วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

บ้านนางสุชาดาอุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ,.

บ้านนางสุชาดาอุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ,.

จบบริบูรณ์http://www.dhammada.net/2012/04/07/14293/,เราไปแก้ที่คนอื่นไม่ได้ มาแก้ที่ตัวเราเอง กิเลสคนอื่นล้างไม่ได้ มาล้างกิเลสของเรา เราแก้โลกทั้งใบไม่ได้ แก้ประเทศทั้งประเทศไม่ได้ เราต้องอยู่กับมัน ทำหน้าที่ไป เรามาฝึกจิตฝึกใจของเรา โลกนี้มันทุกข์นะ เราต้องอยู่กับมันให้ได้ เพราะว่าเกิดมาแล่้ว http://mcucity.tripod.com/38virtues.htm,,มงคล 38 ประการ ที่จะทำให้บรรลุพระนิพพาน นิพพานัง ปรมัง สุขัง ซอปี่ ภาคเหนือของประเทศไทยครับ ถิ่นกำเนิด บ้านเกิดของผมเอง ครับ จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

นิพพานัง ปรมัง สุขังhttp://www.dhammada.net/2012/04/07/14293/,เราไปแก้ที่คนอื่นไม่ได้ มาแก้ที่ตัวเราเอง กิเลสคนอื่นล้างไม่ได้ มาล้างกิเลสของเรา เราแก้โลกทั้งใบไม่ได้ แก้ประเทศทั้งประเทศไม่ได้ เราต้องอยู่กับมัน ทำหน้าที่ไป เรามาฝึกจิตฝึกใจของเรา โลกนี้มันทุกข์นะ เราต้องอยู่กับมันให้ได้ เพราะว่าเกิดมาแล่้ว http://mcucity.tripod.com/38virtues.htm,,มงคล 38 ประการ ที่จะทำให้บรรลุพระนิพพาน นิพพานัง ปรมัง สุขัง ซอปี่ ภาคเหนือของประเทศไทยครับ ถิ่นกำเนิด บ้านเกิดของผมเอง ครับ จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

Working with Arduino with Mitov Software's Visuino & Delphi - CodeRage X...

วันอังคารที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าวงจรและโค๊ดแบบ เพียวซายน์ อินเวอร์เตอร์ อยู่ ที่นี่ ครับ https://www.youtube.com/watch?v=fHoEmjUX8_8 httpwww.emergingtechs.orgpblog-page_14.html รุ่นใหม่ ราคา1000 บาท ครับ นำไปบัดกรีและต่อเติมตามถนัดครับ..มี บอร์ด Arduino UNO ลงโปรแกรม VFD Variable Frequency Drive และทดสอบแล้ว 1 บอร์ด ราคา 800 บาท และ PS219A2 1 ตัว ราคา 200 บาท ครับ ลงวันที่ 30 กันยายน 2559 TM 51 รับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงตั้งแต่ 48 Voltsถึง 300 Volts ครับ รับกระแสได้ 10 ถึง 15 Amps แล้วจะทำหน้าที่ เปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสตรง -ทีแรงดัน 370-375 Volts เพื่อนำไปจ่ายให้กับ TM 52 A ครับ TM 52 A จะทำหน้าที่ขับมอเตอร์ สามเฟส 220/380 Volts สูงสุดที่ประมาณ 3- 5 แรงม้าแนะนำให้ใช้ที่..3 แรงม้าครับ..บอร์ด MC3PHAC ทำหน้าที่ สร้างและกำหนดค่าของสัญญาณ สามเฟส SINE WAVE แบบ PWM ครับ..มีจำหน่ายหลายที่ครับ ติดต่อกันเองก็แล้วกัน ถ้าหาไม่ได้ ลองโทรไปที่ 02 951 1356 และ 081-803-6553 นะครับ...หรือ ติดต่อที่ s o m p o n g i n d u s t r i a l @ g mail .com m r s o m p o n g t @h o t mail.comm ก็ได้ครับ จำหน่าย PS 21244 MITSUBISHI SEMICONDUCTOR TRANSFER-MOLD TYPE INSULATED TYPE 6 DI 15 S -050 C 6 DI 15 S-050 D TM 51 สำหรับท่านที่ซื้ออุปกรณ์นี้ไปแล้วหรือกำลังคิดจะซื้อ..ที่ยังหาวงจรสำหรับขับไม่ได้ ให้ใช้วงจรนี้ได้นะครับ.. 02-951-1356 ยินดีและขอบพระคุณทุกท่าน.มากครับ TOSHIBA GT15J331 ราคา ตัวละ 300 บาท 4 ตัว ราคา ตัวละ 250 บาทครับ บอร์ด drive l6569 บอร์ดละ 100 บาท แกนเฟอไรท์ มีหลาย ขนาดที่ใหญ่สุดที่มีเป็นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว ราคา 400 บาท ครับ TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT GT15J331High Power Switching ApplicationsMotor Control Applications The 4th Generation Enhancement-Mode High Speed: tf = 0.10 µs (typ.) Low Saturation Voltage: VCE (sat) = 1.75 V (typ.) FRD included between Emitter and collector.Maximum Ratings (Ta 25°C)Characteristic Symbol Rating UnitCollector-emitter voltage VCES 600 VGate-emitter voltage VGES 20 VDC IC 15Collector current 1 ms ICP 30ADC IF 15 A Emitter-collector forward current 1 ms IFM 30 WCollector power dissipation(Tc 25°C) PC 70 WJunction temperature Tj 150 °CStorage temperature range Tstg 55~150 °C Equiท่านที่ส่งงานให้ผมซ่อมให้ส่งเฉพาะแผงวงจร..มาทางไปรษณีย์...ติดต่อที่ 02-951-1356 มือถือ 081-803-6553 LINE IDคือ pornpimon1411 ครับ...email mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comส่ง สมพงค์ ทุ่งมีผล 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Mosfet 2SK2698 2SK2611 TOSHIBA JAPAN แท้ ราคา ตัวละ 35 บาท 3 ตัว 100 บาท สำหรับ ท่านที่ทำงาน ซ่อม ตู้เชื่อม อินเวอร์เตอร์ ครับ.. จำหน่าย TLP3506 TOSHIBA Photocoupler GaAs Ired & Photo-Triac TLP3506 Triac Driver Programmable Controllers. ทีีใช้ในเครื่องซักผ้า ราคาตัวละ 30 บาทครับ...ใช้แทน R23MF1 ไดัครับ. จำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

มรรคผลนิพพานไม่ไกลนะ มันไกลสำหรับคนซึ่งไม่รู้จักวิธี สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ

วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียวจึงจะเห็นจิตพระธรรมเทศนาของหลวงปู่เทสก์โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า

คำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าเรามีศีลแล้วนะใจเราจะอยู่กับเนื้อกับตัวง่าย ใจตั้งมั่นง่าย ถ้าเราไม่มีศีลนะ วอกแวกๆ คิดกลุ้มใจไปโน่นไปนี่เรื่อยๆ ถ้ามีศีลอยู่ ใจก็อยู่กับเนื้อกับตัวไปนะ พอใจอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว เราก็คอยตามรู้กายรู้ใจไป บางคนก็ดูกาย เห็นร่างกายเคลื่อนไหว ใจเป็นคนดู บางคนก็ดูจิตดูใจไป วิธีดูจิตก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กระทบอารมณ์ ความรู้สึกใดแปลกปลอมขึ้นมารู้มัน แต่รู้ด้วยความเป็นกลางนะ มีเงื่อนไขสำคัญมาก รู้ด้วยความเป็นกลาง เช่นกิเลสเกิดขึ้นมา รู้ว่ามีกิเลส เช่น ความโกรธเกิดขึ้นรู้ว่าโกรธ พอความโกรธเกิดขึ้น ใจเราไม่ชอบ ให้รู้ทันใจที่ไม่ชอบนี่นะ ความไม่ชอบนี่คือความไม่เป็นกลาง ถ้าเมื่อไหร่ เราสามารถ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตใจที่ตั้งมั่น ด้วยจิตใจที่เป็นกลางได้นะ ปัญญาแท้ๆมันจะเกิด เห็นกายไม่ใช่เรา ใจไม่ใช่เรา มันจะเห็นว่า ทุกสิ่งนี้เป็นของชั่วคราว ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศล ทั้งหลายนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมด เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

