ ๑๖ ปีก็มาแต่งงาน ไอ้หนูนี่เกินไปปีหนึ่งแล้ว
ผู้ถาม             แล้วยังมีลูกมีเต้าเป็นระนาว
หลวงพ่อ         แค่ ๒๐ คน
ผู้ถาม             โอ้โฮ นี่เป็นพระโสดาบัน เขายังคลายเครียดได้
หลวงพ่อ         (หัวเราะ) ใช่ ๆ ๆ เรื่องอย่างนี้มันตัดกันไม่ออก ต้องเป็นพระอนาคามี ถ้ายังไม่ถึงอนาคามี คือพระโสดาบัน กับสกิทาคามีนี่ ยังต้องแต่งงานอยู่ เวลาเครียดขึ้นมาก เราก็คลายเครียดเสีย จิตก็เป็นฌาน (หัวเราะ) จิตเป็นฌานง่าย ใช่ไหม
ผู้ถาม             ถ้าจะให้ตัดจริง ๆ ถ้าจะไม่แต่งาน ก็ต้องเป็นอะไร พระอนาคามี?
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ ค่อย ๆ เป็นนะ

ปลงขันธ์ ๕ ตอน (จุด ๆ ๆ)
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ลูกพิจารณาธรรมะเป็นส่วนใหญ่ มองเห็นชีวิตเน่าเปื่อย น่าเบื่อหน่ายมีแต่ความทุกข์ ไม่ช้าก็ต้องตาย เหมือนท่อนไม้อันไร้ค่า อารมณ์อย่างนี้จะปรากฏประหลาด คือจะปรากฏเฉพาะเวลา ๓ ทุ่ม คือเป็นเวลาที่ (จุด ๆ ๆ) เมื่อเป็นเช่นนี้
หลวงพ่อ         (หัวเราะ) เดี๋ยว ๆ ๆ จุดอะไร
ผู้ถาม             ผมรู้แล้ว...หลวงพ่อคงไม่รู้ซิอยู่วัด (หัวเราะ)
หลวงพ่อ         ฉันไม่รู้จุดอะไรกัน (หัวเราะ) เขาปลงขันธ์ ๕ ได้ดีนะ
ผู้ถาม             นี่เขาสารภาพดีนะ
หลวงพ่อ         ตรงไปตรงมา ดีมาก...เป็นสัจจธรรม
ผู้ถาม             จนกระทั่งบางครั้งสามีโมโหถึงดับด่า อีระยำ ตอนอื่นไม่ไปปลง เสือมาปลงตอนจุด ๆ ๆ เดี๋ยวนี้ลูกสบายใจได้แล้ว เวลาที่ปัญหาเกิดขึ้น (จุด ๆ ๆ) ลูกก็เรียกหลวงพ่อช่วยทุกครั้ง
หลวงพ่อ         (หัวเราะ)
ผู้ถาม             ปู้โธ่ถัง ปลงสังขารไม่ดูเวล่ำเวลา ไม่ดูอย่างยกทรงเป็นตัวอย่าง
หลวงพ่อ         ใช้ได้...เวลานั้นจิตใจเป็นเอกัคคตารมณ์ เป็นอารมณ์เดียว เป็นฌาน ขอบารมีได้ง่าย
ผู้ถาม             เอ๊ะ ตอนขอบารมีหลวงพ่อ หลวงพ่อเป็นพระสงฆ์จะไปจุด ๆ ๆ ไม่ได้นะ ไม่ถูกเรื่องถูกราวเหมือนกัน
หลวงพ่อ         ไม่ใช่ ไม่เป็นพยานเขา (หัวเราะ) นี่หัวเราะเจ็บท้องเลย

วิธีฝึกใจให้เข้มแข็ง
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ไม่รู้ว่าเป็นเวรกรรมอะไร เกิดมาในชาตินี้รู้สึกว่า ไม่มีความเข้มแข็งในดวงจิตเลย ใช้คาถาก็ไม่แข็ง มาทำบุญกับหลวงพ่อก็ไม่เข้ม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็อยากจะขอคำแนะนำจากหลวงพ่อว่า วิธีฝึกให้จิตใจเข้มแข็งเพื่อพระนิพพานชานินี้ ลูกควรจะฝึกด้วยวิธีไหน?
หลวงพ่อ         ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ใช้เบ้าหลอมเหล็ก คนเหลวแล้วก็กินต่อไปใจจะแข็ง ร่างกายก็แข็ง กินเหล็กได้ เข้มแข็งไงล่ะ เนื้อเหล็กกินไม่ไหวนะ กินขี้เหล็กก่อน...(หัวเราะ) เอาอย่างนี้ซิค่อย ๆ นะ ค่อย ๆ คิด ใช้เวลาน้อย ๆ เราทำอารมณ์ทำสมาธิใช่ไหม ใช้เวลานิดหน่อย ๑-๑๐ เราก็เลิก แค่นี้พอใช้ได้ ไม่ช้าก็ชิน

