วันพุธที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2560

พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมีจิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณ จะมีรอยแยกสองทาง พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ จิตจะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ ติดตามแล้ว908 เพิ่มลงใน แชร์ เพิ่มเติม ดู 1,600 ครั้ง 11 1 เผยแพร่เมื่อ 31 ก.ค. 2016 จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ บทวันทา พระพุทธเจ้า วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ตีโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง เฉต๎วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ(กราบ) อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ (กราบ) บทวันทา (นั่งคุกเข่าประนมมือ) อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทาฯ ( กราบ ) อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ฯ ( กราบ ) บทสวดวันทา ครูบาอาจารย์ อุกาสะ วันทามิ ภันเต อาจาริเย สังโฆ อะนุตตะรัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิฯ ( กราบ ) บทสวดวันทาตอนเช้า วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทาฯ ข้าฯ ขอน้อมไหว้ พระเจดีย์ใน ทั่วทุกสถาน ทั้งพระปะระมะ ธาตุพระทรงญาณ ซึ่งประดิษฐาน โอฬารรูจี ไหว้พระมหาโพธิ์ พวยพุ่งรุ่งโรจน์ ร่มรื่นฤดี เป็นไม้พระตรัส จำรัสมัศมี ของพระชินสีห์ ศาสดาจารย์ ไหว้พระปฏิมา รูปพระตถาคตเจ้าทรงญาณ ทั้งน้อยทั้งใหญ่ เก่าใหม่ทุกสถาน ข้าฯ ขอนมัสการ เป็นนิรันดร์เทอญฯ บทวันทา ขอขมาพระ วันทามิ พุทธัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ ธัมมัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ สังฆัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์ เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจติยัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่ปูชนียสถานอันเจริญ ข้าพเจ้ากราบไหว้พัทธเสมา ต้นโพธิ์พฤกษ์ และเจดีย์อันมีอยู่ในอาราม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอปูชนียสถาน จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ คะรูอุปัชฌายะ อาจาริยะคุณัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ครูอุปัชฌาย์ อาจารย์ผู้มีพระคุณ เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอท่านจงให้อภัยโทษ แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง ปัจจุปปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงพระเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ พระองค์ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของชาวโลก เพื่อขอขมาโทษ ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ของพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ข้าพเจ้าขออนุโมทนา ฯ ............................................... คัดลอกจาก หนังสือมนต์พิธีแปล รวบรวมโดย พระครูอรุณธรรมรังษี (เอี่ยม สิริวัณโณ) วัดอรุณราชวราราม(คณะ๓) เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพ หมวดหมู่ การศึกษา สัญญาอนุญาต สัญญาอนุญาตมาตรฐานของ YouTube แสดงน้อยลง ความคิดเห็น • 10 Sompong Tungmepol เพิ่มความคิดเห็นสาธารณะ... ความคิดเห็นยอดนิยม Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol24 นาทีที่ผ่านมา ถ้าเมื่อไหร่จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริง เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย …. ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ การปฏิบัตินะต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ต้องเห็นนะไม่ใช่คิด ต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่คิดเรื่องรูปนาม การคิดเรื่องรูปนามว่าเป็นไตรลักษณ์ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ในโสฬสญาณที่พูดถึงเมื่อกี้ ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ แยกรูปแยกนาม ญาณที่ ๒ ชื่อปัจจัยปริคคหญาณ ดูว่ารูปนามแต่ละตัวๆมีเหตุถึงจะเกิด รู้เหตุเกิดของมัน ไม่มีอะไรที่เกิดลอยๆ ทุกอย่างมีเหตุถึงจะเกิด ถัดมาเป็นญาณที่ ๓ ชื่อสัมมสนญาณ จะเห็นเลยว่ารูปนามทั้งหลายเกิดแล้วดับทั้งสิ้น รูปนามทั้งหลายตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์ แต่เป็นการเห็นด้วยการคิดเปรียบเทียบเอา ยังไม่ได้เห็นความเกิดดับต่อหน้าต่อตา เพราะงั้นอย่างการคิดเรื่องไตรลักษณ์ของรูปนาม ยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐาน ในโสฬสญาณนี่อยู่ในญาณที่ ๓ นะ อย่างเป็นต้นว่าเราส่องกระจกนะ เห็นตีนกาขึ้น ใจก็สลดสังเวชนะ ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ ปีกลายตีนกายังไม่ขึ้น ปีนี้ตีนกาขึ้นแล้ว ปีหน้าคงเป็นตีนวัวตีนควายอะไรอย่างนี้ ไม่เที่ยง ร่างกายนี้ไม่เที่ยง อย่างนี้ยังไม่ใช่วิปัสสนา ยังเจือด้วยการคิดอยู่ การเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิดเรียกว่าสัมมสนญาณ ขึ้นญาณที่ ๔ ชื่ออุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ) อันนี้เป็นการเห็นความเกิดดับจริงๆ อันนี้ขึ้นวิปัสสนาแล้ว วิปัสสนาญาณขึ้นจากโสฬสญาณ ญาณที่ ๔ นะ แล้วก็ไล่ไปเก้าอัน วิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ แสดงน้อยลง ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ถ้าเมื่อไหร่จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริง เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย …. ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ การปฏิบัตินะต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ต้องเห็นนะไม่ใช่คิด ต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่คิดเรื่องรูปนาม การคิดเรื่องรูปนามว่าเป็นไตรลักษณ์ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ในโสฬสญาณที่พูดถึงเมื่อกี้ ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ แยกรูปแยกนาม ญาณที่ ๒ ชื่อปัจจัยปริคคหญาณ ดูว่ารูปนามแต่ละตัวๆมีเหตุถึงจะเกิด รู้เหตุเกิดของมัน ไม่มีอะไรที่เกิดลอยๆ ทุกอย่างมีเหตุถึงจะเกิด ถัดมาเป็นญาณที่ ๓ ชื่อสัมมสนญาณ จะเห็นเลยว่ารูปนามทั้งหลายเกิดแล้วดับทั้งสิ้น รูปนามทั้งหลายตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์ แต่เป็นการเห็นด้วยการคิดเปรียบเทียบเอา ยังไม่ได้เห็นความเกิดดับต่อหน้าต่อตา เพราะงั้นอย่างการคิดเรื่องไตรลักษณ์ของรูปนาม ยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐาน ในโสฬสญาณนี่อยู่ในญาณที่ ๓ นะ อย่างเป็นต้นว่าเราส่องกระจกนะ เห็นตีนกาขึ้น ใจก็สลดสังเวชนะ ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ ปีกลายตีนกายังไม่ขึ้น ปีนี้ตีนกาขึ้นแล้ว ปีหน้าคงเป็นตีนวัวตีนควายอะไรอย่างนี้ ไม่เที่ยง ร่างกายนี้ไม่เที่ยง อย่างนี้ยังไม่ใช่วิปัสสนา ยังเจือด้วยการคิดอยู่ การเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิดเรียกว่าสัมมสนญาณ ขึ้นญาณที่ ๔ ชื่ออุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ) อันนี้เป็นการเห็นความเกิดดับจริงๆ อันนี้ขึ้นวิปัสสนาแล้ว วิปัสสนาญาณขึ้นจากโสฬสญาณ ญาณที่ ๔ นะ แล้วก็ไล่ไปเก้าอัน วิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ แสดงน้อยลง ตอบกลับ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol3 เดือนที่ผ่านมา จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ บทวันทา พระพุทธเจ้า วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ตีโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง เฉต๎วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ(กราบ) อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ (กราบ) บทวันทา (นั่งคุกเข่าประนมมือ) อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทาฯ ( กราบ ) อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ฯ ( กราบ ) บทสวดวันทา ครูบาอาจารย์ อุกาสะ วันทามิ ภันเต อาจาริเย สังโฆ อะนุตตะรัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิฯ ( กราบ ) บทสวดวันทาตอนเช้า วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทาฯ ข้าฯ ขอน้อมไหว้ พระเจดีย์ใน ทั่วทุกสถาน ทั้งพระปะระมะ ธาตุพระทรงญาณ ซึ่งประดิษฐาน โอฬารรูจี ไหว้พระมหาโพธิ์ พวยพุ่งรุ่งโรจน์ ร่มรื่นฤดี เป็นไม้พระตรัส จำรัสมัศมี ของพระชินสีห์ ศาสดาจารย์ ไหว้พระปฏิมา รูปพระตถาคตเจ้าทรงญาณ ทั้งน้อยทั้งใหญ่ เก่าใหม่ทุกสถาน ข้าฯ ขอนมัสการ เป็นนิรันดร์เทอญฯ บทวันทา ขอขมาพระ วันทามิ พุทธัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ ธัมมัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ สังฆัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์ เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจติยัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่ปูชนียสถานอันเจริญ ข้าพเจ้ากราบไหว้พัทธเสมา ต้นโพธิ์พฤกษ์ และเจดีย์อันมีอยู่ในอาราม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอปูชนียสถาน จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ คะรูอุปัชฌายะ อาจาริยะคุณัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ครูอุปัชฌาย์ อาจารย์ผู้มีพระคุณ เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอท่านจงให้อภัยโทษ แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง ปัจจุปปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต -ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงพระเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ พระองค์ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของชาวโลก เพื่อขอขมาโทษ ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ของพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ข้าพเจ้าขออนุโมทนา ฯ

จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณ จะมีรอยแยกสองทาง พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ จิ...

จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณ จะมีรอยแยกสองทาง พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ จิตจะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล

  
ดู 1,600 ครั้ง
เผยแพร่เมื่อ 31 ก.ค. 2016
จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ
บทวันทา พระพุทธเจ้า
วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง
ตีโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง
โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง
เฉต๎วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ
ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร
ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค
ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง
ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ
สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต




สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา
ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ(กราบ)

อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ
อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว
ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ (กราบ)

บทวันทา
(นั่งคุกเข่าประนมมือ)
อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต
สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทาฯ ( กราบ )

อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง
ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ
อะนุโมทามิ ฯ ( กราบ )

บทสวดวันทา ครูบาอาจารย์
อุกาสะ วันทามิ ภันเต อาจาริเย สังโฆ อะนุตตะรัง
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง
มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิฯ ( กราบ )

บทสวดวันทาตอนเช้า
วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทาฯ ข้าฯ ขอน้อมไหว้ พระเจดีย์ใน ทั่วทุกสถาน
ทั้งพระปะระมะ ธาตุพระทรงญาณ ซึ่งประดิษฐาน โอฬารรูจี ไหว้พระมหาโพธิ์ พวยพุ่งรุ่งโรจน์ ร่มรื่นฤดี
เป็นไม้พระตรัส จำรัสมัศมี ของพระชินสีห์ ศาสดาจารย์ ไหว้พระปฏิมา รูปพระตถาคตเจ้าทรงญาณ
ทั้งน้อยทั้งใหญ่ เก่าใหม่ทุกสถาน ข้าฯ ขอนมัสการ เป็นนิรันดร์เทอญฯ

บทวันทา ขอขมาพระ
วันทามิ พุทธัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ ธัมมัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ สังฆัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์ เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง
เจติยัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่ปูชนียสถานอันเจริญ ข้าพเจ้ากราบไหว้พัทธเสมา ต้นโพธิ์พฤกษ์
และเจดีย์อันมีอยู่ในอาราม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอปูชนียสถาน
จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ คะรูอุปัชฌายะ อาจาริยะคุณัง
สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ครูอุปัชฌาย์ อาจารย์ผู้มีพระคุณ
เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอท่านจงให้อภัยโทษ แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง
อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง
ปัจจุปปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงพระเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้
พระองค์ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของชาวโลก เพื่อขอขมาโทษ ทั้งที่เป็นอดีต
อนาคต และปัจจุบัน ของพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ข้าพเจ้าขออนุโมทนา ฯ

...............................................
คัดลอกจาก หนังสือมนต์พิธีแปล
รวบรวมโดย พระครูอรุณธรรมรังษี (เอี่ยม สิริวัณโณ)
วัดอรุณราชวราราม(คณะ๓) เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพ
  • หมวดหมู่

  • สัญญาอนุญาต

    • สัญญาอนุญาตมาตรฐานของ YouTube

ความคิดเห็น • 10

Sompong Tungmepol 
ถ้าเมื่อไหร่จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริง เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา

ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย ….

ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก

พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น
อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะ

ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้
อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ
วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก
จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ

การปฏิบัตินะต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม
ต้องเห็นนะไม่ใช่คิด ต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่คิดเรื่องรูปนาม
การคิดเรื่องรูปนามว่าเป็นไตรลักษณ์ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา

ในโสฬสญาณที่พูดถึงเมื่อกี้
ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ แยกรูปแยกนาม

ญาณที่ ๒ ชื่อปัจจัยปริคคหญาณ ดูว่ารูปนามแต่ละตัวๆมีเหตุถึงจะเกิด
รู้เหตุเกิดของมัน ไม่มีอะไรที่เกิดลอยๆ ทุกอย่างมีเหตุถึงจะเกิด

ถัดมาเป็นญาณที่ ๓ ชื่อสัมมสนญาณ
จะเห็นเลยว่ารูปนามทั้งหลายเกิดแล้วดับทั้งสิ้น รูปนามทั้งหลายตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์
แต่เป็นการเห็นด้วยการคิดเปรียบเทียบเอา ยังไม่ได้เห็นความเกิดดับต่อหน้าต่อตา
เพราะงั้นอย่างการคิดเรื่องไตรลักษณ์ของรูปนาม ยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐาน
ในโสฬสญาณนี่อยู่ในญาณที่ ๓ นะ
อย่างเป็นต้นว่าเราส่องกระจกนะ เห็นตีนกาขึ้น ใจก็สลดสังเวชนะ ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ
ปีกลายตีนกายังไม่ขึ้น ปีนี้ตีนกาขึ้นแล้ว ปีหน้าคงเป็นตีนวัวตีนควายอะไรอย่างนี้
ไม่เที่ยง ร่างกายนี้ไม่เที่ยง อย่างนี้ยังไม่ใช่วิปัสสนา ยังเจือด้วยการคิดอยู่
การเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิดเรียกว่าสัมมสนญาณ

ขึ้นญาณที่ ๔ ชื่ออุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ)
อันนี้เป็นการเห็นความเกิดดับจริงๆ อันนี้ขึ้นวิปัสสนาแล้ว
วิปัสสนาญาณขึ้นจากโสฬสญาณ ญาณที่ ๔ นะ แล้วก็ไล่ไปเก้าอัน

วิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว
สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง
เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน
กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน
จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด
ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย
ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย
ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น
ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ
ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ
เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค
กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ
ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง
กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ
ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว
จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ
Sompong Tungmepol 
ถ้าเมื่อไหร่จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริง เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา

ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย ….

ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก

พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น
อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะ

ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้
อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ
วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก
จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ

การปฏิบัตินะต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม
ต้องเห็นนะไม่ใช่คิด ต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่คิดเรื่องรูปนาม
การคิดเรื่องรูปนามว่าเป็นไตรลักษณ์ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา

ในโสฬสญาณที่พูดถึงเมื่อกี้
ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ แยกรูปแยกนาม

ญาณที่ ๒ ชื่อปัจจัยปริคคหญาณ ดูว่ารูปนามแต่ละตัวๆมีเหตุถึงจะเกิด
รู้เหตุเกิดของมัน ไม่มีอะไรที่เกิดลอยๆ ทุกอย่างมีเหตุถึงจะเกิด

ถัดมาเป็นญาณที่ ๓ ชื่อสัมมสนญาณ
จะเห็นเลยว่ารูปนามทั้งหลายเกิดแล้วดับทั้งสิ้น รูปนามทั้งหลายตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์
แต่เป็นการเห็นด้วยการคิดเปรียบเทียบเอา ยังไม่ได้เห็นความเกิดดับต่อหน้าต่อตา
เพราะงั้นอย่างการคิดเรื่องไตรลักษณ์ของรูปนาม ยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐาน
ในโสฬสญาณนี่อยู่ในญาณที่ ๓ นะ
อย่างเป็นต้นว่าเราส่องกระจกนะ เห็นตีนกาขึ้น ใจก็สลดสังเวชนะ ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ
ปีกลายตีนกายังไม่ขึ้น ปีนี้ตีนกาขึ้นแล้ว ปีหน้าคงเป็นตีนวัวตีนควายอะไรอย่างนี้
ไม่เที่ยง ร่างกายนี้ไม่เที่ยง อย่างนี้ยังไม่ใช่วิปัสสนา ยังเจือด้วยการคิดอยู่
การเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิดเรียกว่าสัมมสนญาณ

ขึ้นญาณที่ ๔ ชื่ออุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ)
อันนี้เป็นการเห็นความเกิดดับจริงๆ อันนี้ขึ้นวิปัสสนาแล้ว
วิปัสสนาญาณขึ้นจากโสฬสญาณ ญาณที่ ๔ นะ แล้วก็ไล่ไปเก้าอัน

วิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว
สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง
เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน
กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน
จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด
ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย
ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย
ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น
ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ
ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ
เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค
กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ
ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง
กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ
ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว
จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ
Sompong Tungmepol 
จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ
บทวันทา พระพุทธเจ้า
วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง
ตีโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง
โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง
เฉต๎วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ
ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร
ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค
ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง
ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ
สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต




สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา
ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ(กราบ)

อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ
อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว
ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ (กราบ)

บทวันทา
(นั่งคุกเข่าประนมมือ)
อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต
สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทาฯ ( กราบ )

อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง
ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ
อะนุโมทามิ ฯ ( กราบ )

บทสวดวันทา ครูบาอาจารย์
อุกาสะ วันทามิ ภันเต อาจาริเย สังโฆ อะนุตตะรัง
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง
มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิฯ ( กราบ )

บทสวดวันทาตอนเช้า
วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทาฯ ข้าฯ ขอน้อมไหว้ พระเจดีย์ใน ทั่วทุกสถาน
ทั้งพระปะระมะ ธาตุพระทรงญาณ ซึ่งประดิษฐาน โอฬารรูจี ไหว้พระมหาโพธิ์ พวยพุ่งรุ่งโรจน์ ร่มรื่นฤดี
เป็นไม้พระตรัส จำรัสมัศมี ของพระชินสีห์ ศาสดาจารย์ ไหว้พระปฏิมา รูปพระตถาคตเจ้าทรงญาณ
ทั้งน้อยทั้งใหญ่ เก่าใหม่ทุกสถาน ข้าฯ ขอนมัสการ เป็นนิรันดร์เทอญฯ

บทวันทา ขอขมาพระ
วันทามิ พุทธัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ ธัมมัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ สังฆัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์ เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง
เจติยัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่ปูชนียสถานอันเจริญ ข้าพเจ้ากราบไหว้พัทธเสมา ต้นโพธิ์พฤกษ์
และเจดีย์อันมีอยู่ในอาราม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอปูชนียสถาน
จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ คะรูอุปัชฌายะ อาจาริยะคุณัง
สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ครูอุปัชฌาย์ อาจารย์ผู้มีพระคุณ
เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอท่านจงให้อภัยโทษ แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง
อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง
ปัจจุปปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงพระเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้
พระองค์ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของชาวโลก เพื่อขอขมาโทษ ทั้งที่เป็นอดีต
อนาคต และปัจจุบัน ของพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ข้าพเจ้าขออนุโมทนา ฯ

จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณ จะมีรอยแยกสองทาง พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ จิ...

จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณ จะมีรอยแยกสองทาง พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ จิตจะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล

  
ดู 1,600 ครั้ง
เผยแพร่เมื่อ 31 ก.ค. 2016
จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ
บทวันทา พระพุทธเจ้า
วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง
ตีโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง
โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง
เฉต๎วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ
ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร
ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค
ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง
ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ
สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต




สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา
ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ(กราบ)

อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ
อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว
ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ (กราบ)

บทวันทา
(นั่งคุกเข่าประนมมือ)
อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต
สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทาฯ ( กราบ )

อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง
ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ
อะนุโมทามิ ฯ ( กราบ )

บทสวดวันทา ครูบาอาจารย์
อุกาสะ วันทามิ ภันเต อาจาริเย สังโฆ อะนุตตะรัง
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง
มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิฯ ( กราบ )

บทสวดวันทาตอนเช้า
วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทาฯ ข้าฯ ขอน้อมไหว้ พระเจดีย์ใน ทั่วทุกสถาน
ทั้งพระปะระมะ ธาตุพระทรงญาณ ซึ่งประดิษฐาน โอฬารรูจี ไหว้พระมหาโพธิ์ พวยพุ่งรุ่งโรจน์ ร่มรื่นฤดี
เป็นไม้พระตรัส จำรัสมัศมี ของพระชินสีห์ ศาสดาจารย์ ไหว้พระปฏิมา รูปพระตถาคตเจ้าทรงญาณ
ทั้งน้อยทั้งใหญ่ เก่าใหม่ทุกสถาน ข้าฯ ขอนมัสการ เป็นนิรันดร์เทอญฯ

บทวันทา ขอขมาพระ
วันทามิ พุทธัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ ธัมมัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ สังฆัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์ เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง
เจติยัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่ปูชนียสถานอันเจริญ ข้าพเจ้ากราบไหว้พัทธเสมา ต้นโพธิ์พฤกษ์
และเจดีย์อันมีอยู่ในอาราม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอปูชนียสถาน
จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ คะรูอุปัชฌายะ อาจาริยะคุณัง
สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ครูอุปัชฌาย์ อาจารย์ผู้มีพระคุณ
เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอท่านจงให้อภัยโทษ แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง
อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง
ปัจจุปปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงพระเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้
พระองค์ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของชาวโลก เพื่อขอขมาโทษ ทั้งที่เป็นอดีต
อนาคต และปัจจุบัน ของพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ข้าพเจ้าขออนุโมทนา ฯ

...............................................
คัดลอกจาก หนังสือมนต์พิธีแปล
รวบรวมโดย พระครูอรุณธรรมรังษี (เอี่ยม สิริวัณโณ)
วัดอรุณราชวราราม(คณะ๓) เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพ
  • หมวดหมู่

  • สัญญาอนุญาต

    • สัญญาอนุญาตมาตรฐานของ YouTube

ความคิดเห็น • 10

Sompong Tungmepol 
ถ้าเมื่อไหร่จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริง เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา

ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย ….

ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก

พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น
อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะ

ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้
อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ
วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก
จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ

การปฏิบัตินะต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม
ต้องเห็นนะไม่ใช่คิด ต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่คิดเรื่องรูปนาม
การคิดเรื่องรูปนามว่าเป็นไตรลักษณ์ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา

ในโสฬสญาณที่พูดถึงเมื่อกี้
ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ แยกรูปแยกนาม

ญาณที่ ๒ ชื่อปัจจัยปริคคหญาณ ดูว่ารูปนามแต่ละตัวๆมีเหตุถึงจะเกิด
รู้เหตุเกิดของมัน ไม่มีอะไรที่เกิดลอยๆ ทุกอย่างมีเหตุถึงจะเกิด

ถัดมาเป็นญาณที่ ๓ ชื่อสัมมสนญาณ
จะเห็นเลยว่ารูปนามทั้งหลายเกิดแล้วดับทั้งสิ้น รูปนามทั้งหลายตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์
แต่เป็นการเห็นด้วยการคิดเปรียบเทียบเอา ยังไม่ได้เห็นความเกิดดับต่อหน้าต่อตา
เพราะงั้นอย่างการคิดเรื่องไตรลักษณ์ของรูปนาม ยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐาน
ในโสฬสญาณนี่อยู่ในญาณที่ ๓ นะ
อย่างเป็นต้นว่าเราส่องกระจกนะ เห็นตีนกาขึ้น ใจก็สลดสังเวชนะ ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ
ปีกลายตีนกายังไม่ขึ้น ปีนี้ตีนกาขึ้นแล้ว ปีหน้าคงเป็นตีนวัวตีนควายอะไรอย่างนี้
ไม่เที่ยง ร่างกายนี้ไม่เที่ยง อย่างนี้ยังไม่ใช่วิปัสสนา ยังเจือด้วยการคิดอยู่
การเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิดเรียกว่าสัมมสนญาณ

ขึ้นญาณที่ ๔ ชื่ออุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ)
อันนี้เป็นการเห็นความเกิดดับจริงๆ อันนี้ขึ้นวิปัสสนาแล้ว
วิปัสสนาญาณขึ้นจากโสฬสญาณ ญาณที่ ๔ นะ แล้วก็ไล่ไปเก้าอัน

วิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว
สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง
เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน
กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน
จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด
ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย
ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย
ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น
ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ
ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ
เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค
กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ
ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง
กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ
ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว
จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ
Sompong Tungmepol 
ถ้าเมื่อไหร่จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริง เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา

ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย ….

ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก

พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น
อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะ

ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้
อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ
วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก
จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ

การปฏิบัตินะต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม
ต้องเห็นนะไม่ใช่คิด ต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่คิดเรื่องรูปนาม
การคิดเรื่องรูปนามว่าเป็นไตรลักษณ์ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา

ในโสฬสญาณที่พูดถึงเมื่อกี้
ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ แยกรูปแยกนาม

ญาณที่ ๒ ชื่อปัจจัยปริคคหญาณ ดูว่ารูปนามแต่ละตัวๆมีเหตุถึงจะเกิด
รู้เหตุเกิดของมัน ไม่มีอะไรที่เกิดลอยๆ ทุกอย่างมีเหตุถึงจะเกิด

ถัดมาเป็นญาณที่ ๓ ชื่อสัมมสนญาณ
จะเห็นเลยว่ารูปนามทั้งหลายเกิดแล้วดับทั้งสิ้น รูปนามทั้งหลายตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์
แต่เป็นการเห็นด้วยการคิดเปรียบเทียบเอา ยังไม่ได้เห็นความเกิดดับต่อหน้าต่อตา
เพราะงั้นอย่างการคิดเรื่องไตรลักษณ์ของรูปนาม ยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐาน
ในโสฬสญาณนี่อยู่ในญาณที่ ๓ นะ
อย่างเป็นต้นว่าเราส่องกระจกนะ เห็นตีนกาขึ้น ใจก็สลดสังเวชนะ ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ
ปีกลายตีนกายังไม่ขึ้น ปีนี้ตีนกาขึ้นแล้ว ปีหน้าคงเป็นตีนวัวตีนควายอะไรอย่างนี้
ไม่เที่ยง ร่างกายนี้ไม่เที่ยง อย่างนี้ยังไม่ใช่วิปัสสนา ยังเจือด้วยการคิดอยู่
การเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิดเรียกว่าสัมมสนญาณ

ขึ้นญาณที่ ๔ ชื่ออุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ)
อันนี้เป็นการเห็นความเกิดดับจริงๆ อันนี้ขึ้นวิปัสสนาแล้ว
วิปัสสนาญาณขึ้นจากโสฬสญาณ ญาณที่ ๔ นะ แล้วก็ไล่ไปเก้าอัน

วิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว
สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง
เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน
กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน
จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด
ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย
ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย
ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น
ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ
ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ
เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค
กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ
ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง
กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ
ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว
จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ
Sompong Tungmepol 
จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ
บทวันทา พระพุทธเจ้า
วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง
ตีโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง
โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง
เฉต๎วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ
ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร
ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค
ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง
ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ
สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต




สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา
ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ(กราบ)

อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ
อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว
ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ (กราบ)

บทวันทา
(นั่งคุกเข่าประนมมือ)
อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต
สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทาฯ ( กราบ )

อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง
ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ
อะนุโมทามิ ฯ ( กราบ )

บทสวดวันทา ครูบาอาจารย์
อุกาสะ วันทามิ ภันเต อาจาริเย สังโฆ อะนุตตะรัง
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง
มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิฯ ( กราบ )

บทสวดวันทาตอนเช้า
วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทาฯ ข้าฯ ขอน้อมไหว้ พระเจดีย์ใน ทั่วทุกสถาน
ทั้งพระปะระมะ ธาตุพระทรงญาณ ซึ่งประดิษฐาน โอฬารรูจี ไหว้พระมหาโพธิ์ พวยพุ่งรุ่งโรจน์ ร่มรื่นฤดี
เป็นไม้พระตรัส จำรัสมัศมี ของพระชินสีห์ ศาสดาจารย์ ไหว้พระปฏิมา รูปพระตถาคตเจ้าทรงญาณ
ทั้งน้อยทั้งใหญ่ เก่าใหม่ทุกสถาน ข้าฯ ขอนมัสการ เป็นนิรันดร์เทอญฯ

บทวันทา ขอขมาพระ
วันทามิ พุทธัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ ธัมมัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ สังฆัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์ เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง
เจติยัง สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่ปูชนียสถานอันเจริญ ข้าพเจ้ากราบไหว้พัทธเสมา ต้นโพธิ์พฤกษ์
และเจดีย์อันมีอยู่ในอาราม เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอปูชนียสถาน
จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ คะรูอุปัชฌายะ อาจาริยะคุณัง
สัพพะ เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ครูอุปัชฌาย์ อาจารย์ผู้มีพระคุณ
เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอท่านจงให้อภัยโทษ แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง
อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง
ปัจจุปปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
-ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงพระเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้
พระองค์ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของชาวโลก เพื่อขอขมาโทษ ทั้งที่เป็นอดีต
อนาคต และปัจจุบัน ของพระองค์ทรงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดฯ

สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ข้าพเจ้าขออนุโมทนา ฯ