ลักขนูปณิชฌาน ดูออกหรือยัง ฝันรู้ว่าฝัน พอรู้ว่าฝัน ให้ตื่นทันทีนิยามของ Lucid dreaming คือ สถาวะที่คนเรา สามารถที่จะรู้สึกตัว และตระหนักได้ว่าตนเองนั้นอยู่ในความฝัน ในขณะที่ตัวเองฝันอยู่ ทำให้สามารถควบคุมความฝันของตนเองได้ เช่น เมื่อเรากำลังฝันร้าย พบสิงโต ถ้าสามารถควบคุมความฝันได้ ก็จะสามารถเปลี่ยนสิงโตที่ดุร้าย เป็นแมวเชื่องๆ ได้ แล้วก็จะไม่พบกับฝันร้ายอีกต่อไป ทำให้มีสุขภาพจิตที่ดี และนอนเต็มอิ่ม สำหรับ lucid dreaming นี้ นาย Stepen LaBerge ซึ่งเป็นนักเขียน และนักทดลองชื่อดัง ได้อธิบายไว้สั้นๆ ว่า เป็นสภาวะ "ที่คุณสามารถฝัน ในขณะที่รู้ว่าตัวคุณเองกำลังฝันอยู่" (ฝันในฝัน?) มีคำถามมากมายเกี่ยวกับ lucid dreaming และก็เกี่ยวกับสภาวะที่เรียกว่า "ความฝัน" ของมนุษย์ LaBerge และคณะ ได้เรียกกลุ่มคนที่ได้พยายามหาวิธีที่จะควบคุมความฝันว่า Oneironauts หรือ ตามภาษากรีกว่า "dream explorers" หรือ ผู้ท่องเที่ยวไปในความฝัน มีกลุ่มคนหลายกลุ่มที่สนใจเกี่ยวกับเรื่อง lucid dreaming เช่น นักจิตวิทยา, นักเขียน, นักวิทยาศาสตร์, ศิลปิน และ คนทั่วไป แต่อย่างไรก็ตาม แต่ละกลุ่ม ก็มีนิยาม และมีวิธีการเข้าถึง lucid dream ที่แตกต่างกัน และไม่ค่อยจะเหมือนกันเลย ไม่มีใครเข้าใจชัดเจนถึงกลไลที่จะทำให้เกิด lucid dreaming ซึ่งก็ดูเหมือนจะเป็นศาสตร์ที่ต้องหลักฐานวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม และรอการพิสูจน์จากนักวิทยาศาสตร์ในอนาคต การเข้าถึงสภาวะ lucid dreaming สิ่งที่สำคัญ และดูเหมือนจะเป็นประเด็นหลักของการทำ lucid dreaming ก็คือ การรู้สึกตัว และมีสติอยู่เสมอ เมื่อกำลังหลับอยู่ ถ้าเมื่อไหร่ ที่สามารถจะรู้ตัวเองได้ ในความฝัน ว่านี่แหละฉันกำลังอยู่ในฝัน ฉันฝันไป และสามารถจะเปลี่ยนแปลงควบคุม ความฝันได้ นั่นแหละ คุณก็กำลังอยู่ในสภาวะ lucid dreaming แล้ว มีคนจำนวนหนึ่งที่ได้อ้างว่า ตัวเองเคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับ lucid dreaming มาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "ในวัยเด็ก" แต่สำหรับคนทั่วไปแล้ว การจะเข้าสู่สภาวะ lucid dreaming ได้เป็นประจำ แม้ว่าจะมีการฝึกฝนอย่างดี ด้วยเทคนิคต่างๆ นั้น กลับเป็นเรื่องที่ยาก และก็ไม่ได้แปลว่าจะเกิดขึ้นทุกๆ วัน [attachmentid=1127] แต่ถึงกระนั้น ก็มีทีมวิจัยจากหลากหลายสถาบัน พยายามที่จะพัฒนาเทคนิคที่จะทำให้คนเราสามารถควบคุมความฝันได้ โดยหนึ่งในนั้นก็คือกลุ่มวิจัยจากมหาวิทยาลัย Standford และ สถาบันวิจัย Lucidity ของนาย LaBerge ในปัจจุบันไม่มีผลสรุปที่แน่ชัดว่าการฝึกฝน lucid dreaming เป็นประจำ นั้นจะมีผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจหรือไม่ นอกจากนั้นก็ไม่มีข้อสรุปแน่ชัดว่า การเข้าถึงสภาวะ lucid dreaming จะทำให้เสียผลประโยชน์ของการฝันธรรมดา ด้วยหรือไม่? โดยนักจิตวิทยาบางท่าน ได้กล่าวว่า การฝันธรรมดา นั้นจะทำให้เกิดการเข้าใจตัวเอง (self-understanding) ได้ดีกว่าการทำ lucid dreaming การจดจำความฝันของตนเอง (dream recall) ก็เป็นหนึ่งในสิ่งที่นักผจญภัยความฝัน (lucid dreamer) หวังว่าจะสามารถทำได้คล่องแคล่ว เพราะว่าการจดจำความฝันนั้นเอง เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การเข้าถึงสภาวะ lucid dreaming สิ่งที่นักผจญภัยความฝันทำเป็นประจำนั้นก็คือ การจดความฝันของตัวเองลงในสมุดบันทึก เป็นประจำ ในทันทีหลังจากตื่นขึ้น ความสามารถในการประสบสภาวะ lucid dreaming นั้น นักวิจัยกล่าวว่าขึ้นกับ บุคคลเอง ซึ่งบางคนสามารถมีสภาวะ lucid dreaming ได้ดีกว่าคนอื่นๆ การทำสมาธิอย่างสม่ำเสมอ ก็สามารถจะทำได้เกิดสภาวะ lucid dreaming ได้ง่ายขึ้น เทคนิคเหนี่ยวนำ ซึ่งจะกล่าวถึงต่อไป เทคนิคที่ใช้โดยทั่วไป วิธีทดสอบสภาวะความเป็นจริง (Reality Testing) วิธีนี้จะใช้ทดสอบว่ากำลังฝันไปหรือไม่ โดยในความฝัน ผู้ฝันจะพยายามที่จะจดจำ "เวลาในนาฬิกา" หรือ "ข้อความในหนังสือ" ในความฝัน ซึ่งจากผลการเฝ้าสังเกตนั้น นักผจญภัยความฝันพบว่า "เวลาในนาฬิกา" และ "ข้อความในหนังสือ" นั้น มักจะเปลี่ยนแปลงไปเสมอ ซึ่งจะแตกต่างจากความเป็นจริง ซึ่งถ้าพบว่าดูข้อความในหนังสือเล่มเดียวกัน หรือ ก้มลงดูนาฬิกาในเวลาที่ไม่แตกต่างกัน แล้วพบว่าข้อความในหนังสือ และหรือ เวลาเปลี่ยนไป ก็ให้รู้ว่าคุณอยู่ในความฝันแล้ว นอกจากนี้ยังมีการมองภาพของตัวเองในกระจก ซึ่งก็มีการกล่าวอ้างว่า ในความฝันนั้น คุณจะไม่สามารถมองหน้าตัวเองในกระจกได้ชัดเจน เหมือนในความเป็นจริงเลย วิธีการสังเกตเครื่องหมายแสดงถึงความฝัน (Dream Signs) [attachmentid=1145] การทดสอบอีกวิธีหนึ่งก็คือการสังเกต "สัญลักษณ์ความฝัน" เช่น ถ้าคุณพบช้างสีชมพูกำลังเดินพาเหรด หรือกระทั่งคุณกำลังคุยกับสุนัขตัวโปรดอยู่ นั่นแหละ "คุณกำลังฝันไป" วิธีเทคนิคเหนี่ยวนำ (Mnemonic Induction) วิธีนี้จะใช้ความตั้งใจในการสังเกตเครื่องหมายแสดงถึงความฝัน (dream signs) เวลาที่กำลังใกล้จะหลับ วิธีเหนี่ยวนำโดยการกลับไปนอนใหม่ (Wake Back To Bed Induction technique (WBTB)) วิธีนี้ผู้ฝันจะกลับไปนอนใหม่ หลังจากที่ตื่นขึ้น โดยจะทำการวิเคราะห์ความฝันที่ได้ฝันในเมื่อครู่เป็นเวลาสัก 1 ชม. แล้วก็กลับไปนอนใหม่ ซึ่งนักผจญภัยความฝันได้กล่าวว่าจะเกิดสภาวะ lucid dreaming ได้ง่ายขึ้น วิธีเหนี่ยวนำด้วยเข้าสู่สภาวะ lucid dreaming ในฉับพลัน (Waking Induction of Lucid Dreaming (WILD)) WILD เป็นวิธีที่ใช้กันมากที่สุด โดย ผู้ทดสอบจะพยายามเข้าสู่สภาวะ lucid dreaming ทันที โดยการพยายามทำตัวเองให้อยู่ในสภาวะ "hypnagogic" ซึ่งอยู่ในเส้นแบ่งระหว่างการหลับ กับไม่หลับ หรือสภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น ถ้าผู้ทดสอบสามารถอยู่ในสภาวะดังกล่าวได้ ก็จะสามารถควบคุมความฝันได้ โดยรู้ว่ากำลังอยู่ในความฝันอยู่ โดย นักผจญภัยความฝันกล่าวไว้ว่า มีขั้นตอน 3 ขั้นตอน ที่จะทำให้อยู่ในสภาวะนี้ได้ นั่นคือ ผ่อนคลาย (Relax) พยายามทำตัวให้มีสติ (Stay awake) แล้วก็เข้าสู่ความฝัน (Enter your dream) จากการทดสอบพบว่า วิธีนี้จะใช้ดีที่สุดในตอนกลางวัน เพราะตอนกลางคืน ผู้ทดสอบมักจะผลอยหลับไปซะก่อน สิ่งที่ผู้ผจญภัยความฝันมักจะทำ เมื่ออยู่ในสภาวะ lucid dreaming [attachmentid=1125] บิน (flying) นักผจญภัยความฝันทุกคน มักจะฝันว่าตัวเองอยู่ในสภาวะที่ไร้แรงดึงดูด หลายๆ ท่านบอกว่าเขาสามารถบินได้ แล้วก็บินไปอยู่ในดินแดนแห่งความฝัน บางท่านบินด้วยความเร็วแสง ซึ่ง สามารถแซงชนะ UFO แบบไม่มีความเฉื่อย เปลี่ยนแปลง (transforming) บางท่านพบว่า สามารถจะเปลี่ยนแปลงตัวเอง สัตว์ หรือสิ่งของ ชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์หรือสิ่งของชนิดอื่นๆ ได้ บางท่านฝันว่าตัวเองสามารถมองได้ 360 องศา หรือมีโซน่าแบบค้างคาว เป็นต้น สำหรับ lucid dreaming นั้น ท่านผู้รู้ได้ให้ทรรศนะว่า [attachmentid=1126] "การที่จะควบคุมความฝันได้นั้น ผู้ฝันจะต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับกายฝันเสียก่อน จึงจะสามารถควบคุมความฝันได้" ซึ่งตัวกระผมเอง ก็เชื่อด้วยว่า ความฝันที่ชัดแจ้ง ที่แท้จริงนั้น ก็จะทำให้เกิดสภาวะรู้แจ้งได้อีกด้วย นั่นแหละครับ คือการ "ตื่นในฝัน" ที่แท้จริง

มรณานุสสติ กัมมัฏฐานชั้นสูงสุด ภิกษุ ท. ! มรณสติ (ความระลึกถึงความตาย) อันบุคคลเจริญทำให้ มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่นิพพาน มีนิพพานเป็นที่สุด. พวกเธอเจริญมรณสติอยู่บ้างหรือ ? เมื่อรับสั่งดังนั้นแล้ว ภิกษุรูปหนึ่งทูลขึ้นว่า “แม้ข้าพระองค์ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วเวลากลางวัน. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อหนึ่ง. เราพึง ใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียง ๔ - ๕ คำ. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้ ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์ เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้าแล้วหายใจออก หรือชั่ว ขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตาม คำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. เมื่อสิ้นคำทูลทั้งหมดแล้ว, พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า :- ภิกษุ ท. ! ภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะมี ชีวิตอยู่ได้ เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วเวลา กลางวัน _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อ หนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จ เพียง ๔ - ๕ คำ. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติ ตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่ายังเป็น ผู้ประมาทอยู่ ยังเจริญมรณสติ เพื่อความสิ้นอาสวะช้าไป. ภิกษุ ท. ! ฝ่ายภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะ มีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว _ _ ” ดังนี้ก็ดี, ว่า “โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้า แล้วหายใจออก หรือชั่วขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่า เป็น ผู้ไม่ประมาทแล้ว, เป็นผู้เจริญมรณสติเพื่อความสิ้นอาสวะ มรณสติ ไอคอน Public สาธารณะ + เพิ่มบุคคลอื่น

