หากเรามองจาก ท้องฟ้า เราจะเห็น สิ่งที่เคลื่อนไหว ภายใต้ ของความคิดเรา ถ้าเรามองขึ้นไปจากใจเรา เราจะเห็น ทุกชีวิต กำลังดิ้นรน เพื่อ แสวงหา อาหาร เพื่อ หล่อเลี้ยง ชีวิตของตนเอง และ สิ่งที่ตนรัก และเป็นที่รัก ของตนเอง และแล้ว ทุกชีวิต ก็ พบว่า ความกระหายใคร่ ได้ ใคร่มี ใคร่เป็น หรือ ความทะยานอยาก นี่เอง ที่เป็นสาเหตุ ให้มนุษย์ ต้องเดินทางอยู่ ตลอดชีวิต ลองหยุดเดินทางด้วยยานพาหนะ แล้วหันมาเดินทาง ด้วยจิตวิญญาณ แล้วการ เดินทางไกล จะใกล้เข้าทุกขณะจิต หายใจเข้า ตามรู้ หายใจออก ตามรู้
วันอาทิตย์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2559
บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผ...เป็นอันว่าถ้าเราเป็นพระโสดาบันจริง ท่านบอกว่าต้องมีอารมณ์ใจ คือ..นิพพาน อันนั้นเป็นของไม่ยาก ถ้าจิตของเราเข้าถึงอันดับนี้ เมื่อจิตมุ่งเข้าสู่ความเป็นพระโสดาบัน เรียกว่า พระโสดาปัตติมรรค จิตใจเริ่มมีความเข้าใจดีด้วยกำลังของปุพเพนิวาสานุสสติญาณในเรื่องการเกิดการตาย และเมื่อถอยหลังชาติเข้าไปเบื่อการเกิดต่อไปอีก ถ้ามีอารมณ์เบื่อการเกิดต่อไปเกิดขึ้น เพราะเกิดแล้วตายเกิดแล้วก็ตาย ตอนนี้แหละเป็น โคตรภูญาณของพระโสดาบัน เมื่อรู้การเกิดการตายแล้วเกิดความเบื่อหน่าย เพราะรู้ว่า ตายแล้วบางชาติลงนรก บางชาติขึ้นสวรรค์ และไม่สงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ แล้วก็มีความมั่นใจในศีล อย่างนี้อารมณ์ใจเป็นโคตรภูญาณ แล้วก็ในอุทุมพริกสูตร ท่านมี ทิพจักขุญาณ เมื่อมีทิพยจักขุญาณ ถ้าจิตเข้าถึงโคตรภูญาณ จะเห็นพระนิพพานชัดเจนแจ่มใสมาก ถ้าจิตยังไม่เข้าถึงตอนนี้ เรื่องพระนิพพานยังพูดกันไม่รู้เรื่องหรอก ไอ้ขนาดที่กินเหล้าเมายา โกหกมดเท็จ เสพกาม หลงใหลในกาม อันนี้ไม่มีโอกาส แต่คนที่เขามีสามีภรรยานี่เขายับยั้งได้ ทรงอารมณ์ได้ เขาเห็น ถ้าจิตเข้าสู่โคตรภูญาณของพระโสดาบัน จึงจะเห็นพระนิพพาน ถ้ายังไม่ถึงขนาดนั้น จะได้ทิพจักขุญาณขนาดไหนก็ตาม ถ้ายังเป็นฌานโลกีย์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ไม่มีทางเห็นพระนิพพาน นี่จำไว้ด้วยเรื่องนิพพาน ไม่ใช่จะไปทัศนาจรกันง่ายๆ มันต้องเป็นคนดี มีความดีพอควร จึงจะไปนิพพาน ไปเที่ยวนิพพานได้ ท่านที่บอกว่าจะไปนิพพานน่ะเป็นของเปรอะเลอะเทอะ ก็เพราะเขาเห็นพรนิพพานเป็นของยาก ก็รวมความว่า ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัท ใช้กำลังใจขั้นกระพี้กับแก่นแล้วก็ อย่าลืมนะ อย่าไปทิ้งสะเก็ด อย่าไปทิ้งเปลือก ถ้าทิ้งสะเก็ดทิ้งเปลือกเมื่อไร ทิพจักษุญาณก็ดี ปุพเพนิวาสานุสสติญาณก็ดี จะจาง ถ้าทิ้งนานเกินไปจะสลายตัวทันที หมวดหมู่ การศึกษา สัญญาอนุญาต สัญญาอนุญาตมาตรฐานของ YouTube แสดงน้อยลง ความคิดเห็น • 20 สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ เพิ่มความคิดเห็นสาธารณะ... ความคิดเห็นยอดนิยม หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย23 ชั่วโมงที่ผ่านมาความคิดเห็นที่ไฮไลต์ กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด แสดงน้อยลง ตอบกลับ หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย ยกเลิก ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์1 เดือนที่ผ่านมา บางท่านเห็นว่ามันเป็นทุกข์ พวกที่ทรงสมาธิมากๆ จะเห็นว่ามันเป็นทุกข์ เพราะถ้าท่านไม่เห็นว่าจิตผู้รู้เป็นทุกข์นะ จะไม่ยอมปล่อย เพราะสมาธิมากตัวผู้รู้มีแต่ความสุขนะ ถ้าปัญญาแก่รอบจริงๆจะเห็นเลย เป็นตัวทุกข์ ทุกข์แบบไม่มีอะไรเหมือน พอเห็นว่าตัวผู้รู้ก็เป็นทุกข์ จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเลย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์5 เดือนที่ผ่านมา ละ...กามฉันทะกองเดียวไปนิพพาน พระราชพรหมยาน เมื่อสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลแล้ว น้อมจิตไปเพื่อญาณทัสนะย่อมได้เจโตวิมุติและปัญญาวิมุติอันยอดเยี่ยม เป็นอันว่าถ้าเราเป็นพระโสดาบันจริง ท่านบอกว่าต้องมีอารมณ์ใจ คือ..นิพพาน อันนั้นเป็นของไม่ยาก ถ้าจิตของเราเข้าถึงอันดับนี้ เมื่อจิตมุ่งเข้าสู่ความเป็นพระโสดาบัน เรียกว่า พระโสดาปัตติมรรค จิตใจเริ่มมีความเข้าใจดีด้วยกำลังของปุพเพนิวาสานุสสติญาณในเรื่องการเกิดการตาย และเมื่อถอยหลังชาติเข้าไปเบื่อการเกิดต่อไปอีก ถ้ามีอารมณ์เบื่อการเกิดต่อไปเกิดขึ้น เพราะเกิดแล้วตายเกิดแล้วก็ตาย ตอนนี้แหละเป็น โคตรภูญาณของพระโสดาบัน เมื่อรู้การเกิดการตายแล้วเกิดความเบื่อหน่าย เพราะรู้ว่า ตายแล้วบางชาติลงนรก บางชาติขึ้นสวรรค์ และไม่สงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ แล้วก็มีความมั่นใจในศีล อย่างนี้อารมณ์ใจเป็นโคตรภูญาณ แล้วก็ในอุทุมพริกสูตร ท่านมี ทิพจักขุญาณ เมื่อมีทิพยจักขุญาณ ถ้าจิตเข้าถึงโคตรภูญาณ จะเห็นพระนิพพานชัดเจนแจ่มใสมาก ถ้าจิตยังไม่เข้าถึงตอนนี้ เรื่องพระนิพพานยังพูดกันไม่รู้เรื่องหรอก ไอ้ขนาดที่กินเหล้าเมายา โกหกมดเท็จ เสพกาม หลงใหลในกาม อันนี้ไม่มีโอกาส แต่คนที่เขามีสามีภรรยานี่เขายับยั้งได้ ทรงอารมณ์ได้ เขาเห็น ถ้าจิตเข้าสู่โคตรภูญาณของพระโสดาบัน จึงจะเห็นพระนิพพาน ถ้ายังไม่ถึงขนาดนั้น จะได้ทิพจักขุญาณขนาดไหนก็ตาม ถ้ายังเป็นฌานโลกีย์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ไม่มีทางเห็นพระนิพพาน นี่จำไว้ด้วยเรื่องนิพพาน ไม่ใช่จะไปทัศนาจรกันง่ายๆ มันต้องเป็นคนดี มีความดีพอควร จึงจะไปนิพพาน ไปเที่ยวนิพพานได้ ท่านที่บอกว่าจะไปนิพพานน่ะเป็นของเปรอะเลอะเทอะ ก็เพราะเขาเห็นพรนิพพานเป็นของยาก ก็รวมความว่า ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัท ใช้กำลังใจขั้นกระพี้กับแก่นแล้วก็ อย่าลืมนะ อย่าไปทิ้งสะเก็ด อย่าไปทิ้งเปลือก ถ้าทิ้งสะเก็ดทิ้งเปลือกเมื่อไร ทิพจักษุญาณก็ดี ปุพเพนิวาสานุสสติญาณก็ดี จะจาง ถ้าทิ้งนานเกินไปจะสลายตัวทันที จงรักษาสะเก็ดให้ดี จงรักษากระพี้ให้ครบถ้วน อารมณ์จะทรงตัว เห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภัย… แต่ความจริงพระโสดาบัน เราจะเห็นได้ว่า ท่านมีทานบารมีสูงเป็นเครื่องสังเกต