นิสัยไม่ดี
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง คือว่าลูกมีนิสัยไม่ดีอยู่อย่างหนึ่ง คือว่าต้นดีกลางกับปลายคด
หลวงพ่อ         ดีมาก
ผู้ถาม             ดีอีกแล้ว ปัญหาทุกอย่างมาหาหลวงพ่อนี่
หลวงพ่อ         ดีหมด...อย่างเทวทัตไง ต้นดีปลายคด
ผู้ถาม             นี่เขาเรียก “ดีหมด” นะครับ หรือว่า “หมดดี”
หลวงพ่อ         หมดดี
ผู้ถาม             เขาว่ามาอย่างนี้ คือเวลาฟังหลวงพ่อเทศน์ใหม่ ๆ มันปีติ เอาจริงเอาจัง ปฏิบัติคร่ำเคร่งนั่งหูดับตับไหม้เลย แต่พอหลวงพ่อกลับไปแล้วซิคะ จิตมันเลวระยำคิดจะทำโน่น คำความชั่วต่าง ๆ นานา อารมณ์อย่างนี้ ลูกแก้ไม่ตกเลยเจ้าค่ะ ขอบารมีหลวงพ่อโปรดช่วยความสว่างกระจ่างใจสักครั้งเถิดเจ้าค่ะ
หลวงพ่อ         ก็ดีแล้วนี่
ผู้ถาม             ดีอีกแล้ว ผิด...เลว...ก็ดี
หลวงพ่อ         อ้าว...ทำไม่เล่า ก็เวลาฟังเทศน์จิตเขาดี ทำไมจำว่า เขาไม่ดีล่ะ
ผู้ถาม             นี่เขากล่าวหมายถึง ตอนที่หลวงพ่อกลับไปแล้วจิตไม่ดีครับ
หลวงพ่อ         ก็ช่างมัน...เราก็มาดีใหม่ แต่เวลาจะตายความดีอาจเข้าถึงตัวได้นะ ถ้ามันจะตายธรรมดาของคนมันเป็นอย่างนั้นแหละ จะให้ดีทุกวันเป็นไปไม่ได้หรอก ต้องดีบ้างชั่วบ้าง ทำความดีคราวละน้อย ๆ ทำบ่อย ๆ ก็เต็ม เหมือนน้ำฝนตกทีละหยาด ๆ สามารถทำให้ภาชนะเต็มได้ใช่ไหม... อย่างนี้ที่หลวงพ่อมามีปีติ ไอ้ปีติเป็นตัวสำคัญมาก เป็นมหากุศล และจงอย่าลืมว่าเวลาจะตายนะมันจะช่วย ปีตินี่จะช่วย เมื่อปีติช่วยเข้าสนองใจปั๊บเห็นภาพพระทันที นี่ตายแบบนี้ลงนรกไม่ได้
                   เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน แก้ตัวใหม่ ก่อนจะหลับภาวนา “พุทโธ” ๓ ครั้งตื่นขั้นก่อนจะลุกขึ้นภาวนา “พุทโธ” ๓ ครั้ง แค่นี้พอแล้วเอาแค่ฉันเมื่อเป็นเด็ก ฉันเมื่อเป็นเด็กแม่บังคับแค่นี้ ก่อนจะหลับ หัวถึงหมอนปั๊บภาวนาพุทโธ ต้องว่าดัง ๆ นะ ให้ท่านได้ยิน พอตื่นขึ้นปั๊บ “พุทโธ...พุทโธ...พุทโธ” แล้วก็ไป เราก็ว่าตามประสาเด็ก
                   ที่ว่าเมื่อกี้หลวงพ่อกลับไปแล้วชั่ว ความจริงเขายังไม่ชั่วหรอกบางวันเขาก็ภาวนา บางวันเขาก็ไหว้พระ ยังไม่ชั่ว ยังนึกถึงหลวงพ่อยู่ ถ้าทางที่ดีนะ ควรจะรับหนี้จากหลวงพ่อไปเสียบ้าง จะได้นึกถึงหลวงพ่อทุกวัน ๆ ใช่ไหม (หัวเราะ)
ผู้ถาม             เรียกว่าถ้ารับหนี้จากหลวงพ่อไปได้ไอ้เรื่องอะไร ๆ
หลวงพ่อ         ก็นึกถึงหลวงพ่อทุกวันไง...เป็นสังฆานุสสติ ตายแล้วไปสวรรค์ทันที
ผู้ถาม             อ๋อ การนึกถึงว่าจะช่วยใช้หนี้หลวงพ่อ เป็นสังฆานุสสติ
หลวงพ่อ         ใช่ เป็นการช่วยสงฆ์ นึกถึงพระสงฆ์ไงเล่า สังฆานุสสติ แปลว่า นึกถึงพระสงฆ์
ผู้ถาม             นี่ถ้าเกิดนึกอะไรไม่ได้ จับนึกถึงกล้องยานัตถุ์หลวงพ่อ เป่าปู้ด ๆ ๆ เห็นกล้องยานัตถุ์ นึกถึงกล้องยานัตถุ์อย่านี้ ตายแล้วไปไหนครับ?
หลวงพ่อ         ตายแล้วไปเกิดเป็นกล้อง (หัวเราะ) อันนี้ก็เป็นสังฆานุสสติเหมือนกัน เพราะกล้องยานัตถุ์ของหลวงพ่อ อย่าลืมว่าลงคำหลวงพ่อ หลวงพ่อเป็นพระสงฆ์ใช่ไหม?
ผู้ถาม             เรียกว่าอะไรแล้วแต่ เกี่ยวกับหลวงพ่อนี่เป็น
หลวงพ่อ         เกี่ยวกับหลวงพ่อ หรือพระองค์ใดองค์หนึ่งก็ตาม...เหมือนกัน เป็นสังฆานุสสติเหมือนกัน ถ้าเกี่ยวกับพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งเป็นพุทธานุสสติ เกี่ยวกับการสวดมนต์หรือฟังเทศน์เป็นธัมมานุสสติ
ผู้ถาม             นั่งสมาธินิดหน่อย ๆ ก็เป็นธัมมานุสสติ
หลวงพ่อ         อย่าลืม นิดหน่อยนี่ มีความสำคัญมาก มันสะสมตัวเอง ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า แม้ทำบุญคราวละเล็กคราวละน้อย แต่ทำบ่อย ๆ มันก็สามารถทำบารมีให้เต็มได้เหมือนน้ำฝนที่ตกทีละหยาด ๆ สามารถทำภาชนะให้เต็มได้ เห็นไหมด...ได้นี่เวลาหลวงพ่อมาปีติดีมาก ก็ไหลไปบ้างไหลมาบ้าง ไม่ได้เสียทุกวัน ฉันรู้นะที่พูดมาน่ะโกหก เขาไม่เสียทั้งวันหรอก เขาเสียบ้างไม่เสียบ้างเท่านั้นเอง เฉพาะเวลาบางเวลา
ผู้ถาม             โอ๊ะ! หลวงพ่อรู้เสียด้วย เป็นอันว่าก็เป็นคนดีคนหนึ่ง
หลวงพ่อ         ฉันขอแช่งคนนี้ไว้ ตายแล้วห้ามเกิดเป็นมนุษย์ ไปสวรรค์ เป็นเทวดา เป็นนางฟ้าไป

ท้อแท้ทำความดี
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะทำความเพียรเพื่อทำความดี แต่บางครั้งก็มีอารมณ์ท้อแท้จะทำอย่างไรดีคะ?
หลวงพ่อ         ถ้าท้อแท้ต่อความเพียรก็แสดงว่าขี้เกียจ คนที่มีความเพียรคือคนขยัน ความเพียร เพียรต่อสู้กับความชั่ว เพื่อหวังให้มีผลในความดี เป็นเรื่องธรรมดาของคน ไอ้การต่อสู้ความขยันหมั่นเพียร มันจะมีทุกเวลาไม่ได้นะ ในบางครั้งกรรมที่เป็นอกุศลเดิม มันเข้ามาครอบงำจิต เวลานั้นจะตัดความดีของเราให้รู้สึกท้อแท้ไม่กล้าต่อสู้...เบื่อ! พอกุศลเข้ามาสนองปั๊บ กุศลเตะไอ้นั่นออกไปนี่ขยันแล้วสร้างความดี ต้องเป็นอย่างนั้นเหมือนกันทุกคน หนักเข้าๆ กุศลมีกำลังแรงก็เตะได้นั่นกระเด็นออกไป
                   พอถึงพระโสดาบันปั๊บ อกุศลยังเข้ามาได้ แต่เข้าก็เข้าแรงไม่ได้ ถ้าถึงพระโสดาบันอกุศลเข้าแรงไม่ได้ มันจะสร้างความขุ่นมัวบ้าง แต่จะถึงทำบาปไม่ได้ คำว่า “ขุ่นมัว” อาจจะต้องโกรธ ใช่ไหม...พระโสดาบันยังมีโกรธ พระโสดาบันยังมีความรักในระหว่างเพศ พระโสดาบันยังมีความอยากร่ำรวย แต่เรื่องละเมิดศีลไม่มี แต่มีอารมณ์ที่แจ่มใสจริง ๆ คือพระอรหันต์ ถ้ายังไม่ถึงพระอรหันต์เพียงใด ก็ยังเตะกันใหม่ แต่ว่า เตะเบา ๆ