มรณานุสสติ กัมมัฏฐานชั้นสูงสุด ภิกษุ ท. ! มรณสติ (ความระลึกถึงความตาย) อันบุคคลเจริญทำให้ มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่นิพพาน มีนิพพานเป็นที่สุด. พวกเธอเจริญมรณสติอยู่บ้างหรือ ? เมื่อรับสั่งดังนั้นแล้ว ภิกษุรูปหนึ่งทูลขึ้นว่า “แม้ข้าพระองค์ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วเวลากลางวัน. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อหนึ่ง. เราพึง ใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียง ๔ - ๕ คำ. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้ ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์ เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้าแล้วหายใจออก หรือชั่ว ขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตาม คำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. เมื่อสิ้นคำทูลทั้งหมดแล้ว, พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า :- ภิกษุ ท. ! ภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะมี ชีวิตอยู่ได้ เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วเวลา กลางวัน _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อ หนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จ เพียง ๔ - ๕ คำ. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติ ตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่ายังเป็น ผู้ประมาทอยู่ ยังเจริญมรณสติ เพื่อความสิ้นอาสวะช้าไป. ภิกษุ ท. ! ฝ่ายภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะ มีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว _ _ ” ดังนี้ก็ดี, ว่า “โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้า แล้วหายใจออก หรือชั่วขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่า เป็น ผู้ไม่ประมาทแล้ว, เป็นผู้เจริญมรณสติเพื่อความสิ้นอาสวะ มรณสติ ไอคอน Public สาธารณะ + เพิ่มบุคคลอื่น

วันอาทิตย์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

เครื่องปรับไฟหัวเทียน

สมาธิที่สำคัญสำหรับการเจริญปัญญาหลวงพ่อได้รับทราบถึงความห่วงใยและความปรารถนาดีของทุกคนแล้ว ขออนุโมทนากับทุกคนสำหรับคำอวยพรทั้งปวง หลวงพ่อเริ่มอาพาธครั้งนี้ตั้งแต่ช่วงสงกรานต์ มีอาการเหนื่อยหอบ ไอ และต่อมน้ำเหลืองโต จึงได้เข้ารับการตรวจอาการเบื้องต้นในโรงพยาบาลในย่านพัทยา ถัดจากนั้นจึงเดินทางเข้ามาตรวจรักษาในโรงพยาบาลของรัฐในกรุงเทพ ผลการตรวจชิ้นเนื้อออกมาเมื่อวานนี้ (31 พฤษภาคม 2559) สรุปได้ว่าเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง จำเป็นจะต้องรักษาตัวนานราว 8 เดือน ระหว่างนี้ภูมิต้านทานจะต่ำมาก แพทย์ผู้ดูแลจึงแนะนำให้งดการแสดงธรรมทั้งที่วัดและนอกสถานที่ รวมทั้งไม่ต้องการให้มีการเยี่ยมไข้เพราะเป็นผลเสียต่อหลวงพ่อมากกว่าผลดี หลวงพ่อตรากตรำทำงานเผยแผ่มานานแล้ว ช่วงนี้ต้องขอลาป่วยชั่วคราว ระหว่างนี้ขอให้ทุกคนตั้งใจภาวนาเพราะโลกนี้หาความแน่นอนใดๆ ไม่ได้เลย ไม่ต้องกังวลว่าจะภาวนาไม่ได้ เพราะหลวงพ่อได้ถ่ายทอดธรรมะภาคปฏิบัติไว้ครบถ้วนแล้ว ให้ใช้โยนิโสมนสิการคือความแยบคายในการสังเกตการปฏิบัติของตนให้มาก ว่าถูกตรงตามคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือไม่ ถ้าติดขัดจริงๆ ก็ให้ปรึกษาบุคคลที่หลวงพ่อมอบหมายให้ช่วยสอนได้ อย่าฉวยโอกาสที่หลวงพ่ออาพาธไปเที่ยวเถลไถลหรือขี้เกียจปฏิบัติก็แล้วกัน หลวงพ่อไม่ได้ต้องการสิ่งใดจากพวกเรา นอกจากให้พวกเราขยันภาวนาเพื่อผ่อนคลายความทุกข์ของตนเอง และเพื่อช่วยกันรักษาสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป ถ้าคิดถึงหลวงพ่อ ก็ขอให้คิดถึงธรรม เจริญพร หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช 1 มิถุนายน 2559 พระธรรมเทศนาโดย หลวงพ่อปราโมช ปราโมชโช เรื่อง วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิตต้องมาเจริญสติปัฏฐาน สติปัฏฐานเป็นทางสายเอกทางสายเดียว ต้องมาทำวิปัสสนากรรมฐาน ไม่ใช่มาทำสมาธิแล้วก็หลุดพ้นไป สมาธิไม่ได้ทำให้หลุดพ้นนะ สมาธิเป็นเครื่องมือนะ เป็นเครื่องมือเป็นตัวทำให้จิตมีพลังทีนี้­สมาธิมี ๒ แบบ สมาธิที่คนทั้งหลายฝึกกันนะเป็นสมาธิเพื่อ­­จะสงบ สงบสบายนะแล้วเกิดนิมิตเห็นโน่นเห็นนี่ไป ก็นึกว่าเห็นพระพุทธเจ้าขึ้นมา สมาธิอีกชนิดหนึ่งก็คือ จิตที่ตั้งมั่นก็คือ จิตที่ตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบา­­น เนี่ยสมาธิชนิดนี้ต้องฝึก คนส่วนใหญ่ไม่คุ้นเคยหรอก คุ้นเคยแต่สมาธิสงบ ไม่คุ้นเคยสมาธิตั้งมั่น'ปาฏิหาริย์แห่งการตื่น' จะเกิดขึ้นได้เมื่อเราตื่นจากฝัน ปาฏิหาริย์เกิดขึ้นในทุกวัน ทุกนาที คือ ปาฏิหาริย์ของการเกิดมา รับรู้ และมีสติ ซึ่งเป็นสิ่งมหัศจรรย์ยิ่ง การรู้เท่าทันจิตของตัวเอง

พระธรรมเทศนาเรามีศีลแล้วนะใจเราจะอยู่กับเนื้อกับตัวง่าย ใจตั้งมั่นง่าย ถ้าเราไม่มีศีลนะ วอกแวกๆ คิดกลุ้มใจไปโน่นไปนี่เรื่อยๆ ถ้ามีศีลอยู่ ใจก็อยู่กับเนื้อกับตัวไปนะ พอใจอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว เราก็คอยตามรู้กายรู้ใจไป บางคนก็ดูกาย เห็นร่างกายเคลื่อนไหว ใจเป็นคนดู บางคนก็ดูจิตดูใจไป วิธีดูจิตก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กระทบอารมณ์ ความรู้สึกใดแปลกปลอมขึ้นมารู้มัน แต่รู้ด้วยความเป็นกลางนะ มีเงื่อนไขสำคัญมาก รู้ด้วยความเป็นกลาง เช่นกิเลสเกิดขึ้นมา รู้ว่ามีกิเลส เช่น ความโกรธเกิดขึ้นรู้ว่าโกรธ พอความโกรธเกิดขึ้น ใจเราไม่ชอบ ให้รู้ทันใจที่ไม่ชอบนี่นะ ความไม่ชอบนี่คือความไม่เป็นกลาง ถ้าเมื่อไหร่ เราสามารถ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตใจที่ตั้งมั่น ด้วยจิตใจที่เป็นกลางได้นะ ปัญญาแท้ๆมันจะเกิด เห็นกายไม่ใช่เรา ใจไม่ใช่เรา มันจะเห็นว่า ทุกสิ่งนี้เป็นของชั่วคราว ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศล ทั้งหลายนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมด เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

พระธรรมเทศนาเรามีศีลแล้วนะใจเราจะอยู่กับเนื้อกับตัวง่าย ใจตั้งมั่นง่าย ถ้าเราไม่มีศีลนะ วอกแวกๆ คิดกลุ้มใจไปโน่นไปนี่เรื่อยๆ ถ้ามีศีลอยู่ ใจก็อยู่กับเนื้อกับตัวไปนะ พอใจอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว เราก็คอยตามรู้กายรู้ใจไป บางคนก็ดูกาย เห็นร่างกายเคลื่อนไหว ใจเป็นคนดู บางคนก็ดูจิตดูใจไป วิธีดูจิตก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กระทบอารมณ์ ความรู้สึกใดแปลกปลอมขึ้นมารู้มัน แต่รู้ด้วยความเป็นกลางนะ มีเงื่อนไขสำคัญมาก รู้ด้วยความเป็นกลาง เช่นกิเลสเกิดขึ้นมา รู้ว่ามีกิเลส เช่น ความโกรธเกิดขึ้นรู้ว่าโกรธ พอความโกรธเกิดขึ้น ใจเราไม่ชอบ ให้รู้ทันใจที่ไม่ชอบนี่นะ ความไม่ชอบนี่คือความไม่เป็นกลาง ถ้าเมื่อไหร่ เราสามารถ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตใจที่ตั้งมั่น ด้วยจิตใจที่เป็นกลางได้นะ ปัญญาแท้ๆมันจะเกิด เห็นกายไม่ใช่เรา ใจไม่ใช่เรา มันจะเห็นว่า ทุกสิ่งนี้เป็นของชั่วคราว ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศล ทั้งหลายนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมด เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