คนที่เป็นพระโสดาบันมีการนิยมให้ทานหนัก แต่ว่าพระโสดาบันท่านฉลาดนะ ท่านไม่โง่ ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ อันนี้เขาไม่ให้กินแน่ ถ้าพระชั่ว… ดูอย่าง พระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสในเมืองโกสัมพีฬะ ทะเลาะกัน พระพุทธเจ้าทรงห้ามไม่ฟัง ท่านก็เลยหลีกไป บรรดาพระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสทั้งหลาย ตั้งแต่พระโสดาบันถึงอนาคามีมีปริมาณมากไม่ยอมใส่บาตรให้พระพวกนั้นกินเลย นี่พระอริยเจ้านี่ท่านไม่ได้โง่เง่าเต่าตุ่น ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ การที่จะมาแก้ไขดัดแปลงคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นอย่างงั้นเป็นอย่างงี้ พระอริยเจ้ามีความเข้าใจ ก็รวมความว่า พระโสดาบันหนักในการให้ทาน เราจะสังเกตได้ พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงบัญญัติไว้ในพระวินัยว่า "พระถ้าไม่มีความจำเป็นจริงๆ ห้ามไปขอวัตถุและของกินของใช้ในตระกูลของพระเสขะ" พระเสขะ หมายถึง พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี หากกว่า พระอรหันต์ ท่านเรียกว่า อเสขะ ไม่ต้องศึกษาต่อไป (เสขะ แปลว่า ยังศึกษาอยู่) แล้วการจะมองพระโสดาบันนี่ พระโสดาบันยังเคร่งครัดในศีล แต่อารมณ็เย็นๆ เขาไม่อวดเบ่งเต๊ะท่าว่า ฉันเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ ท่านพวกนี้มีอารมณ์ใจสบายๆ พระโสดาบันระมัดระวังในเนกขัมมบารมีเบื้องต้นได้ดีมาก เวลาที่จะใช้ฌานสมาบัติระงับนิวรณ์ได้ทันทีทันใด แล้วสังโยชน์ ๓ ประการตัดพร้อมตาย เกิดไม่ได้อีก ความรู้สึกว่าจะไม่ตายไม่มีกับพระโสดาบัน ความสงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ทั้ง ๓ ประการไม่มีอีก ตัดขาดไปเลย การตั้งใจละเมิดศีลจะไม่มีด้วยกำลังใจของพระโสดาบันแน่นอน แล้วจิตของพระโสดาบัน ถ้าว่าด้วยบารมี ท่านมีอธิษฐานบารมี ตั้งมั่นพระนิพพานจริง มีสัจจบารมี อารมณ์ตรงพระนิพพาน มีขันติบารมี อดทน มีอารมณ์ใดที่เข้ามาขัดข้องท่านต่อสู้ มีวิริยบารมี ตีฟันฝ่าอุปสรรค มีสัจจบารมี ทรงใจแน่วแน่ อธิษฐานบารมี ตรงแล้ว เมตตาบารมี พระโสดาบันมีมาก อุเบกขาบารมี ท่านทรงอารมณ์เฉย กดอารมณ์ไว้ไม่ยอมให้ความเป็นพระโสดาบันเสื่อม เฉยเลยยืนนิ่ง ถึงพระโสดาบันแล้วยืนนิ่งไม่ถอยหลัง มีแต่ก้าวหน้าต่อไป เอาละ บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย และเพื่อนภิกษุสามเณร เวลาหมดแล้ว ก็ขอจบเรื่องราวของพระโสดาบันไว้เพียงเท่านี้ ที่พูดไว้แต่เป็นตัวอย่าง ความจริงถ้าเราได้ญาณ ๒ อย่าง คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ กับ ทิพจักขุญาณ ง่ายมาก ง่ายจริงๆ บรรดาท่านพุทธบริษัทชายหญิง เวลานี้ขอลาก่อน ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผล จงมีแต่ท่านพุทธศาสนิกชนผู้เป็นสาวกขององค์สมเด็จพระชินวรทุกท่าน สวัสดี อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol3 เดือนที่ผ่านมา ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเลย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol1 เดือนที่ผ่านมา บางท่านเห็นว่ามันเป็นทุกข์ พวกที่ทรงสมาธิมากๆ จะเห็นว่ามันเป็นทุกข์ เพราะถ้าท่านไม่เห็นว่าจิตผู้รู้เป็นทุกข์นะ จะไม่ยอมปล่อย เพราะสมาธิมากตัวผู้รู้มีแต่ความสุขนะ ถ้าปัญญาแก่รอบจริงๆจะเห็นเลย เป็นตัวทุกข์ ทุกข์แบบไม่มีอะไรเหมือน พอเห็นว่าตัวผู้รู้ก็เป็นทุกข์ จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเลย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol1 ปีที่ผ่านมา กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 1 หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย23 ชั่วโมงที่ผ่านมา ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเลย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด พระอรหันต์ ๑. อารมณ์พระอรหันต์ นั่นคือจิตคิดว่าไม่หลงในรูปฌานและอรูปฌาน จิตไม่มีมานะการถือตัวถือตน จิตไม่มีอารมณ์ฟุ้งซ่านออกนอกรีดนอกรอย จิตไม่ติดในอวิชชา คือ ฉันทะกับราคะ ฉันทะความพอใจในมนุษย์โลก เทวโลกไม่มีราคะ จิตเห็นมนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลกสวยไม่มี ไม่พอใจในสามโลก จิตพอใจจุดเดียวคือนิพพาน นี่เป็นอารมณ์พระอรหันต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอารมณ์พระอรหันต์ คือยอมรับนับถือกฎของธรรมดา ไล่ลงมาอีกทีนะจิตยอมรับนับถือกฎของธรรมดาว่า ธรรมดาคนเกิดมาแล้วต้องแก่ ต้องป่วย ต้องมีการพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจ คนเกิดมาแล้วต้องตาย ความปรารถนาไม่สมหวังย่อมมีแก่ทุกคน ถ้าทุกอย่างมันเกิดขึ้น ใจท่านไม่หวั่นไหว ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาแล้วก็จิตคิดว่าถ้าร่างกายนี้พังเมื่อไร ฉันไปนิพพานเมื่อนั้นใจสบาย ๒. ศีลเราบริสุทธิ์อยู่แล้ว สมาธิทรงตัวอยู่แล้ว วิปัสสนาญาณปลดเปลื้องร่างกายของเรา ร่างกายของบุคคลอื่น วัตถุธาตุ ขันธ์ ๕ คือร่างกาย อย่าไปเสียดายมัน มันจะพังเมื่อใดก็เชิญมันพัง เพราะใจเราพร้อมที่จะไปนิพพาน ตัวจิตบริสุทธิ์อยู่ที่นี่ ๓. อรหัตผลนี่เป็นของไม่ยาก ก็ตัดกามฉันทะกับราคะ คือไม่สนใจกับร่างกายของเราด้วย ไม่สนใจกับร่างกายของบุคคลอื่นด้วย ไม่สนใจกับวัตถุธาตุในโลกทั้งหมด คิดว่าสิ่งเหล่านี้ไม่ช้ามันก็สลายตัว ไม่มีอะไรดีสำหรับเรา เราไม่ถือว่ามันเป็นสรณะ เป็นที่พึ่งของเราและเราก็ไม่ถือวาทะของบุคคลอื่น ไม่ถืออารมณ์ของบุคคลอื่น ทำใจให้แช่มชื่นอยู่อย่างเดียวว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ทรัพย์สินในโลกไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันเป็นของกิเลส ตัณหา อุปาทาน มันพังเมื่อไรพอใจเมื่อนั้น ขึ้นชื่อว่าความเกิดมีขันธ์ ๕ ร่างกายอย่างนี้จะไม่มีสำหรับเรา ความเป็นเทวดาหรือพรหมจะไม่มีสำหรับเรา สิ่งที่เราต้องการคือนิพพานนี่แค่นี้เท่านั้นแหละ ไม่เห็นมีอะไรยากถ้าพูดกันแบบง่าย ๆ แต่ความจริงพูดกันมาเยอะ ทำอารมณ์ให้มันทรงตัวเถอะ มันก็ไม่ลำบากมันก็สำเร็จมรรค สำเร็จผล อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ Phochana L. Phochana L.3 สัปดาห์ที่ผ่านมา 🙏🏻🙏🏻🙏🏻 ตอบกลับ ton royalrumble ton royalrumble1 เดือนที่ผ่านมา จิตมุ่งสู่พระนิพพาน ตอบกลับ หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย3 วันที่ผ่านมา อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ,. ตอบกลับ แสดงเพิ่ม เล่นอัตโนมัติ รายการถัดไป ตัดกามฉันทะตัวเดียวถึงพระนิพพาน - หลวงพ่อฤาษีลิงดํา ชนะใจ ขัยชาญ ดู 26,469 ครั้ง 31:29 ธรรมที่ควรตั้งไว้ในตน Sompong Tungmepol ดู 2,088 ครั้ง 29:52 หลวงพ่อฤาษี สอน ตัดสังโยชน์3 ชุมพร บำเพ็ญ ดู 21,889 ครั้ง 2:27:03 เทศน์แจง ๒ ธรรมาสน์ พระราชพรหมยาน หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง บ หมวดทั่วไป ทางไปนิพพาน watpotv ดู 2,624 ครั้ง 1:16:43 อดีตรำลึก 1 พระราชพรหมยาน หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง บ หมวดทั่วไป ทางไปนิพพาน 1 watpotv ดู 3,304 ครั้ง 2:03:16 สมเด็จพระญาณสังวรฯ-จิตบรรลุนิพพาน dhamma osoth ดู 40,230 ครั้ง 46:22 นิพพานคาถาโดยพระราชพรหมยานเถระ Sompong Tungmepol ดู 8,492 ครั้ง 28:01 พระราชพรหมยานเถระนักปฏิบัติใหม่อันดับแรกจะต้องรู้ลมหายใจเข้าออก Sompong Tungmepol ดู 13,985 ครั้ง 1:00:53 วิธีการเข้าถึงพระนิพพาน Sompong Tungmepol ดู 107,805 ครั้ง 24:36 นี่แหล่ะ สภาวะพระนิพพานที่แท้จริง Rsa2475 ดู 7,975 ครั้ง 9:05 ขณิกสมาธิ (กสิณ) ตอนที่1 – วิธีปฎิบัติเพื่อเป็นพระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณ โดย หลวงพ่อฤาษีลิงดำ กุญแจธรรม ดู 9,855 ครั้ง 43:17 การเจริญกรรมฐาน ทางสู่พระนิพพาน - หลวงพ่อฤาษีลิงดำ DrSeripiput Srimuang ดู 365,950 ครั้ง 1:36:34 หลวงพ่อฤาษีลิงดำ - บันทึกความจำพิเศษ [ตอนเดียวจบ] โกปิโก้ โกยารักษ์ ดู 136,319 ครั้ง 1:51:59 หลวงพ่อฤาษีลิงดำ - สนทนาธรรมที่คลองวาฬ โกปิโก้ โกยารักษ์ ดู 16,023 ครั้ง 1:47:48 หลวงพ่อฤาษีลิงดำ - การฝึกอารมณ์ให้เข้าถึงความเป็นพระอริยะแบบสุกขวิปัสสโก[ตอนเดียวจบ] โกปิโก้ โกยารักษ์ ขอแนะนำสำหรับคุณ 4:55:29 พระราชพรหมยาน ถามตอบปัญหา 6 ชุมพร บำเพ็ญ ดู 8,753 ครั้ง 1:34:22 พุทธานุสติกรรมฐาน Tanat Tonguthaisri ดู 44,369 ครั้ง 1:09:16 ละกามราคะกามฉันทะไปนิพพาน พระราชพรหมยาน หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ ดู 3,036 ครั้ง 31:26 สมาธิ สมถะ วิปัสสนา หลวงพ่อฤาษีลิงดำ DrSeripiput Srimuang ดู 137,379 ครั้ง 1:28:46 หลวงพ่อฤาษีฯ ศีล 5 กรรมบถ 10 ชุมพร บำเพ็ญ ดู 7,469 ครั้ง 3:28:15 แสดงเพิ่มเติม ภาษา: ไทย ตำแหน่งของเนื้อหา: ประเทศไทย โหมดที่จำกัด: ปิด ประวัติการเข้าชม ความช่วยเหลือ เกี่ยวกับ สื่อ ลิขสิทธิ์ ผู้สร้าง โฆษณา นักพัฒนาซอฟต์แวร์ +YouTube ข้อกำหนด ความเป็นส่วนตัว นโยบายและความปลอดภัย ส่งความคิดเห็น ลองสิ่งใหม่!
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น