พระอรหันต์ไม่โกรธ
ผู้ถาม             หลวงพ่อได้พูดไว้ว่า พระอรหันต์มีอารมณ์โกรธ แต่ดับอารมณ์ได้ฉับพลัน
หลวงพ่อ         ฉันสงสัย...ฉันเขียนผิดหรือคนอ่านจำผิด อารมณ์โกรธ ไม่มีตั้งแต่อนาคามี แต่ท่าทางแสดงความโกรธน่ะมีอยู่ ไม่ใช่อารมณ์โกรธ ที่แสดงแบบนั้นกลัวคนนั้นจะเสีย ก็แสดงท่าว่าโกรธ อย่างที่พระพุทธเจ้าลงโทษพระสงฆ์ มีคำสั่งลงโทษนั่นไม่ใช่โกรธนะ...หวังดี นี่จำผิดแล้ว
                   ถ้าอารมณ์โกรธมีและดับได้เร็วเป็นพระสกิทาคามี อนาคามีนี่เขาไม่มีแล้ว แต่ถ้าความโกรธเกิดขึ้นจะดับไม่ยาก ซื้อรถดับเพลิงไว้ พอเริ่มโกรธปั๊บ...สตาร์ทพรืด นำพ่นพรวด หกคะเมนเกนเก้ หายไปเอง นั่นไม่ใช่อรหันต์นะ ฉันคงไม่เขียนผิดละมั้ง ต้องกลับไปอ่านใหม่ แต่ว่าแสดงความโกรธนั้นมีอยู่ เพราะว่าจ่ะลงโทษ คือไม่ลงโทษก็ยับยั้ง ไม่ยังงั้นคนนั้นจะเสีย
                   อย่างพระพุทธเจ้าลงโทษพระต่าง ๆ อย่าง พระฉันนะ ก็เหมือนกัน หนักมาก ที่สั่งให้พระสงฆ์ลงพรหมทัณฑ์พระฉันนะ อันนี้เรื่องใหญ่มาเชียว ไม่ใช่พระพุทธเจ้าโกรธ แต่ต้องการให้พระฉันนะดี แต่ในเมื่อพระสงฆ์ลงพรหมทัณฑ์ท่านก็เสียใจ คิดว่าตอนพระพุทธเจ้าอยู่ใคร ๆ ก็คุยด้วย พระพุทธเจ้านิพพานแล้ว จะไปหาใครก็ไม่มีใครคุยด้วย พระอรหันต์ก็เยอะ เพราะพระพุทธเจ้าสั่ง เพราะการรู้ตัวตอนนี้ เป็นเหตุให้พระฉันนะเป็นพระอรหันต์
                   เขาทำเพื่อประโยชน์ ไอ้คนถูกลงโทษใหม่ ๆ อาจจะนึกว่าเราไม่น่าถูกลงโทษเลย ไอ้คนที่ทำความผิด ไม่รู้ตัวว่าผิดเป็นเรื่องธรรมดา

กรรมฐานกองสุดท้าย
ผู้ถาม             อ่านหนังสือธัมมวิโมกข์ เกี่ยวกับเรื่องการปฏิบัติพระกรรมฐานบ้าง แนะการปฏิบัติของหลวงพ่อบ้าง มีอยู่ตอนหนึ่งที่หลวงพ่อชอบพูดอยู่บ่อย ๆ เสมอว่า ถ้ายังไง ๆ ฉันก็ไม่ทิ้งกรรมฐานกองสุดท้าย ฉันชอบกรรมฐานกองสุดท้ายเป็นอย่างมาก อยากเรียนถามว่า กรรมฐานกองสุดท้ายที่หลวงพ่อใช้หลวงพ่อนึกเป็นแรจำวัน คืออะไรเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         กองสุดท้าย คือ สังขารุเปกขาญาณ เป็นกองสุดท้ายในพระพุทธศาสนา

บรรลุอรหันต์ในที่นั่งเดียว
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกได้อ่านหนังสือ ธัมมวิโมกข์ฉบับหนึ่งบอกว่า นักปฏิบัติที่ปฏิบัติถึงได้ พระโสดาบันแล้ว ไม่ต้องลุกขึ้น ให้ตีตั๋วรวดเป็นพระอรหันต์ไปในที่นั่งนั้นได้เลย ลูกอยากให้หลวงพ่ออธิบาย พร้อมทั้งแสดงวิธีปฏิบัติเรื่องนี้ พอเป็นไตเติ้ลให้ลูกดูหน่อยเจ้าค่ะ?
หลวงพ่อ         มีไตเติ้ลด้วยนะ ไอ้ไตเติ้ลมันแปลว่ายังไง ไตไม่ดีหรือไง...(หัวเราะ) เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน ที่พูดอย่างนั้นละนะ พูดตามวิสุทธิมรรค ท่านพระพุทธโฆษาจารย์ ท่านรจนาวิสุทธิมรรคเป็นพระอรหันต์ องค์นั้นนะท่านเจจียนไว้ว่า ถ้าบุคคลผู้ใดเจริญพระกรรมฐานในที่นั่งใดได้พระโสดาบัน ไม่ต้องลุกจากที่ทำให้ถึงพระอรหัต์เลย และวิธีปฏิบัติจริง ๆ เขาปฏิบัติกันตามนี้นะ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เขาไม่มุ่งสกิทา อนาคา เขาตีตั๋วเข้าอรหันต์ไปเลย
                   วิธีการตีตั๋วอรหันต์เป็นอย่างนี้พอถึงพระโสดาบันเสร็จให้จับ อวิชชา ตัวสุดท้าย พิจารณาตามความเป็นจริงว่า มนุษยโลกทั้งโลกมันเต็มไปด้วยความทุกข์ เทวโลกกับพรหมโลก มันมีความสุขจริงแต่สุขไม่นาน ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีก็กลับมาเกิดใหม่ มีทุกข์ใหม่ งั้นเราไม่ต้องการในที่นี้ เราต้องการจุดเดียวคือนิพพาน เท่านั้นแหละ และอารมณ์ก็จะทรงฌาน อารมณ์ทรงฌานก็จะตัดกิเลสเอง
                   เวลาปฏิบัติจริง เขาทำแบบนั้นกันนะ ถ้าตามแบบเขาต้องว่ากัน พระโสดา สกิทา อนาคา อรหันต์ นี่ตามแบบ ถ้าเราไม่พูดแบบนั้นเขาก็หาว่า “นอกแบบ”อีก เวลาปฏิบัติก็ต้องว่าอีกส่วนหนึ่งต่างหาก

ฆราวาสเป็นอรหันต์
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ที่ว่าฆราวาสสำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว อยู่นานไม่ได้ต้องนิพพานไป ในกรณีที่สามีสำเร็จอรหันต์แล้ว สามารถจะบอกภรรยาได้หรือไม่ว่า น้องจ๋า...พี่สำเร็จแล้ว
หลวงพ่อ         คงจะบอกได้นะ
ผู้ถาม             แล้วถ้าภรรยาจะบอกว่า เมื่อพี่เข้านิพพานแล้ว ขอได้โปรดสงเคราะห์ให้น้องร่ำรวย อย่างนี้จะขัดกับพระนิพพานหรือเปล่าคะ?
หลวงพ่อ         เจ้าของจดหมายกับฉันคิดผิดกัน ฉันคิดว่าถ้าไปนิพพาน ขอฉันมีสามีใหม่ได้ไหมคะ...(หัวเราะ)
ผู้ถาม             เออ...ดีเหมือนกันนะ
หลวงพ่อ         เอาอย่างนี้ซิ พระอรหันต์ท่านยอมรับกฎของกรรมมันจะรวยหรือไม่รวยอยู่ที่กฎของกรรม ถ้าชาติก่อนทำทานไว้ดี กฎของกรรมแห่งทาน ก็บันดาลให้เราร่ำรวย แต่ทานก็เป็นเขต การให้ทานแก่สัตว์หรือทานกับบุคคลอื่นทานกับบุคคลเป็นคนมีศีลหรือไม่มีศีล ทรงฌานสมาบัติไหม เป็นพระอริยเจ้าไหม แต่ทานที่ดีที่สุดคือ สังฆทาน เป็นต้นเหตุ เป็นต้นทาน ของหมาเศรษฐีตรง
ผู้ถาม             ฉะนั้น จักรพรรดิก็ไม่ได้เป็น จักรเพชรก็ไม่ได้เป็น
หลวงพ่อ         ได้...ก็ไปรวมอยู่ที่นิพพานไงล่ะ ทรัพย์สินต่างต่าง ๆ ก็ไปรวมที่พระนิพพานหมด ที่นิพพานจะเห็นว่า พื้นแผ่นดินก็เป็นเพชร กำแพงบ้านก็เป็นเพชร บ้านทั้งหลายก็เป็นเพชร เครื่องใช้ทั้งหมดก็เป็นเพชร ตัวเองก็เป็นเพชรแถมส้วมถ้ามีก็เป็นเพชร

พระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณ
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะขอวิธีบำเพ็ญบารมี ที่เวลาบรรลุอรหันต์แล้ว จะได้ปฏิสัมภิทาญาณได้ด้วยนั้น เราจะต้องทำบุญประเภทไหนและอธิษฐานแบบไร เพื่อเวลาสำเร็จแล้ว จะได้ปฏิสัมภิทาญาณพร้อม ๆ ไปเลยเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         ฉันยังไม่ได้เลย สำคัญปฏิสัมภิทาญาณนี่ ฉันยังไม่ได้เลย แล้วจะสอนใครได้
ผู้ถาม             อ๋อ ต้องได้ก่อนถึงจะสอนได้
หลวงพ่อ         ใช่ซิ รออีก ๓๐ปีจะบอกให้...มันต้องอาศัยบารมีเก่า ไม่ใช่ไปเรียนใหม่ คือเก่าเขาเคยได้สมาบัติ ๘ มาแล้ว เคยได้อภิญญามาแล้ว อาศัยบุญของสมาบัติ ๘ นี่ได้ปฏิสัมภิทาญาณ ไม่ใช่มาสร้างกันส่งเดช
ผู้ถาม             ต้องบุญเก่าตามมา
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ
ผู้ถาม             งั้นก็แสดงว่า มโนมยิทธิที่ฝึกอยู่ทุกวันนี้ ที่ได้กัน ปุ๊บปั๊บ...ตาทิพย์ แสดงว่าบุญเก่าเขา
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ ทดสอบได้เลย

ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ อภิญญา ๖
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกอ่านธัมมวิโมกข์ เมื่อเดือนกรกฎาคม หน้า ๕๔ ว่าด้วยปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ อภิญญา ๖ จึงสงสัยว่า คนที่จะบรรลุ ๓ อย่าง อย่างที่หลวงพ่อว่านั้น สมมุติทำบุญในชาตินี้ล้วน ๆ แล้วอธิษฐานว่า เจ้าประคุณ ถ้าฉันเป็นอรหันต์เมื่อไหร่ ขอให้ได้ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ อภิญญา ๖ อธิษฐานอย่างนี้ จะมีทางสำเร็จในชาติปัจจุบันได้หรือไม่เจ้าคะ?
หลวงพ่อ         สำเร็จ... แต่ไม่ใช่สำเร็จอรหันต์หรอก สำเร็จอธิษฐาน จะไปทำทำไม ฉันให้ฝึกมโนมยิทธินี่ดีแล้ว ชอบยากๆ
ผู้ถาม             ความจริงแค่ขึ้นไปนิพพานได้นี่ ก็
หลวงพ่อ         เหลือแหล่...ถึงจุดหมายปลายทางแล้ว อยากได้ ปฏิสัมภิทาญาณ อยากได้ไปทำไม ไม่มีความหมายเลย แค่นิพพาน...อะไร ๆ ก็แค่นิพพาน
ผู้ถาม             เรียกว่าสบายที่สุดก็คือ...นิพพาน
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ ไม่น่าจะมีคนฉลาดแบบนี้เลย

อยากได้อภิญญา
ผู้ถาม             กราบเท้านมัสการหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกอยากจะเรียนถามหลวงพ่อว่า การที่เราฝึกมโนมยิทธิแล้ว โดยใช้ภาพพระพุทธรูปแก้วใสของหลวงพ่อจับเป็นกสิณ กับใช้ภาพองค์สมเด็จพระชินราช จะได้ผลเหมือนกันหรือไม่ เพราะผมตั้งใจแล้วว่าต่อไปอนาคต ผมจะเอาอภิญญา ๖ ให้ได้ขอรับ
หลวงพ่อ         เอาแน่หรือ..เอาแน่นะ?
ผู้ถาม             อ้อ...มโนมยิทธินี่ ถ้าพูดถึงว่าจับพระพุทธรูปใส
หลวงพ่อ         ได้ทั้งสองอย่าง ... อะไรก็ได้ อภิญญานี่ต้องได้กสิณทั้ง ๑๐ นะ อย่าทำเตาะแตะส่งเดชไป กสิณทั้ง ๑๐นี่ต้องคล่องทั้งหมด แล้วก็เดินหน้าถอยหลังได้ เข้าฌานสลับฌานได้ยากแล้วนะ เอาอย่างนี้ซิ ถ้าฝึกต้องการอภิญญา ๖ ฝึกไปนิพพานง่ายกว่าเยอะ ดีกว่าเยอะ ไม่ได้เกิดประโยชน์
ผู้ถาม             ความจริงมโนมยิทธิก็เหลือกินเหลือใช้แล้ว
หลวงพ่อ         ก็แค่นั้นแหละ ได้อภิญญา ๖ ก็แค่นั้นแหละ ไปได้เท่ากัน
ผู้ถาม             แต่ฆราวาสได้แค่ ๕ หรือ ๖ ก็ได้ครับ
หลวงพ่อ         ถ้า ๖ ต้องเป็นพระอริยเจ้านะ อันที่ ๖ อาสวักขยญาณ ไงล่ะ ความจริงเอาแค่เป็นพระอริยะดีกว่า อภิญญาเฉย ๆ จะทำอะไรกัน ได้มโนมยิทธิก็ถมเถไปแล้ว

เจริญอรูปฌาน
ผู้ถาม             หลวงพ่อขอรับ ผมสงสัยว่า ผู้ที่เจริญอรูปฌาน หรืออรูปพรหมนั้นน่ะ ถ้าจะต่อวิปัสสนาญาณ หวังมรรคผลพระนิพพานในชาตินี้ จะเปลี่ยนแปลงหรือจะต่อย่างไร ขอหลวงพ่อโปรดแนะนำด้วยเถิดขอรับ?
หลวงพ่อ         ได้หรือยัง...ทำได้หรือยัง?
ผู้ถาม             เอ้า...คนเขียนทำได้หรือยัง แล้วเป็นไงครับ อรูปฌาน ผมยังไม่รู้เรื่องเท่าไหร่?
หลวงพ่อ         อากาสานัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เวสัญญานาสัญญายตนะ วิญญาณัญจายตนะ คนที่ถามนี่ยังทำไม่ได้หรอก ถ้าได้แล้วเขาไม่ถามแบบนี้ เพราะปัญญามันเกิดแล้ว ถ้าต้องการนิพพาน ๗ วันเท่านั้นแหละ ต้องการอรหันต์นะ เจริญวิปัสสนาญาณใช้อรูปฌานเป็นพื้นฐานนะ ไม่เกิน ๗ วัน เป็นพระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณ
ผู้ถาม             ฌานก็ดีเหมือนกันนะซิ ได้ฌานก็ดีเหมือนกัน
หลวงพ่อ         อ้าว...ก็ต้องถือฌานเป็นพื้นฐาน จะเป็นอรหันต์ เป็นโสดา สกิทาคา เหมือนกัน ต้องมีฌานเป็นพื้นฐานไม่มีฌานเป็นพื้นฐานไม่ได้
ผู้ถาม             บางองค์เขาบอกว่า สมถะไต้องใช้ ใช้วิปัสสนาล้วน รวดเดียวไปนิพพานได้ง่าย เพราะสมถะก็ใช้ไม่ได้
หลวงพ่อ         มันจะรู้เรื่องเมื่อไหร่ ไอ้คนสอนนะ
ผู้ถาม             โง่เหมือนยกทรงนะ
หลวงพ่อ         โง่กว่ายกทรงเยอะ มันแยกกันไม่ได้ ศีล สมาธิ ปัญญา สมถะคือ สมาธิ ถ้าไม่มีสมาธิวิปัสสนาญาณ มันมียังไง ปัญญามียังไง สมถะคือสมาธินั่นเอง ก็ต้องทำพร้อมกัน
ผู้ถาม             สงสัยท่านตัวเบ้อเร่อ มาขาดสมาธิตัวเดียว
หลวงพ่อ         ไม่รู้...ไอ้หมอนั่นไม่รู้แน่
ผู้ถาม             ครับ ๆ ๆ ก็คงเป็นพระอรหันต์รุ่นใหม่
หลวงพ่อ         รุ่นโน้นซิ..รุ่นเทวทัต