สิ้นอาสวะสัตว์สองเท้านี้เป็นสัตว์ไม่สะอาดมีกลิ่นเหม็นเต็มไปด้วยซากศพต่าง...ครูบาอาจารย์ก็อยู่ไกล เราไหว้พระสวดมนต์ เราตามรู้ตามดูของเราไป บางทีธรรมะจะถ่ายทอดออกจากใจของเราเอง หรือบางคนมีภาพประกอบ บางคนมีเสียง เห็นพระพุทธเจ้าไปบอกบ้าง เลยคิดว่าพระพุทธเจ้ามาจริงๆ นะ จริงๆ จิตนั่นเองมันถ่ายทอดธรรมะออกมา จิตใจโน้มเอียงที่จะอยู่กับธรรมะ เวลาติดขัดขึ้นมาจิตจะสอนธรรมะได้ เป็นเรื่องแปลกนะ ค่อยๆ ดู ท้าให้พิสูจน์นะ ไม่ได้ชวนให้เชื่อ ลองภาวนาดู เอาซีดี เอาหนังสือหลวงพ่อไป ไปฟังไปอ่าน แจกให้ฟรีนะ ไปฟังไปอ่านแล้วค่อยๆ สังเกตจิตใจของเราไป เห็นร่างกายมันเต็มไปด้วยความทุกข์ ตัวจิตเอง พอมีสติถี่ๆขึ้นมานะ เห็นทุกอย่างหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มันไม่ใช่สุขบ้างทุกข์บ้างแล้วนะ มันจะกลายเป็นทุกข์ล้วนๆเลย ทุกอย่างเกิดขึ้นมาแล้วก็บีบคั้นทั้งนั้นเลย เป็นความบีบคั้นทั้งสิ้น เป็นทุกข์ทั้งสิ้นเลย เนี่ยเห็นอย่างนี้นะ เห็นมาก มากๆเข้า ถึงจุดหนึ่งนะ มันไม่รู้จะไปทางไหนแล้ว จนมุมเลย จะไปอยู่ตามวัดภาวนา หวังว่าจะมีความสุข ก็ไม่มี เพราะว่าไปที่ไหนนะ ก็เอากายเอาใจไปด้วย กายกับใจมันตัวทุกข์น่ะ ไปไหนก็เอาทุกข์ไปด้วย เพราะฉะนั้นไม่มีที่หนีเลย เข้าสมาธินะ เข้าไปลึกเลย สบายๆ เผลอๆ เพลินๆ นะ เข้าไม่นานนะ สติปัญญาทำงานขึ้นมา มันถอนออกมา เห็นเลย สมาธิก็เป็นภพอีกอันหนึ่ง ไปเข้าฌานอยู่ เป็นภพอีกอันหนึ่ง ก็ทุกข์อีกนะ อยู่ได้ชั่วคราวก็ถอนออกมาอีกแล้ว เนี่ยฝึกจนกระทั่ง ครูบาอาจารย์ท่านใช้คำบอกว่า สามแดนโลกธาตุเนี่ย หาที่จะหยั่งเท้าลงไปด้วยความสุขไม่ได้เลย แล้วทำอย่างไร ทำอย่างไรดี จึงจะพ้นจากความทุกข์ ไม่มีทางทำเลย ขอเลิกไม่ดูได้มั้ย เลิกก็ไม่ได้อีก สติปัญญามันอัตโนมัตินะ หมุนจี๋อยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืนนะ เห็นจิตหมุนติ้วๆๆ จับอารมณ์โน้น จับอารมณ์นี้ ตลอดเวลาเลยนะ เดี๋ยวเหวี่ยงไปที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นะ หมุนจี๋ๆๆอยู่ ข้างในก็หมุนอยู่ตลอด มีแต่ทุกข์ล้วนๆเกิดขึ้นเลย นี่เห็นอย่างนี้จนถึงจุดหนึ่งที่จิตมันพอนะ จิตมันจนมุมแล้ว มันไม่รู้จะหาทางออกยังไงอีกต่อไปแล้ว เพราะว่า ไม่ว่าทำอะไรก็ทุกข์หมดเลย ไม่มีทางหนีจากความทุกข์ได้เลย พอจิตยอมจำนนกับความทุกข์ จิตยอมรับความจริง เรียกว่าคล้อยตามความจริงแล้วว่า กายนี้ใจนี้มีแต่ทุกข์ล้วนๆ นี่เรียกว่าจิตคล้อยตามอริยสัจจ์แล้วล่ะ คล้อยตามความจริงนะ จิตก็หมดความดิ้นรนเลย เพราะจิตมันหมดความดิ้นรนนะ มันยอมรับความจริงแล้ว มีแต่ทุกข์ล้วนๆ นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ไม่มีอะไรตั้งอยู่ ไม่มีอะไรดับไป มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จิตยอมรับความจริงแล้วจิตจะสลัดตัวเองออกจากกองทุกข์ ตรงนี้มันสลัดของมันเอง มันจะพ้นออกไปเอง เป็นเรื่องที่แปลกเป็นเรื่องที่อัศจรรย์นะ เราดิ้นรนหาทางพ้นทุกข์แทบตายก็ไม่พ้นหรอก แต่ว่าพอจิตมันเอียนทุกข์เต็มที่นะ มันรู้เต็มที่แล้ว จนกระทั่งมันรู้ว่าไม่มีทางหนีแล้ว มันยอมจำนนกับความทุกข์แล้ว หมดดสติหมดปัญญาที่จะแก้ไขให้พ้นจากความทุกข์แล้ว แบบหลังชนกำแพง ถูกผู้ร้าย ๕ ตัว ถือมีดมาไล่จิ้มเอาๆ ๕ ตัวคือมารทั้ง ๕ ตัว ไล่จิ้มเอาๆ หลังชนกำแพง รอบนี้ตายแน่ อย่างนี้จิตถึงจะยอมปล่อยวาง โอ้… กายนี้ใจนี้มีแต่ทุกข์ล้วนๆ บีบคั้นอยู่ตลอดเวลา เอาไว้ก็ไม่มีประโยชน์อะไรนะ หนีมันก็ไม่ได้ เห็นมั้ยเอาไว้ก็ไม่ดีใช่มั้ย หนีไปก็ไม่ได้ เนี่ยจิตยอมรับตรงนี้ จิตเป็นกลางเลย ยอมรับความจริง จิตจะเป็นกลางแล้วยอมรับความเป็นจริง ตรงนี้แหละที่จิตจะสลัดคืนกายคืนใจให้โลกไป เป็นภาวะที่พวกเรานึกไม่ถึงน่ะ คิดด้วยคำพูดไม่ได้ นึกเอาไม่ได้ ต้องฝึกเอา เราจะรู้เลยความพ้นทุกข์มีจริงๆ

ธรรมอยู่ที่กายที่ใจของเรานี่เองเราตามรู้ตามดูของเราไป บางทีธรรมะจะถ่ายทอ...

วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

เครื่องแปลงไฟ กระแสตรง TM51จ่ายแรงดันไฟฟ้า 280โวลต์ไม่เกิน390โวลต์อะไหล่และอุปกรณ์ ตามคลิป มีจำหน่าย ที่ sompong industrial electronics ท่านที่จะนำไปใช้ ส่วนรวม วัด โรงเรียน โรงพยาบาล ศาสนสถาน ผมยินดี บริจาคให้ ไม่คิดมูลค่า ครับ ..ขอ อนุโมทนา..ครับ.. TM52A หมดแล้วครับ เบอร์ใหม่ ดูจากคลิป นะครับ เป็นเบอร์ GT15J331 และ PS21244 ครับผม..https://www.youtube.com/watch?v=A9fDf... ทดสอบPower Module GT15J331 โดยใช้มอเตอร์สามเฟสครับ....ใช้งานจริง ต้องติดตั้งบนแผ่นระบายความร้อน..และติดพัดลม..ด้วยนะครับ https://www.youtube.com/watch?v=YfVvJ... ระบบอินเวอร์เตอร์ inverter ใช้ร่วมกับโซล่าเซลล์ประหยัดไฟได้จริงหรือไม่ดูจากคลิปนี้ครับPOWER MODULE ควบคุมมอเตอร์สามเฟส Tm52A หมดแล้วนะครับ...วันนี้ต้องเป็นเบอร์ GT15J331 PS21244 ครับ.. TM 51 รับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงตั้งแต่ 24 Voltsถึง 300 Volts ครับ รับกระแสได้ 10 ถึง 15 Amps แล้วจะทำหน้าที่ เปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสตรง -ทีแรงดัน 370-375 Volts เพื่อนำไปจ่ายให้กับ ทำหน้าที่ขับมอเตอร์ สามเฟส 220/380 Volts สูงสุดที่ประมาณ 1/2 แรงม้า ถึง3 แรงม้าแนะนำให้ใช้ที่..1 แรงม้าครับ..บอร์ด Arduino ทำหน้าที่ สร้างและกำหนดค่าของสัญญาณ สามเฟส SINE WAVE แบบ PWM ครับ..มีจำหน่ายหลายที่ครับ ติดต่อกันเองก็แล้วกัน ถ้าหาไม่ได้ ลองโทรไปที่ 02 951 1356 และ 081-803-6553 นะครับ...LINE pornpimon 1411 หรือ ติดต่อที่ s o m p o n g i n d u s t r i a l @ g mail .com m r s o m p o n g t @h o t mail.comm ก็ได้ครับ จำหน่าย PS 21244 MITSUBISHI SEMICONDUCTOR TRANSFER-MOLD TYPE INSULATED TYPE 6 DI 15 S -050 C 6 DI 15 S-050 D TM 51 สำหรับสร้างเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส... วิธีทำให้ TM51จ่ายแรงดันไฟฟ้า 280โวลต์ไม่เกิน320โวลต์เพื่อใช้กับ PS21244 PS21963 PS219A2 MP6501A 6DI15S-05

วันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

วิไม่ได้เปิดสอนครับเผยแพร่ตามคลิป พิมพ์อาการเสีย เช่น ภาคจ่ายไฟ ภาค gate drive แล้ว คลิ๊ก Video จะพบคลิป ที่ ต้องการหาเอง. ครับ...ธีซ่อมสร้างตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ภาค Power Out Put อุปกรณ์ ตามคลิป มีจ...

ชุดควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟส รุ่นใหม่

วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ ร...

วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ ร...

วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ ร...

วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ ร...ถ้าเมื่อไหร่จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแระ เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย …. ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ ตรงที่จิตถึงสัจจานุโลมิกญาณหรืออนุโลมญาณ ใจคล้อยตามความจริง(ไตรลักษณ์)แล้ว ตรงนี้มีสามขณะถ้าเต็มรูป มีบริกรรม อุปจาร อนุโลม อนุโลมตัวสุดท้ายเป็นตัวตัด ตัดกระแสการรู้อารมณ์รูปนาม ฉะนั้นเวลาที่จิตรวมเข้าไป จิตเป็นกลางๆไปถึงขีดสุดแล้ว ปัญญาพอแล้ว มันเข้าอัปปนาสมาธิแล้วจะเห็นสภาวะเกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ขณะที่สองหรือขณะที่สามเป็นตัวสุดท้ายนี่มันจะตัด ตัดการรู้รูปนาม ตัดอารมณ์ของฝ่ายโลกียะ เสร็จแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ตัวนี้เองที่ว่าเราจะต้องฝึกจิตของเรา จะต้องฝึกจนมันตั้งมั่น มีเอโกทิภาวะอยู่ มีความตั้งมั่น ฉะนั้นพอมันวางอารมณ์รูปนามนี้ปุ๊บ มันจะหนีไปหาอารมณ์บัญญัติแทน ฉะนั้นใจเราต้องฝึกจนมีเอโกทิภาวะ พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติ เพราะถ้าเจือด้วยความจงใจแม้แต่นิดเดียว มรรคผลจะเกิดไม่ได้ ตรงที่มันดับกระแสของโลกิยะลงไป อนุโลมญาณดับกระแสของโลกิยะลงไปแล้ว มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้เอง ไม่จับโลกียะ แต่ยังไม่เข้าถึงโลกุตตระเป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวงหนึ่ง พอทวนเข้าถึงอริยมรรค ตัวมรรคนี้เป็นชาติกุศล แต่ตัวผลเป็นชาติวิบาก พอมันทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้ อริยมรรคจะแหวกสิ่งที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จะแหวกแวบออกไป ขาดวาบออกไปอย่างเนียนๆ จิตที่ไม่มีอะไรห่อหุ้มจะเป็นอิสระขึ้นมาชั่วคราว สองสามขณะ ความไม่มีอะไร มีแต่ความสุขล้วนๆ แต่พอเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้งยังจำไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯทวนไปถึงนิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรากฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ของเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีก สำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไปจะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคลุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว

STM32 Arduino (STM32F103C8 / Programming STM32 with Arduino and Mac)