ขอขมาโทษหลวงพ่อ
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ก่อนอื่นผมขอกล่าวคำสวัสดีต่อหลวงพ่อด้วย ที่เคยล่วงเกินหลวงพ่อ มาเป็นเวลาช้านานแล้ว เพราะปฏิเสธเรื่องนิพพานที่หลวงพ่อสอนผมเป็นลูกศิษย์ พระอภิธรรม มันว่าง...มันสูญ เดี๋ยวนี้ผมรู้แล้ว่า ไม่ว่าง...ไม่สูญ ตามที่อาจารย์มันว่า (อ้าว...สงสัยจะล้างแค้นเลยเออ...ฉุนอาจารย์เก่า)
หลวงพ่อ         ด่าทั้งสองฝ่าย
ผู้ถาม             นั่นซิ....วันนี้ที่จดหมายมา ไม่มีอะไรหรอกครับ คือจะมากราบขอขมาลาโทษ ดอกไม้ธูปเทียนไม่มีมาผมเอาสตางค์ใส่ตู้แทนแล้วนะครับ
หลวงพ่อ         เดี๋ยว ๆ สีอะไร?
ผู้ถาม             อ้อ...ต้องดูสี การขอขมานี่ ต้องมีสีหรือครับ?
หลวงพ่อ         ต้องมีสี (หัวเราะ) ไม่รู้เขาด่าสีไหนนี่
ผู้ถาม             นี่จำไม่ได้ก็ต้องใช้สี...สีม่วง
หลวงพ่อ         นิพพานต้องสีม่วง....(หัวเราะ)
ผู้ถาม             แล้วโดยสรุปก็คือว่า ขอหลวงพ่อได้โปรดอโหสิกรรมให้ลูกด้วย ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ลูกจะขอปฏิบัติตามแนวมโนมยิทธิทุกประการขอรับ
หลวงพ่อ         ไม่เป็นไร ไม่เคยถือโทษโกรธใคร
ผู้ถาม             เอ๊ะ ปรกติหลวพ่อไม่เคยทำอะไรใครเลยหรือครับ?
หลวงพ่อ         เคย
ผู้ถาม             อ้าว...เดี๋ยว ๆ ๆ เมื่อกี้บอกว่าไม่เคย อันนี้บอกว่าเคยอีกแล้ว
หลวงพ่อ         เมื่อกี้บอกไม่เคยถือโทษโกรธใคร ทำอะไรนี่เคยทำ ถ้าความจริงฉันโกรธคนนั้นโทษน้อย ถ้าฉันไม่โกรธคนนั้นโทษมาก ถ้าฉันโกรธ เขาด่าฉันมาใช่ไหม ฉันด่าเขาด้วย ขึ้นสถานีเสียเงินสองฝ่าย
ผู้ถาม             อ๋อ...หมายถึงค่าปรับโรงพักงั้นหรือครับ?
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ ทีนี้ถ้าเราไปด่าคนที่เราไม่ควรจะด่า อย่างพระอริยเจ้านี่ ท่านไม่ด่าตอบ...เราซวย แล้วก็ซวยกันมาเยอะแล้ว
ผู้ถาม             ยังงี้ก็แสดงว่าเขาด่าเรา เราด่าตอบ อย่างนี้ไม่ดีนะ
หลวงพ่อ         ไม่ดี
ผู้ถาม             ก็เป็นอันว่าสบายใจได้อย่างหนึ่งว่า หลวงพ่อไม่เคยถือโทษใครเลยนะ
หลวงพ่อ         ไม่แน่...เมื่อก่อนเอา เมื่อก่อนโน้นเอา
ผู้ถาม             เคยโกรธเหมือนกันหรือครับ หลวงพ่อ?
หลวงพ่อ         เคย... ตอนเป็นหลวงพ่อไม่โกรธหรอก ตอนเป็นหลวงพี่ซิ
ผู้ถาม             เดี๋ยว...ต่างกันยังไงครับ หลวงพ่อ...หลวงพี่นี่?
หลวงพ่อ         หลวงพ่อมันแก่...หลวงพี่มันหนุ่ม
ผู้ถาม             ตอนนั้นเคยมีเหมือนกันหรือครับ?
หลวงพ่อ         เคยมี...เหมือนชาวบ้านเขานี่...เหมือนกัน ยี่ห้อเดียวกัน
ผู้ถาม             แหม...ขนาดมีบุญขนาดหลวงพ่อนี่ ยังมีหรือครับ?
หลวงพ่อ         ใครมีบุญ?
ผู้ถาม             อ้าว...ก็หลวงพ่อซิ ใคร ๆ ก็เอาอะไรมาถวาย ๆ
หลวงพ่อ         มี...เขาถวายเป็นของสงฆ์ เสือกไปเอาเองซิ ลงอเวจี (หัวเราะ) สังฆทานนี่ตัวร้ายกาจ มาตราเดียวอเวจีง่าย ๆ คำว่า “สังฆทาน” พระผู้รับถือว่าผู้แทนสงฆ์เท่านั้น เอาไปเข้าส่วนกลางเขา
ผู้ถาม             อ๋อ...อย่างนั้นคนที่เข้าใจผิดคือบอกว่า สังฆทานต้องมีตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป เอ๊ะ ทำไม...ทำไมซอยสายลมหลวงพ่อรับองค์เดียว อย่างนี้ก็เป็นปาฏิปุคคลิกทานจริง ๆ
หลวงพ่อ         รับแทนสงฆ์ ในพระไตรปิฎก เขาก็เขียนไว้ เสือกไม่อ่านเอง
ผู้ถาม             อ๋อ นี่ใช้ภาษาไทยตอบเลยหรือครับ?
หลวงพ่อ         ใช่...คนไทยใช้ภาษาเจ๊กรู้เรื่องยาก

ปรามาสพระอริยเจ้า
ผู้ถาม             เรื่องพระอริยเจ้าก็มีอยู่นิดคือว่า การปรามาสพระอริยเจ้าด้วยเจตนาก็ตาม ไม่เจตนาก็ตาม โมโหด้วยความตั้งใจก็ตาม อยากเรียนถามว่า จะมีกรรมมากไหมครับ?
หลวงพ่อ         ก็ลงนรกด้วย เจตนาก็ตาม ไม่เจตนาก็ตาม ลงเหมือนกัน
ผู้ถาม             ไม่ต้องสอบสวนหรือครับ?
หลวงพ่อ         ไม่ต้องสอบ... สบาย ก็ไม่ยาก ก็ไปขอขมาต่อพระพุทธเจ้าเสียซิ ถ้าไม่พบพระพุทธเจ้าก็พระพุทธรูป
ผู้ถาม             ต้องไปพบพระพุทธรูปที่วัดท่าซุง หรือว่า
หลวงพ่อ         ไม่จำเป็น...ที่บ้านก็ได้ ให้นึกว่าท่านคือพระพุทธเจ้า เพราะพระอริยเจ้านี่ ขอขมาโดยตรงตัวไม่มีผล อย่างสมมุติยกทรงเป็น “โสดาตาบัน” ใช่ไหม
ผู้ถาม             เดี๋ยว ๆ ครับ ตามศัพท์พระไตรปิฎกเขาเรียก “โสดาบัน” ครับ
หลวงพ่อ         ได้นี่มันหนักแน่ “โสดาตะบัน” นี่ขั้นเอกพิชีนะ เพราะตะบันจนกรทั่งแน่นปั๋งไม่คลายตัว สมมุติว่า ยกทรงเป็นพระโสดาบัน เขาไปด่าไปว่าเข้านินทาเข้าก็บาป ใช่ไหม...ไปขอโทษโดยตรงกับยกทรงนี่ไม่มีผล ต้อบงขอโทษโดยตรงกับพระพุทธเจ้า เพราะว่าความเป็นพระโสดาบัน ไม่ใช่เกิดจากยกทรงเกิดจากพระพุทธเจ้าท่านสงเคราะห์
ผู้ถาม             แล้วอย่างพระโสดาบันที่บวชเป็นพระ กับโสดาบันที่เป็นฆราวาส ถ้าเราปรามาสโทษจะเป็นอย่างไรครับ?
หลวงพ่อ         ครือกัน
ผู้ถาม             เพราะฉะนั้นพวกเราจำไว้นะ ฆราวาสที่เป็นพระอริยะมีเยอะแยะ
หลวงพ่อ         เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน พระโสดาบันไปตันแค่ศีล ๑.เคารพพระพุทธเจ้า ๒.เคารพพระธรรม ๓.เคารพพระอริยสงฆ์ ๔.มีศีล ๕ บริสุทธิ์ องค์พระโสดาบันมีแค่นี้
ผู้ถาม             อุ้ยตายแล้ว หลวงพ่อนี่เทศน์ไม่เหมือนกับโทรทัศน์เดี๋ยวนี้ยังออกอากาศปาว ๆ อยู่นะครับ ว่าพระโสดาบัน ๑.สักกายทิฏฐิ ต้องตัดขันธ์ ๕ โดยเด็ดขาด
หลวงพ่อ         เอาเลื่อยที่ไหนมาตัด เดี๋ยวก่อน ... พระโสดาบันถ้าตัดขันธ์ ๕ เด็ดขาด ลองคิดดู นางวิสาขา ท่านเป็นพระโสดาบันตั้งแต่อายุ ๗ ปี ขันธ์ ๕ นะคนเดียวนะ พออายุ ๑๖ ได้อีก ๕ ขันธ์...มีผัว ต่อไปก็ลูกชาย ๑๐ คน มีผู้หญิง ๑๐ คน ลูกทั้งหมด ๒๐ คน ตัดหรือไม่ตัด ตัดหรือต่อ ... พระโสดาบันกับสกิทาคามี สองอยางยังแต่งานได้ ไม่แต่งานก็อนาคามีขึ้นไปเท่านั้นเอง ไอ้เทศน์อย่างนั้น ท่านเทศน์ถูกของท่าน แต่ไม่ถูกตามพระไตรปิฎก
ผู้ถาม             อย่างนี้ฆราวาส ที่จะเป็นพระโสดาบัน แค่ศีล ๕ ก็
หลวงพ่อ         แค่นั้นแหละ เขาเรีย “สัตตักขัตตุง”
ผู้ถาม             อย่างนี้เป็นฆราวาสก็ดีกว่าเป็นพระซิครับ?
หลวงพ่อ         โอ้ย ดีกว่าเยอะ...ความจริงแล้วฆราวาสถ้าพูดตามส่วน เขาได้เปรียบกว่าพระมาก ๑.เจี๊ยะไม่เลือกเวลา ประการที่ ๒ เข้าวิกได้
ผู้ถาม             หลวงพ่อรู้ด้วยหรือครับ?
หลวงพ่อ         อ้าว...เคยเป็นฆราวาสมาก่อนนี่ ประการที่ ๓ มีผัวมีเมียได้ ประการที่ ๔ หลับตื่นสายได้ พระตื่นสายไม่ได้ใช่ไหม...เช้ามืดต้องทำวัตรสวดมนต์ ต้องเจริญกรรมฐาน ถ้าพลาดหน่อยเดียวพระลงนรก สมมุติว่ามีปลาหนึ่งตัวนะ พระมีปลาหนึ่งตัว ฆราวาสมีปลา ๑๐๐ ตัว ตัวขนาดเดียวกัน พระฆ่าปลาหนึ่งตัว ฆราวาสฆ่าปลา ๑๐๐ ตัว พระโทษมากกว่า ก็เพราะว่าทรงศีลเป็นบุคคลที่ชาวบ้านเขาต้องบูชา นี่ละบาปมาก พระไม่ใช่เรื่องเล็กนะ
ผู้ถาม             โอ้ย ไม่บวชดีกว่า
หลวงพ่อ         ใช่...ยกทรงก็เคยเสียท่ามา ๑๘ ปีแล้วซิ


ฆราวาสเป็นพระโสดาบัน
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพอย่างสูง ลูกสงสัยว่า ถ้าฆราวาสที่มีจิตเข้าถึงพระโสดาบันแล้ว เวลาประสบสิ่งที่ทำให้ไม่สบาย เช่นเรื่องเกี่ยวกับการทำมาหากิน การกระทบอารมณ์ต่าง ๆ อยากจะทราบว่า อารมณ์เขาตอนนั้นจะเป็นอย่างไร เจ้าคะ?
หลวงพ่อ         พระโสดาบันก็มีอารมณ์คล้ายคลึงกับคนธรรมดายังมีความรักในระหว่างเพศ ยังต้องการความร่ำรวย ยังมีความโกรธ ยังมีความหลง แต่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ในขอบเขตของศีล ฉะนั้นความสะเทือนใจย่อมมี แต่ว่า พระโสดาบันไม่ละเมิดศีล ไม่ผิดกาเม ความต้องการรวยยังมี แต่ว่าไม่โกงใคร ไม่ละเมิดศีล โกรธได้แต่ไม่ฆ่าใคร หลงในชีวิตแต่คิดว่าร่างกายจะไม่ตาย ขอบเขตเขามีแค่นั้นนะ จะไปนึกว่าพระโสดาบันเขาไม่มีความรู้สึกไม่ได้ ถือว่าชาวบ้านชั้นดี
ผู้ถาม             นึกว่าเป็นพระโสดาบันแล้วจะไม่โกรธ
หลวงพ่อ         พระโสดาบันน่ะไม่โกรธ แต่แข้งอาจจะโกรธ อย่าลืมนะ ยังเตะได้ เขาไม่ได้ฆ่านะ นี่บอกกันตรง ๆ พระโสดาบัน พระสกิทาคานี่ อย่าไปแหยมเข้านะ
ผู้ถาม             เอาเรื่องเหมือนกันหรือครับ?
หลวงพ่อ         ไม่เอา...เตะเลย ดีไม่ดีมันมีปืนไม่ตั้งใจจะฆ่า ยิงให้บาดเจ็บ เป็นการยับยั้ง เขายังทำได้นะ ศีลเขาไม่ได้ขาดนะ
ผู้ถาม             อย่างนี้ก็ยังไว้ใจไม่ได้
หลวงพ่อ         ไว้ใจได้แน่นอน ถ้ายั่วหนรัก ๆ ถูกเตะแน่ ถ้าเป็น ผู้หญิงเขาอาจจะตบเอา อย่าไปยุ่งนักไม่ใข่อนาคามี ดูตามขั้นตอนเขาก่อน อนาคามีต่างหากที่ไม่มีความโกรธ จะคิดมากไปว่า พระโสดาบันจะไม่มีความรู้สึกน่ะไม่ได้ ต้องดูตามขั้นตอน