นั่งสมาธิเก่งแค่ไหน อย่างเก่งสูงสุดไปพรหมโลกเอโกทิภาวะ หรือภาวะแห่งความเป็นหนึ่ง ในอรรถกถาบอกว่า คือสัมมาสมาธินั่นเอง เอโกทิภาวะก็คือ สภาวะที่ใจนี้ตั้งมั่น เด่นดวง ขึ้นมา แล้วมันเห็นอารมณ์ทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นของถูกรู้ถูกดู ใจมันเป็นแค่ผู้รู้ผู้ดู เนี่ยถ้าใจเราเข้าไปถึงฌานที่ ๒ ทุติยฌาน เราจะได้ เอโกทิภาวะ ขึ้นมา และถ้าถึง ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ถึงฌานที่ ๘ อะไรเหล่านี้ เอโกทิภาวะก็ยังอยู่ ใจจะตั้งมั่นเด่นอยู่อย่างนั้นพอออกจากฌานแล้ว เอโกทิภาวะ นี้ยังทรงตัวอยู่อีกช่วงหนึ่ง อีกหลายชั่วโมง หรืออีกเป็นวันๆได้ ทรงตัว ถ้าฌานนั้นเกิดจากการเดินจงกรม เราเดินจงกรมอยู่แล้วจิตรวมลงไปถึงฌานที่ ๒ เนี่ย ถอยออกมาแล้วนะ เอเอโกทิภาวะทรงตัวอยู่ได้นาน เพราะฉะนั้นถ้าเราทำสมาธิด้วยการเดิน ได้เนี่ย กำลังของความรู้สึกตัวนี้จะทรงอยู่นานมาก จะนานกว่านั่ง เพราะฉะนั้นสมาธิที่เกิดจากการเดินจงกรมจะเข้มแข็ง ทีนี้พอเรามีตัวผู้รู้ขึ้นมา พระป่าท่านจะเรียกว่าตัวผู้รู้นะ ทันทีที่จิตทรงมีตัวผู้รู้ขึ้นมาแล้วเนี่ย เราจะเห็นทันที ว่าร่างกายที่ยืน เดิน นั่ง นอน เนี่ย ไม่ใช่ตัวเรา เห็นมั้ย พอใจทรงตัวขึ้นมา มีสัมมาสมาธิขึ้นมา ปัญญาจะเกิดขึ้นมาทันทีเลย จะเห็นทันทีเลยว่า กายที่ยืนเดินนั่งนอนอยู่นี้ไม่ใช่ตัวเรา กายที่หายใจเข้าหายใจออกนี้ไม่ใช่ตัวเรา กายที่พองที่ยุบนี้ไม่ใช่ตัวเรา จะเห็นทันที ไม่ต้องคิดนะ แต่จะเห็นทันที จะรู้สึกทันที ถ้าเราฝึกเต็มภูมินะ เราจะเดินมาอย่างนี้ เพราะฉะนั้นกายานุปัสสนานะ หรือเวทนานุปัสสนาก็ตามเนี่ย ในอภิธรรมท่านถึงสอบบอกว่า เหมาะกับคนเล่นฌาน กายานุปัสสนา เวทนานุปัสสนา จะทำได้ดีถ้าเราทำฌาน และฌานนั้นถ้าจะดีจริงๆต้องถึงฌานที่ ๒ แล้ว จะมีเอโกทิภาวะขึ้นมา แล้วจะเห็นทันทีว่ากายนี้ไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จะเห็นอย่างนั้น ตัวนี้เองที่ว่าเราจะต้องฝึกจิตของเรา จะต้องฝึกจนมันตั้งมั่น มีเอโกทิภาวะอยู่ มีความตั้งมั่น ฉะนั้นพอมันวางอารมณ์รูปนามนี้ปุ๊บ มันจะหนีไปหาอารมณ์บัญญัติแทน ฉะนั้นใจเราต้องฝึกจนมีเอโกทิภาวะ พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติ เพราะถ้าเจือด้วยความจงใจแม้แต่นิดเดียว มรรคผลจะเกิดไม่ได้ ตรงที่มันดับกระแสของโลกิยะลงไป อนุโลมญาณดับกระแสของโลกิยะลงไปแล้ว มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้เอง ไม่จับโลกียะ แต่ยังไม่เข้าถึงโลกุตตระเป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวงหนึ่ง พอทวนเข้าถึงอริยมรรค ตัวมรรคนี้เป็นชาติกุศล แต่ตัวผลเป็นชาติวิบาก พอมันทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้ อริยมรรคจะแหวกสิ่งที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จะแหวกแวบออกไป ขาดวาบออกไปอย่างเนียนๆ จิตที่ไม่มีอะไรห่อหุ้มจะเป็นอิสระขึ้นมาชั่วคราว สองสามขณะ ความไม่มีอะไร มีแต่ความสุขล้วนๆ แต่พอเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้งยังจำไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯทวนไปถึงนิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรากฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ของเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีก สำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไปจะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคลุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้ว ทวนจิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามาทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร

ธรรมจากพระผู้รู้ดูจนเห็นความจริงเลย ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ เช่นร่างกายหายใจออก อยู่ชั่วคราวก็หายไป กลายเป็นร่างกายหายใจเข้า ร่างกายหายใจเข้าอยู่ชั่วคราวก็หายไป กลายเป็นร่างกายหายใจออก ร่างกายยืน ร่างกายเดิน ร่างกายนอนนะ เปลี่ยนไปเรื่อย ดูไป ร่างกายสุขร่างกายทุกข์ก็ไม่เที่ยง จิตใจสุข จิตใจทุกข์ จิตใจเฉยๆ ก็ไม่เที่ยง จิตใจเป็นกุศล จิตใจเป็นอกุศล ก็ไม่เที่ยง จิตมันโลภ จิตมันโกรธ จิตมันหลง โลภก็โลภชั่วคราว โกรธก็โกรธชั่วคราว หลงก็หลงชั่วคราว ไม่มีหรอกโกรธถาวร ไม่มีหรอกโลภถาวร เนี่ยมาคอยดูลงในกายในใจของเรา ให้เห็นมีแต่ของชั่วคราว ถ้าได้เห็นนะ เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีก มันไม่ยากที่จะรู้ รู้กายรู้ใจของเราเอง ทุกคนรู้ได้แต่เราละเลย

บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผ...บางท่านเห็นว่ามันเป็นทุกข์ พวกที่ทรงสมาธิมากๆ จะเห็นว่ามันเป็นทุกข์ เพราะถ้าท่านไม่เห็นว่าจิตผู้รู้เป็นทุกข์­นะ จะไม่ยอมปล่อย เพราะสมาธิมากตัวผู้รู้มีแต่ความสุขนะ ถ้าปัญญาแก่รอบจริงๆจะเห็นเลย เป็นตัวทุกข์ ทุกข์แบบไม่มีอะไรเหมือน พอเห็นว่าตัวผู้รู้ก็เป็นทุกข์ จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเล­ย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป

วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์

การสร้างเพียวซายน์อินเวอร์เตอร์


ATmega 168 ATmega 328 P อินเวอร์เตอร์แบบเพียวซายน์ และ แบบ สามเฟส รุ่นใหม่ ชนิด โปรแกรมได้ วงจรและโค๊ด หาได้จากที่นี่ครับ https://onedrive.live.com/?authkey=%2...
https://www.youtube.com/watch?v=fHoEm...
http://www.emergingtechs.org/p/blog-p...
รุ่นใหม่ ราคาประหยัด ครับ นำไปบัดกรีและต่อเติมตามถนัดครับ..มี บอร์ด Arduino 1 บอร์ด ราคา 700 บาท ซื้อ เฉพาะไอซี Atmega 328 P ที่UPLOAD โปรแกรมแล้ว ก็ได้ครับ แล้วนำไป บัดกรีเอง ราคา 300 บาท และ PS21244 1 ตัว หรือ PS21963 PS219A2 ราคา 300 บาท ครับ ลงวันที่ 3 พฤษจิกายน 2559 โปรแกรม เป็นแบบ PURE SINE เฟสเดียว แบบ สามเฟส หรือ แบบ DC FULL BRIDGE ก็ ได้ครับ ติดต่อที่ 02-951-1356 Email sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com

ATmega 168 ATmega 328 P อินเวอร์เตอร์แบบเพียวซายน์ และ แบบ สามเฟส รุ่นใหม่ ชนิด โปรแกรมได้ วงจรและโค๊ด ที่นี่ครับ
// Arddino mini Arduino uno 3 phase induction motor speed controller Version 1.1
// Auto Rerun Code By SIR //tomasz Drazek Poland
//Arduino Code FOR Atmega 168 Atmega 328P 3 phase induction motor Variable Speed Controller //Code
// Complier By Arduino Version 101 Version 106 Software
//รุ่นนี้เป็นแบบ AUTO RE RUN โค๊ดนี้ใช้วอลลุ่ม 5KB ตัวเดียวทำหน้าที่ ปิด -ปิด ปรับรอบ ให้ใช้ R //4K7 ต่อ ไฟ+5Vdc แล้วต่อเข้า ขาข้างด้าน + MAX ของ VR ต่อ R 1K-10 K จากขากลาง VR 5KB //ต่อ เข้า A3 ของ //ATmega 168 ATmega 328 P
#define UN (400.0) //napiecie znamionowe silnika
#define FN (50.0) //czestotliwosc znamionowa silnika
#define P (UN/FN) //wsp. okreslajacy proporcje napiecia do czestotliwoci znamionowej
#define T_PWM (0.000255) //okres sygnalu PWM - ustawiony przez preskaler w licznikach
#define T_MAX (4.0) //okreslenie maksymalnego okresu napiecia wyjsciowego
#define T_MIN (0.02) //minimalny okres napiecia wyjsciowego
#define K_MAX floor(T_MAX/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MAX
#define K_MIN ceil(T_MIN/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MIN

volatile static unsigned int dlugosc_tab_sin; //zmienna zawierajaca liczbe wartosci w pelnym
//okresie napiecia wyjsciowego
static unsigned int i = 0; //zmienna pomocniacza
volatile static unsigned int licznik_glowny = 0;//zmienna wystepujaca w przerwaniu czyklicznie
//^ co okres T_PWM zwiekszajaca swoja wartosc o 1
static unsigned int next_value_sin = 0; //zmienna ktora wartosc sin nalezy obliczyc
static double t_param=100; //parametr okreslajacy okres napiecia wyjsciowego
static float t = T_PWM; //T_PWM
static float omega_t; //pulsacja napiecia wyjsciowego pomnozona przez T_PWM
static float t_out; //okres wyjsciowy napiecia
static float U_o_param; //parametr okreslajacy wielkosc napiecie wyjsciowego
//^ obliczony na podstawie t_out i U_in
static unsigned int ocr0a, ocr0b, ocr1a;//zmienne pomocnicze do przechowywania obl. wypelnien
static unsigned int ocr1b, ocr2a, ocr2b;//^
static double sin_in; //zmienna zawierajaca parametr funkcji sin
static double blad = 1; //zmienna uzyta do zatrzymania generowania napiecia przy przeciazeniu
static unsigned int analog=0; //zmienna zawierajaca zmierzona wartosc
static double U_in = 0; //zmienna przechowujนca pomiar napiecia ukladu posredniczacego
static double U_rms_max; //maksymalna aktualnie mozliwa do generacji wartosc skuteczna napiecia
static bool a=0; //zmienna logiczna do realizacji dwoch naprzemiennych pomiarow
int main()
{
io_init(); //inicjalizacja wejsc i wyjsc
timers_init(); //inicjalizacja licznikow PWM
adc_init(); //inicjalizacja przetwornika ADC
while(1) //nieskonczona petla z programem glownym
{
if(i==185) //warunek okreslajacy wejscie do funkcji zmiany
{ //parametrow napiecia wysjciowego, wywolanie co okolo 100ms
zmien_predkosc(); //funkcja zmiany parametrow napiecia wyjsciowego
i=0;
}
next_value_sin = licznik_glowny%dlugosc_tab_sin; //kolejna wartoœๆ sinusa do obliczenia
sin_in=omega_t*next_value_sin;