โคตรภูญาณ
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ลูกพบหนังสือเล่มหนึ่ง ท่านพูดถึงเรื่อง โคตรภูญาณ ลูกไม่เข้าใจเลยเจ้าค่ะ ปฏิบัติอย่างไร ถึงจะเข้าถึงโคตรภูญาณเจ้าคะ?
หลวงพ่อ         โคตรภูญาณ เขาแปลว่า ระหว่าง ระหว่างโลกีย์กับโลกุตระตอนหนึ่ง ระหว่างพระโสดาบันกับพระสกิทาคาตอนหนึ่ง ระหว่างพระสกิทาคากับพระอนาคามีตอนหนึ่ง ระหว่างพระอนาคามีกับพระอรหันต์ มีหลายโคตร มี ๔ โคตร ๕ โคตร
ผู้ถาม             ตกลงคำว่า “โคตร” นี่หมายถึง “ระหว่าง”
หลวงพ่อ         ระหว่าง... เขาสมมุติว่า จิตของเราจะเข้าถึงพระโสดาบันใช่ไหม มันยังไม่ถึงแต่แหย่เข้าไปแล้ว ท่านเปรียบเทียบบอกว่า คล้ายลำรางเล็ก ๆ เท้าข้างซ้ายเหยียบฝั่งนี้ เท้าข้างขวาเหยียบฝั่งโน้น ทั้งสองเท้ายังยันดินอยู่ ยังไม่ยกเท้านี้ไป ระหว่างนั้นเรียก “โคตรภูญาณ” ญาณในระหว่างโลกีย์กับโลกุตร
                   แต่ว่าเวลานั้นสำหรับตอนต้นนะ เอาตอนต้นที่จะเป็นพระโสดาบัน จะมีอารมณ์ ๆหนึ่งขึ้นในใจนั่นคือ ต้องการพระนิพพานอย่างเดียว จิตจะรักพระนิพพานอย่างยิ่ง ใครจะชวนเป็นเทวดาเป็นนางฟ้าไม่ต้องการหมด ต้องการนิพพานอย่างเดียว พอเข้าถึงพระโสดาบันปั๊บ...อารมณ์ ๆ หนึ่งจะเกิดขึ้นนั่นคือ...ธรรมดา
ผู้ถาม             เป็นยังไงครับ?
หลวงพ่อ         ถูกด่า...ก็ธรรมดาของคนเป็นอย่างนี้ ถูกนินทา...ก็ธรรมดาของคนเป็นอย่างนี้ แต่อย่าด่าบ่อยนักนะ เอาบ้าง (หัวเราะ) คือว่าพระโสดาบันยังมีโทสะ แต่โทสะไม่รุนแรง
ผู้ถาม             ในโทรทัศน์วิทยุเทศน์ บอกพระโสดาบันนี่หมดแล้ว โลภะ โทสะ โมหะ
หลวงพ่อ         นั่นมันโทรทัศน์ไม่ใช่ที่นี่ นี่โทรทัศน์วงจรปิด นั่นเขาวงจรเปิด
ผู้ถาม             อ๋อ...จริง ๆ แล้วไม่ถึงขนาดนั้นหรือครับ?
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ
ผู้ถาม             อย่างนี้ก็ลูกหลานนั่งแถวนี้ก็มีสิทธิ์
หลวงพ่อ         โอ๊ย...มีสิทธิ์ทุกคน กล้วยตานี้สุก ๆ ไม่ยาก
ผู้ถาม             อ้อ...บังเอิญหลวงพ่อพูดคืนนี้เกี่ยวกับ อรหัตมรรค เรียนถามนิดคือว่า “อรหัตมรรค” กับ “อรหัตผล” นี่อารมณ์ต่างกันมากหรือไม่ครับ?
หลวงพ่อ         ต่างกันมาก...ต่างเยอะเชียว อรหัตมรรคมีอะไรบ้าง?
                   ๑.ต้องตัด รูปราคะ ยังมีอารมณ์หลงในรูปอยู่ ต้องตัดตัวนี้ก่อน รูปฌานนะ ไม่ใช่รูปคน ประการที่ ๒ เมื่อตัดตัวนั้นแล้ว ต้องตัด อรูปราคะ ต้องตัดอารมณ์ที่รักอรูปฌาน คือหลงในอรูปฌาน ยังใช้ฌานแต่ไม่หลงในฌาน ใช้ฌานเป็นประโยชน์นะ ๓.ตัด มานะ การถือตัวถือตน ๔.ตัด อุทธัจจะ คืออารมณ์ฟุ้งซ่าน ๕.ตัด อวิชชา
                   อรหัตมรรคก็ยังมี ๕ อย่าง คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา พออรหัตผลเลยไม่มีอะไร อรหัตผลเหลืออย่างเดียว สังขารุเปกขาญาณ วางเฉยหมด
ผู้ถาม             ไม่เอาอะไรเลยหรือครับ?
หลวงพ่อ         เอา...เอาเฉย ๆ คำว่า “สังขารุเปกขาญาณ” วางเฉยในขันธ์ ๕ ใช่ไหม... ขันธ์ ๕ มันจะแก่ ขันธ์ ๕ มันจะตาย ก็เป็นเรื่องของมัน คือว่าถ้ายังมีขันธ์ ๕ ก็จะต้องประคับประคอง ถ้าไม่อย่างนั้นมันหิว ถ้าขันธ์ ๕ มันป่วย ก็รักษาเป็นการระงับเวทนา ถ้าขันธ์ ๕ จะตายไม่หนักใจเพราะต้องการนิพพาน
ผู้ถาม             ต้องมีอารมณ์ขนาดนั้น ถึงวางได้ขนาดนี้นะครับ?
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ และเป็นสุขที่สุด มันเป็นสุขบอกไม่ถูก ก็ไม่ใช่สุขอย่างกับสุขในฌาน ๑ เป็นสุขนะ นั่นมันสุขต่างหาก ไอ้นี่มันสุขที่ไม่อาศัยอะไรทั้งหมด คือไม่อาศัยอามิสเขาเรียกว่า นิรามิสสุข ไม่ต้องมีวัตถุเป็นเครื่องเกาะ อารมณ์จะสุขเอง
ผู้ถาม             ถ้าหากว่าลูกหลานนี่ สมมุตินะครับ ขณะนี่ทรงอารมณ์พระโสดาบันได้แล้วนี่ จะไม่เอาละ สกิทา อนาคา จะตีรวดไปทีเดียวตอนตายเป็นอรหันต์ จะได้ไหมครับตอนนั้น?
หลวงพ่อ         วิธีปฏิบัติเขาก็ปฏิบัติแบบนั้น ไอ้พูดตามแบบเขาต้องไล่ตามระดับ ใช่ไหม... แต่ถ้าปฏิบัติจริง ๆ ท่านบอกว่า ถ้าได้พระโสดาบันในที่นั่งใด ให้ทำจิตให้บรรลุอรหันต์ในที่นั่งนั้นแต่ยังไม่ทันลุกเป็นอรหันต์เลย
ผู้ถาม             อ๋อ...ตีรวดข้ามไปเลย
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ ๆ ไปจับ อวิชชา เลย วิธีตีรวดก็จับเฉพาะอวิชชา ได้พระโสดาบันแล้วจับอวิชชา อวิชชามี ๒ อย่างด้วยกันคือ ฉันทะกับราคะ ฉันทะ มีความพอใจในมนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก ราคะ เห็นมนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกสวยสดงดงามน่าอยู่ ไม่มีในอารมณ์เของเรา และโลกทั้ง ๓ นี่ไม่พ้นทุกข์ เราไม่ต้องการ เราต้องการนิพพาน เท่านั้นแหละ ถ้าทำเป็น...ไม่ยาก