/obliczenie wartosci do rejestrow okreslajacych wypelnienie sygnalu wyjscioweg/
ocr0a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in)+1)*254/2)+1);//pin 6
ocr0b = ocr0a - 1;
ocr1a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in-2.09)+1)*254/2)+1);//pin 9
ocr1b = ocr1a - 1;
ocr2a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in+2.09)+1)*254/2)+1);//pin 11
ocr2b = ocr2a - 1;

/uaktualnienie wartosci w rejestrach/
cli(); //zabronienie na obsloge przerwan na wypadek gdyby
//podczas uaktualniania wystapilo przerwanie
OCR0A = ocr0a; //pin 6
OCR0B = ocr0b; //pin 5
OCR1AL = ocr1a; //pin 9
OCR1BL = ocr1b; //pin 10
OCR2A = ocr2a; //pin 11
OCR2B = ocr2b; //pin 3
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
i++;
}
}
void adc_init()
{
ADCSRA |= _BV(ADEN);//uruchomienie przetwornika
ADCSRA |= _BV(ADPS2);//ustawienie preskalera
ADCSRA |= _BV(ADPS1);//^
ADCSRA |= _BV(ADPS0);//^
ADMUX |= _BV(REFS0);// napiecie odniesienia ustawione jako napiecie zasilania
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru
}
void timers_init()
{
cli(); // obsloga przerwan zabroniona
//timer0 init
TCCR0A |= _BV(COM0A1) | _BV(COM0B0) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00);
TCCR0B |= _BV(CS01); //preskaler 8
TIMSK0 |= _BV(TOIE0); //flaga od wartosci 0 wlaczona
//timer1 init
TCCR1A |= _BV(COM1A1) | _BV(COM1B0) | _BV(COM1B1) | _BV(WGM10);
TCCR1B |= _BV(CS11); //preskaler 8
//timer2 init
TCCR2A |= _BV(COM2A1) | _BV(COM2B0) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM20);
TCCR2B |= _BV(CS21); //preskaler 8
//zerowanie wartosci licznik๓w
TCNT0 = 0;
TCNT1L = 0;
TCNT2 = 0;
/* licznik zlicza w g๓re do 255, nastepnie w d๓ณ: /\/\/\
przy wartosci 255 jest przerwanie przy ktorym dokonuje sie
pomiarow napiec i pradow
*/
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
}
void io_init()
{
pinMode(6, OUTPUT); //OC0A
pinMode(5, OUTPUT); //OC0B
pinMode(9, OUTPUT); //OC1A
pinMode(10, OUTPUT);//OC1B
pinMode(11, OUTPUT);//OC2A
pinMode(3, OUTPUT); //OC2B
pinMode(2, INPUT);
pinMode(4, INPUT);
pinMode(12, OUTPUT);
}
ISR(TIMER0_OVF_vect) //przerwanie przy wartosci 0 licznika0
{
analog = ADC;
if(a)
{
U_in = 0.0709*analog;
ADMUX |= _BV(MUX0); //wybranie wejscia ADC1 do pomiaru pradu
}
else
{
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru napiecia
if(analog>579)
{
blad = 0; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, HIGH); //zapalenie diody
}
}
ADCSRA |= _BV(ADSC);//start odczytywania pomiaru
a=a^1; //bramka XOR neguje wartosc logiczna a
licznik_glowny++;
if(licznik_glowny>=dlugosc_tab_sin) licznik_glowny = 0;
}
void zmien_predkosc()
{

t_param = map(analogRead(3),0,1023,0,100);
U_rms_max = U_in*0.62; //wartosc 0.62 wyzanczona eksperymentalnie
bool up; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zwieksz czestotliwosc
bool down; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zmiejsz czestotliwosc
up = digitalRead(4); //odczyt: czy nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc
down = digitalRead(2); //odczyt: czy nacisniety przycisk zmiejsz czestotliwosc
if(up==1) t_param--; //jezeli nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc to zmiejsz okres
if(down==1) t_param++; //jezeli nacisniety przycisk zmniejsz czestotliwosc to zwieksz okres
if(t_param<0) t_param=0; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych if(t_param>100) t_param=100;//^
dlugosc_tab_sin = ceil((K_MAX-K_MIN)*t_param/500+K_MIN);//ilosc wartosci wypelnien w jednym okresie
t_out = T_PWM*dlugosc_tab_sin; //obliczenie okresu napiecia wyjsciowego
omega_t = t*2*PI/t_out; //obliczenie pulsacji napiecia wyjsciowego
U_o_param = (P/t_out)/U_rms_max; //obliczenie parametru okreslajacego wielkosc napiecia wyjsciowego
if(t_out>1) U_o_param = 0.5*(18.5/U_rms_max); //napi๊cie na wyjsciu przy niskiej czestotliwosci 10V
if(U_o_param>1) U_o_param=1;
//zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych
blad = 1; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, LOW); //zapalenie diody
}

โลกุตรปัญญา

ผู้สละโลก ปลดแอกผู้สละโลกและพระอานนท์พระพุทธอนุชาเป็นผลของของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ ผลงานของ ให้เสียงบรรยายโดย ท่านมนัส ทองเพชรนิล ในความอุปถัมภ์ของ พระราชพิพัฒนาทร ... เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร

ผู้สละโลก ปลดแอกผู้สละโลกและพระอานนท์พระพุทธอนุชาเป็นผลของของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ ผลงานของ ให้เสียงบรรยายโดย ท่านมนัส ทองเพชรนิล ในความอุปถัมภ์ของ พระราชพิพัฒนาทร ... เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร

วันอังคารที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

โอวาทพระอานนท์เถระถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วย กำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

การใช้ stm 32 กับ Arduino

วิธีระงับความฟุ้งซ่านของจิตสิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ

จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือป...สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ

Arduino as ISP

วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

นั่งสมาธิเก่งแค่ไหน อย่างเก่งสูงสุดไปพรหมโลกเราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

นั่งสมาธิเก่งแค่ไหน อย่างเก่งสูงสุดไปพรหมโลกเราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

มรรคผลนิพพานไม่ไกลนะ มันไกลสำหรับคนซึ่งไม่รู้จักวิธีเราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

มรรคผลนิพพานไม่ไกลนะ มันไกลสำหรับคนซึ่งไม่รู้จักวิธีกราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ

arduino mega 1280 2560 3 phase sine wave pwm

//Auto Rerun 3 sinus motor controller Arduino mini 168 Arduino 328 P #define UN (400.0) //napiecie znamionowe silnika #define FN (50.0) //czestotliwosc znamionowa silnika #define P (UN/FN) //wsp. okreslajacy proporcje napiecia do czestotliwoci znamionowej #define T_PWM (0.000255) //okres sygnalu PWM - ustawiony przez preskaler w licznikach #define T_MAX (4.0) //okreslenie maksymalnego okresu napiecia wyjsciowego #define T_MIN (0.02) //minimalny okres napiecia wyjsciowego #define K_MAX floor(T_MAX/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MAX #define K_MIN ceil(T_MIN/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MIN volatile static unsigned int dlugosc_tab_sin; //zmienna zawierajaca liczbe wartosci w pelnym //okresie napiecia wyjsciowego static unsigned int i = 0; //zmienna pomocniacza volatile static unsigned int licznik_glowny = 0;//zmienna wystepujaca w przerwaniu czyklicznie //^ co okres T_PWM zwiekszajaca swoja wartosc o 1 static unsigned int next_value_sin = 0; //zmienna ktora wartosc sin nalezy obliczyc static double t_param=100; //parametr okreslajacy okres napiecia wyjsciowego static float t = T_PWM; //T_PWM static float omega_t; //pulsacja napiecia wyjsciowego pomnozona przez T_PWM static float t_out; //okres wyjsciowy napiecia static float U_o_param; //parametr okreslajacy wielkosc napiecie wyjsciowego //^ obliczony na podstawie t_out i U_in static unsigned int ocr0a, ocr0b, ocr1a;//zmienne pomocnicze do przechowywania obl. wypelnien static unsigned int ocr1b, ocr2a, ocr2b;//^ static double sin_in; //zmienna zawierajaca parametr funkcji sin static double blad = 1; //zmienna uzyta do zatrzymania generowania napiecia przy przeciazeniu static unsigned int analog=0; //zmienna zawierajaca zmierzona wartosc static double U_in = 0; //zmienna przechowujนca pomiar napiecia ukladu posredniczacego static double U_rms_max; //maksymalna aktualnie mozliwa do generacji wartosc skuteczna napiecia static bool a=0; //zmienna logiczna do realizacji dwoch naprzemiennych pomiarow int main() { io_init(); //inicjalizacja wejsc i wyjsc timers_init(); //inicjalizacja licznikow PWM adc_init(); //inicjalizacja przetwornika ADC while(1) //nieskonczona petla z programem glownym { if(i==185) //warunek okreslajacy wejscie do funkcji zmiany { //parametrow napiecia wysjciowego, wywolanie co okolo 100ms zmien_predkosc(); //funkcja zmiany parametrow napiecia wyjsciowego i=0; } next_value_sin = licznik_glowny%dlugosc_tab_sin; //kolejna wartoœๆ sinusa do obliczenia sin_in=omega_t*next_value_sin; /*obliczenie wartosci do rejestrow okreslajacych wypelnienie sygnalu wyjscioweg*/ ocr0a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in)+1)*254/2)+1);//pin 6 ocr0b = ocr0a - 1; ocr1a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in-2.09)+1)*254/2)+1);//pin 9 ocr1b = ocr1a - 1; ocr2a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in+2.09)+1)*254/2)+1);//pin 11 ocr2b = ocr2a - 1; /*uaktualnienie wartosci w rejestrach*/ cli(); //zabronienie na obsloge przerwan na wypadek gdyby //podczas uaktualniania wystapilo przerwanie OCR0A = ocr0a; //pin 6 OCR0B = ocr0b; //pin 5 OCR1AL = ocr1a; //pin 9 OCR1BL = ocr1b; //pin 10 OCR2A = ocr2a; //pin 11 OCR2B = ocr2b; //pin 3 sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan i++; } } void adc_init() { ADCSRA |= _BV(ADEN);//uruchomienie przetwornika ADCSRA |= _BV(ADPS2);//ustawienie preskalera ADCSRA |= _BV(ADPS1);//^ ADCSRA |= _BV(ADPS0);//^ ADMUX |= _BV(REFS0);// napiecie odniesienia ustawione jako napiecie zasilania ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru } void timers_init() { cli(); // obsloga przerwan zabroniona //timer0 init TCCR0A |= _BV(COM0A1) | _BV(COM0B0) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00); TCCR0B |= _BV(CS01); //preskaler 8 TIMSK0 |= _BV(TOIE0); //flaga od wartosci 0 wlaczona //timer1 init TCCR1A |= _BV(COM1A1) | _BV(COM1B0) | _BV(COM1B1) | _BV(WGM10); TCCR1B |= _BV(CS11); //preskaler 8 //timer2 init TCCR2A |= _BV(COM2A1) | _BV(COM2B0) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM20); TCCR2B |= _BV(CS21); //preskaler 8 //zerowanie wartosci licznik๓w TCNT0 = 0; TCNT1L = 0; TCNT2 = 0; /* licznik zlicza w g๓re do 255, nastepnie w d๓ณ: /\/\/\ przy wartosci 255 jest przerwanie przy ktorym dokonuje sie pomiarow napiec i pradow */ sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan } void io_init() { pinMode(6, OUTPUT); //OC0A pinMode(5, OUTPUT); //OC0B pinMode(9, OUTPUT); //OC1A pinMode(10, OUTPUT);//OC1B pinMode(11, OUTPUT);//OC2A pinMode(3, OUTPUT); //OC2B pinMode(2, INPUT); pinMode(4, INPUT); pinMode(12, OUTPUT); pinMode(13, OUTPUT); } ISR(TIMER0_OVF_vect) //przerwanie przy wartosci 0 licznika0 { analog = ADC; if(a) { U_in = 0.0709*analog; ADMUX |= _BV(MUX0); //wybranie wejscia ADC1 do pomiaru pradu } else { ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru napiecia if(analog>579) { blad = 0; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia digitalWrite(12, HIGH); //zapalenie diody } } ADCSRA |= _BV(ADSC);//start odczytywania pomiaru a=a^1; //bramka XOR neguje wartosc logiczna a licznik_glowny++; if(licznik_glowny>=dlugosc_tab_sin) licznik_glowny = 0; } void zmien_predkosc() { t_param = map(analogRead(3),0,1023,0,100); U_rms_max = U_in*0.62; //wartosc 0.62 wyzanczona eksperymentalnie bool up; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zwieksz czestotliwosc bool down; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zmiejsz czestotliwosc up = digitalRead(4); //odczyt: czy nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc down = digitalRead(2); //odczyt: czy nacisniety przycisk zmiejsz czestotliwosc if(up==1) t_param--; //jezeli nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc to zmiejsz okres if(down==1) t_param++; //jezeli nacisniety przycisk zmniejsz czestotliwosc to zwieksz okres if(t_param<0) t_param=0; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych if(t_param>100) t_param=100;//^ dlugosc_tab_sin = ceil((K_MAX-K_MIN)*t_param/500+K_MIN);//ilosc wartosci wypelnien w jednym okresie t_out = T_PWM*dlugosc_tab_sin; //obliczenie okresu napiecia wyjsciowego omega_t = t*2*PI/t_out; //obliczenie pulsacji napiecia wyjsciowego U_o_param = (P/t_out)/U_rms_max; //obliczenie parametru okreslajacego wielkosc napiecia wyjsciowego if(t_out>1) U_o_param = 0.5*(18.5/U_rms_max); //napi๊cie na wyjsciu przy niskiej czestotliwosci 10V if(U_o_param>1) U_o_param=1; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych blad = 1; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia //digitalWrite(13, HIGH); //zapalenie diody //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia digitalWrite(12, LOW); //zapalenie diody }

การสร้าง Pure Sine Inverter

3 phase induction motor terminal identification

3 Phase Induction Motor Speed Controller Using Arduino

มอเตอร์สามเฟสใช้ Arduino 1 0 1 Digital D2 D4 และ VR 5KB Analog input To...


//Auto Rerun 3 sinus motor controller Arduino mini 168 Arduino 328 P
#define UN (400.0) //napiecie znamionowe silnika
#define FN (50.0) //czestotliwosc znamionowa silnika
#define P (UN/FN) //wsp. okreslajacy proporcje napiecia do czestotliwoci znamionowej
#define T_PWM (0.000255) //okres sygnalu PWM - ustawiony przez preskaler w licznikach
#define T_MAX (4.0) //okreslenie maksymalnego okresu napiecia wyjsciowego
#define T_MIN (0.02) //minimalny okres napiecia wyjsciowego
#define K_MAX floor(T_MAX/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MAX
#define K_MIN ceil(T_MIN/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MIN

volatile static unsigned int dlugosc_tab_sin; //zmienna zawierajaca liczbe wartosci w pelnym
//okresie napiecia wyjsciowego
static unsigned int i = 0; //zmienna pomocniacza
volatile static unsigned int licznik_glowny = 0;//zmienna wystepujaca w przerwaniu czyklicznie
//^ co okres T_PWM zwiekszajaca swoja wartosc o 1
static unsigned int next_value_sin = 0; //zmienna ktora wartosc sin nalezy obliczyc
static double t_param=100; //parametr okreslajacy okres napiecia wyjsciowego
static float t = T_PWM; //T_PWM
static float omega_t; //pulsacja napiecia wyjsciowego pomnozona przez T_PWM
static float t_out; //okres wyjsciowy napiecia
static float U_o_param; //parametr okreslajacy wielkosc napiecie wyjsciowego
//^ obliczony na podstawie t_out i U_in
static unsigned int ocr0a, ocr0b, ocr1a;//zmienne pomocnicze do przechowywania obl. wypelnien
static unsigned int ocr1b, ocr2a, ocr2b;//^
static double sin_in; //zmienna zawierajaca parametr funkcji sin
static double blad = 1; //zmienna uzyta do zatrzymania generowania napiecia przy przeciazeniu
static unsigned int analog=0; //zmienna zawierajaca zmierzona wartosc
static double U_in = 0; //zmienna przechowujนca pomiar napiecia ukladu posredniczacego
static double U_rms_max; //maksymalna aktualnie mozliwa do generacji wartosc skuteczna napiecia
static bool a=0; //zmienna logiczna do realizacji dwoch naprzemiennych pomiarow
int main()
{
io_init(); //inicjalizacja wejsc i wyjsc
timers_init(); //inicjalizacja licznikow PWM
adc_init(); //inicjalizacja przetwornika ADC
while(1) //nieskonczona petla z programem glownym
{
if(i==185) //warunek okreslajacy wejscie do funkcji zmiany
{ //parametrow napiecia wysjciowego, wywolanie co okolo 100ms
zmien_predkosc(); //funkcja zmiany parametrow napiecia wyjsciowego
i=0;
}
next_value_sin = licznik_glowny%dlugosc_tab_sin; //kolejna wartoœๆ sinusa do obliczenia
sin_in=omega_t*next_value_sin;

/*obliczenie wartosci do rejestrow okreslajacych wypelnienie sygnalu wyjscioweg*/
ocr0a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in)+1)*254/2)+1);//pin 6
ocr0b = ocr0a - 1;
ocr1a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in-2.09)+1)*254/2)+1);//pin 9
ocr1b = ocr1a - 1;
ocr2a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in+2.09)+1)*254/2)+1);//pin 11
ocr2b = ocr2a - 1;

/*uaktualnienie wartosci w rejestrach*/
cli(); //zabronienie na obsloge przerwan na wypadek gdyby
//podczas uaktualniania wystapilo przerwanie
OCR0A = ocr0a; //pin 6
OCR0B = ocr0b; //pin 5
OCR1AL = ocr1a; //pin 9
OCR1BL = ocr1b; //pin 10
OCR2A = ocr2a; //pin 11
OCR2B = ocr2b; //pin 3
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
i++;
}
}
void adc_init()
{
ADCSRA |= _BV(ADEN);//uruchomienie przetwornika
ADCSRA |= _BV(ADPS2);//ustawienie preskalera
ADCSRA |= _BV(ADPS1);//^
ADCSRA |= _BV(ADPS0);//^
ADMUX |= _BV(REFS0);// napiecie odniesienia ustawione jako napiecie zasilania
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru
}
void timers_init()
{
cli(); // obsloga przerwan zabroniona
//timer0 init
TCCR0A |= _BV(COM0A1) | _BV(COM0B0) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00);
TCCR0B |= _BV(CS01); //preskaler 8
TIMSK0 |= _BV(TOIE0); //flaga od wartosci 0 wlaczona
//timer1 init
TCCR1A |= _BV(COM1A1) | _BV(COM1B0) | _BV(COM1B1) | _BV(WGM10);
TCCR1B |= _BV(CS11); //preskaler 8
//timer2 init
TCCR2A |= _BV(COM2A1) | _BV(COM2B0) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM20);
TCCR2B |= _BV(CS21); //preskaler 8
//zerowanie wartosci licznik๓w
TCNT0 = 0;
TCNT1L = 0;
TCNT2 = 0;
/* licznik zlicza w g๓re do 255, nastepnie w d๓ณ: /\/\/\
przy wartosci 255 jest przerwanie przy ktorym dokonuje sie
pomiarow napiec i pradow
*/
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
}
void io_init()
{
pinMode(6, OUTPUT); //OC0A
pinMode(5, OUTPUT); //OC0B
pinMode(9, OUTPUT); //OC1A
pinMode(10, OUTPUT);//OC1B
pinMode(11, OUTPUT);//OC2A
pinMode(3, OUTPUT); //OC2B
pinMode(2, INPUT);
pinMode(4, INPUT);
pinMode(12, OUTPUT);
pinMode(13, OUTPUT);
}
ISR(TIMER0_OVF_vect) //przerwanie przy wartosci 0 licznika0
{
analog = ADC;
if(a)
{
U_in = 0.0709*analog;
ADMUX |= _BV(MUX0); //wybranie wejscia ADC1 do pomiaru pradu
}
else
{
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru napiecia
if(analog>579)
{
blad = 0; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, HIGH); //zapalenie diody
}
}
ADCSRA |= _BV(ADSC);//start odczytywania pomiaru
a=a^1; //bramka XOR neguje wartosc logiczna a
licznik_glowny++;
if(licznik_glowny>=dlugosc_tab_sin) licznik_glowny = 0;
}
void zmien_predkosc()
{
t_param = map(analogRead(3),0,1023,0,100);
U_rms_max = U_in*0.62; //wartosc 0.62 wyzanczona eksperymentalnie
bool up; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zwieksz czestotliwosc
bool down; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zmiejsz czestotliwosc
up = digitalRead(4); //odczyt: czy nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc
down = digitalRead(2); //odczyt: czy nacisniety przycisk zmiejsz czestotliwosc
if(up==1) t_param--; //jezeli nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc to zmiejsz okres
if(down==1) t_param++; //jezeli nacisniety przycisk zmniejsz czestotliwosc to zwieksz okres
if(t_param<0) t_param=0; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych if(t_param>100) t_param=100;//^
dlugosc_tab_sin = ceil((K_MAX-K_MIN)*t_param/500+K_MIN);//ilosc wartosci wypelnien w jednym okresie
t_out = T_PWM*dlugosc_tab_sin; //obliczenie okresu napiecia wyjsciowego
omega_t = t*2*PI/t_out; //obliczenie pulsacji napiecia wyjsciowego
U_o_param = (P/t_out)/U_rms_max; //obliczenie parametru okreslajacego wielkosc napiecia wyjsciowego
if(t_out>1) U_o_param = 0.5*(18.5/U_rms_max); //napi๊cie na wyjsciu przy niskiej czestotliwosci 10V
if(U_o_param>1) U_o_param=1; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych
blad = 1; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
//digitalWrite(13, HIGH); //zapalenie diody
//jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, LOW); //zapalenie diody
}