อยากไปนิพพานก่อนหลวงพ่อ
ผู้ถาม             หลวงพ่อเจ้าขา ลูกอยากจะกราบพึ่งบารมีหลวงพ่อเจ้าค่ะ คือลูกปรารถนาที่จะไปมรรคผลนิพพานให้มันเร็วกว่าที่เขากำหนด เพราะมันเบื่อหน่ายร่างกายเหลือเกิน แต่ใจหนึ่งก็ไม่ห่วง แต่ใจหนึ่งก็ยังเป็นห่วง ไม่ห่วงตัวแต่ห่วงหลวงพ่อ อยากจะขออนุญาตหลวงพ่อตายก่อน ไปก่อนจะได้ไหม หรือว่าจะกลายเป็นลูกอกตัญญูขอหลวงพ่อ ได้โปรดอโหสิกรรมด้วยเถิดเจ้าค่ะ?
หลวงพ่อ         นี่...คนนี้อยู่ใกล้วัดไหน อ้าว...เผื่อพระบังสุกุลไง
ผู้ถาม             อ๋อ...เวลาตายหรือครับ?
หลวงพ่อ         ใช่...อย่างนั้นจะแนะนำให้ตายอย่าง พระโคธิกะ ก็แล้วกัน คือปาดเชือดคอตาย
ผู้ถาม             เขาว่าฆ่าตัวตายก็ตกนรกนะ...หลวงพ่อนะ
หลวงพ่อ         แต่ไปนิพพานนะ พระโคธิกะไปนิพพานนะ ถ้าเบื่อร่างกาย เบื่อจริง ๆ นะ คิดว่าร่างกายเป็นศัตรู เราหิวก็เพราะร่างกาย ป่วยไข้ไม่สบายเพราะร่างกาย มีทุกข์ทุกอย่างเพราะร่างกาย เราไม่ต้องการมันอีก ขึ้นชื่อว่าร่างกายประกอบด้วยธาตุ ๔ อาการ ๓๒ อย่างนี้ไม่มีกับเรา เราต้องการนิพพาน เพียงแค่นนี้ก็ไปนิพพาน แต่ระวังมันเจ็บนะ เอาอย่างนี้ดีกว่า เอาตายแบบสบาย ๆ ดีกว่า อยู่เรื่อย ๆไปจนกว่าจะตายเอง ฆ่าตัวตายเดี๋ยวเกิดเจ็บขึ้นมา จิตใจฟุ้งซ่านลงนรกไปเลย
ผู้ถาม             ต้องเบื่อจริง ๆ จึงจะไปนิพพานได้
หลวงพ่อ         ใช่ ๆ
ผู้ถาม             เบื่อ ๆ อยาก ๆ เบื่อเฉพาะตอน
หลวงพ่อ         เบื่อ ๆ แต่ว่าห่วงหลวงพ่อ ไม่เบื่อจริง เบื่อต้องเป็น สังขารุเปขาญาณ ตัดทุกอย่างอารมณ์มันจะทรงตัวเอง ไม่ใช่ไปสร้างมันเกิดขึ้น ให้มันเกิดเอง ถือว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกเป็นของธรรมดา เกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่มีกังวล ถ้าอยู่เราก็ต้องบริหารร่างกายตามธรรมดา ต้องกินข้าว ต้องถ่ายส้วม ต้องไปขี้น่ะ ต้องป่วย ต้องรักษาโรค อย่างพระพุทธเจ้าเห็นไหม
                   แต่ว่าเวลาขันธ์ ๕ จะพัง มันก็เป็นเรื่องของมัน “เตสัง วูปะสะโม สุโข การเข้าไปสงบสังขารนั่นย่อมเป็นสุข” นั่นหมายความอารมณ์เราเป็นสุขจากร่างกาย เราไม่เดือดร้อนเพราะร่างกาย ร่างกายจะอยู่ก็เชิญอยู่ จะตายก็เชิญตาย ทำจิตให้เป็นสุขนะ
ผู้ถาม             เอาแค่นี้นะครับ
หลวงพ่อ         ค่อย ๆ ไป ค่อย ๆ ทำ แต่แค่เบื่อจริง ๆ ยังไป นิพพานไม่ได้นะ เบื่อเป็น นิพพาญาณ แต่อนาคามีต้องเป็น สังขารุเปกขาญาณ วางเฉยในขันธ์ ๕


ตัดสักกายทิฏฐิ
ผู้ถาม             กราบเท้าหลวงพ่อที่เคารพ เมื่อปีที่แล้ว น้องชายของกระผม ขอร้องให้กระผมตัดสักกายทิฏฐิของเขา กระผมก็ทำท่าอยากจะตัดอยู่ ก็ไม่รู้วิธีจะตัดแบบไหน ประการใด จึงมากราบเรียนขอคำแนะนำจากหลวงพ่อ ช่วยตัดให้หน่อยเถิดขอรับ?
หลวงพ่อ         ไปหาเจ๊กขายหมูซิ..มีดคมดี
ผู้ถาม             อ๋อ...ตัดต้องใช้มีดหมูหรือครับ?
หลวงพ่อ         ใช่...ตัดสักกายทิฏฐิ ต้องตัดร่างกายยังไงล่ะ...กร๊วบ! ทีเดียวขาดเลย สักกายทิฏฐิ ถ้าตัดขาดก็เป็นพระอรหันต์ จำให้ดีนะ คือว่าสักกายทิฏฐิเขาตัด ๓ ขั้น อย่างพระโสดาบันกับพระสกิทาคามีใช้ปัญญาเล็กน้อย สมาธิเล็กน้อย แต่มีศีลบริสุทธิ์ แค่มีความรู้สึกว่า ร่างกายจะต้องตาย
                   ถ้าอนาคามี เห็นร่างกายสกปรกโสโครก มีความเบื่อหน่ายเกิดนิพพิทาญาณ ถ้าอรหันต์เห็นว่า ร่างกายไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา มี ๓ ขั้น ไปเทศน์แบบนั้น ชาวบ้านก็ไม่ต้องทำกันละ ต่างคนต่างท้อ อย่างเด็กจะแบบน้ำทั้งปีบไมไหวมันต้องใช้กระป๋องเล็ก ๆใช่ไหม พอกับแรงเด็ก
ผู้ถาม             ถ้าอย่างนั้นคนที่มีบุญน้อย ก็ใช้มินิสังฆทานไปก่อน
หลวงพ่อ         มันเป็นยังไงนะ?
ผู้ถาม             อย่างชุดละ ๑๐๐ เขาเรียก “มินิสังฆทาน” ครับ
หลวงพ่อ         อ๋อ...อย่างนั้นเหรอ




ปัญหาการรักษาศีล
ดูข้างล่าง
ดูข้างบน
             

TDStats.com - Hit Counter & Website Statistics