Arduino Version 1.0.6 and Version 1.0.1 tomasz drazek sadhu sadhu




//Auto Rerun 3 sinus motor controller Arduino mini 168 Arduino 328 P
#define UN (400.0) //napiecie znamionowe silnika
#define FN (50.0) //czestotliwosc znamionowa silnika
#define P (UN/FN) //wsp. okreslajacy proporcje napiecia do czestotliwoci znamionowej
#define T_PWM (0.000255) //okres sygnalu PWM - ustawiony przez preskaler w licznikach
#define T_MAX (4.0) //okreslenie maksymalnego okresu napiecia wyjsciowego
#define T_MIN (0.02) //minimalny okres napiecia wyjsciowego
#define K_MAX floor(T_MAX/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MAX
#define K_MIN ceil(T_MIN/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MIN

volatile static unsigned int dlugosc_tab_sin; //zmienna zawierajaca liczbe wartosci w pelnym
//okresie napiecia wyjsciowego
static unsigned int i = 0; //zmienna pomocniacza
volatile static unsigned int licznik_glowny = 0;//zmienna wystepujaca w przerwaniu czyklicznie
//^ co okres T_PWM zwiekszajaca swoja wartosc o 1
static unsigned int next_value_sin = 0; //zmienna ktora wartosc sin nalezy obliczyc
static double t_param=100; //parametr okreslajacy okres napiecia wyjsciowego
static float t = T_PWM; //T_PWM
static float omega_t; //pulsacja napiecia wyjsciowego pomnozona przez T_PWM
static float t_out; //okres wyjsciowy napiecia
static float U_o_param; //parametr okreslajacy wielkosc napiecie wyjsciowego
//^ obliczony na podstawie t_out i U_in
static unsigned int ocr0a, ocr0b, ocr1a;//zmienne pomocnicze do przechowywania obl. wypelnien
static unsigned int ocr1b, ocr2a, ocr2b;//^
static double sin_in; //zmienna zawierajaca parametr funkcji sin
static double blad = 1; //zmienna uzyta do zatrzymania generowania napiecia przy przeciazeniu
static unsigned int analog=0; //zmienna zawierajaca zmierzona wartosc
static double U_in = 0; //zmienna przechowujนca pomiar napiecia ukladu posredniczacego
static double U_rms_max; //maksymalna aktualnie mozliwa do generacji wartosc skuteczna napiecia
static bool a=0; //zmienna logiczna do realizacji dwoch naprzemiennych pomiarow
int main()
{
io_init(); //inicjalizacja wejsc i wyjsc
timers_init(); //inicjalizacja licznikow PWM
adc_init(); //inicjalizacja przetwornika ADC
while(1) //nieskonczona petla z programem glownym
{
if(i==185) //warunek okreslajacy wejscie do funkcji zmiany
{ //parametrow napiecia wysjciowego, wywolanie co okolo 100ms
zmien_predkosc(); //funkcja zmiany parametrow napiecia wyjsciowego
i=0;
}
next_value_sin = licznik_glowny%dlugosc_tab_sin; //kolejna wartoœๆ sinusa do obliczenia
sin_in=omega_t*next_value_sin;

/*obliczenie wartosci do rejestrow okreslajacych wypelnienie sygnalu wyjscioweg*/
ocr0a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in)+1)*254/2)+1);//pin 6
ocr0b = ocr0a - 1;
ocr1a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in-2.09)+1)*254/2)+1);//pin 9
ocr1b = ocr1a - 1;
ocr2a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in+2.09)+1)*254/2)+1);//pin 11
ocr2b = ocr2a - 1;

/*uaktualnienie wartosci w rejestrach*/
cli(); //zabronienie na obsloge przerwan na wypadek gdyby
//podczas uaktualniania wystapilo przerwanie
OCR0A = ocr0a; //pin 6
OCR0B = ocr0b; //pin 5
OCR1AL = ocr1a; //pin 9
OCR1BL = ocr1b; //pin 10
OCR2A = ocr2a; //pin 11
OCR2B = ocr2b; //pin 3
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
i++;
}
}
void adc_init()
{
ADCSRA |= _BV(ADEN);//uruchomienie przetwornika
ADCSRA |= _BV(ADPS2);//ustawienie preskalera
ADCSRA |= _BV(ADPS1);//^
ADCSRA |= _BV(ADPS0);//^
ADMUX |= _BV(REFS0);// napiecie odniesienia ustawione jako napiecie zasilania
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru
}
void timers_init()
{
cli(); // obsloga przerwan zabroniona
//timer0 init
TCCR0A |= _BV(COM0A1) | _BV(COM0B0) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00);
TCCR0B |= _BV(CS01); //preskaler 8
TIMSK0 |= _BV(TOIE0); //flaga od wartosci 0 wlaczona
//timer1 init
TCCR1A |= _BV(COM1A1) | _BV(COM1B0) | _BV(COM1B1) | _BV(WGM10);
TCCR1B |= _BV(CS11); //preskaler 8
//timer2 init
TCCR2A |= _BV(COM2A1) | _BV(COM2B0) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM20);
TCCR2B |= _BV(CS21); //preskaler 8
//zerowanie wartosci licznik๓w
TCNT0 = 0;
TCNT1L = 0;
TCNT2 = 0;
/* licznik zlicza w g๓re do 255, nastepnie w d๓ณ: /\/\/\
przy wartosci 255 jest przerwanie przy ktorym dokonuje sie
pomiarow napiec i pradow
*/
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
}
void io_init()
{
pinMode(6, OUTPUT); //OC0A
pinMode(5, OUTPUT); //OC0B
pinMode(9, OUTPUT); //OC1A
pinMode(10, OUTPUT);//OC1B
pinMode(11, OUTPUT);//OC2A
pinMode(3, OUTPUT); //OC2B
pinMode(2, INPUT);
pinMode(4, INPUT);
pinMode(12, OUTPUT);
pinMode(13, OUTPUT);
}
ISR(TIMER0_OVF_vect) //przerwanie przy wartosci 0 licznika0
{
analog = ADC;
if(a)
{
U_in = 0.0709*analog;
ADMUX |= _BV(MUX0); //wybranie wejscia ADC1 do pomiaru pradu
}
else
{
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru napiecia
if(analog>579)
{
blad = 0; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, HIGH); //zapalenie diody
}
}
ADCSRA |= _BV(ADSC);//start odczytywania pomiaru
a=a^1; //bramka XOR neguje wartosc logiczna a
licznik_glowny++;
if(licznik_glowny>=dlugosc_tab_sin) licznik_glowny = 0;
}
void zmien_predkosc()
{
t_param = map(analogRead(3),0,1023,0,100);
U_rms_max = U_in*0.62; //wartosc 0.62 wyzanczona eksperymentalnie
bool up; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zwieksz czestotliwosc
bool down; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zmiejsz czestotliwosc
up = digitalRead(4); //odczyt: czy nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc
down = digitalRead(2); //odczyt: czy nacisniety przycisk zmiejsz czestotliwosc
if(up==1) t_param--; //jezeli nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc to zmiejsz okres
if(down==1) t_param++; //jezeli nacisniety przycisk zmniejsz czestotliwosc to zwieksz okres
if(t_param<0) t_param=0; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych if(t_param>100) t_param=100;//^
dlugosc_tab_sin = ceil((K_MAX-K_MIN)*t_param/500+K_MIN);//ilosc wartosci wypelnien w jednym okresie
t_out = T_PWM*dlugosc_tab_sin; //obliczenie okresu napiecia wyjsciowego
omega_t = t*2*PI/t_out; //obliczenie pulsacji napiecia wyjsciowego
U_o_param = (P/t_out)/U_rms_max; //obliczenie parametru okreslajacego wielkosc napiecia wyjsciowego
if(t_out>1) U_o_param = 0.5*(18.5/U_rms_max); //napi๊cie na wyjsciu przy niskiej czestotliwosci 10V
if(U_o_param>1) U_o_param=1; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych
blad = 1; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
//digitalWrite(13, HIGH); //zapalenie diody
//jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, LOW); //zapalenie diody
}

โปรแกรมอินเวอร์เตอร์สามเฟส Arduino Version 1 0 6 and Version 1 0 1 tomas...

เราต้องรู้จักเลือกอารมณ์นะ ที่เป็นกุศล ไม่ยั่วกิเลส ไม่ยั่วให้จิตกระเพื่...เราต้องรู้จักเลือกอารมณ์นะ ที่เป็นกุศล ไม่ยั่วกิเลส ไม่ยั่วให้จิตกระเพื่อมขึ้นกระเพื่อมลง

เราต้องรู้จักเลือกอารมณ์นะ ที่เป็นกุศล ไม่ยั่วกิเลส ไม่ยั่วให้จิตกระเพื่...

วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

Arduino sinus 3 phase analog input control

ทุกอย่างแก้ไขได้ 3 Phase Induction Motor Speed Controller Using Arduino

3 Phase Induction Motor Speed Controller Using Arduino

Analog Control Arduino

Auto Rerun 3 Phase Inductuon Motor ControllerUsing Arduino

Auto Rerun 3 Phase Inductuon Motor ControllerUsing Arduino

3 Phase Induction Motor Speed Controller Using Arduino


#define UN (400.0) //napiecie znamionowe silnika
#define FN (50.0) //czestotliwosc znamionowa silnika
#define P (UN/FN) //wsp. okreslajacy proporcje napiecia do czestotliwoci znamionowej
#define T_PWM (0.000255) //okres sygnalu PWM - ustawiony przez preskaler w licznikach
#define T_MAX (4.0) //okreslenie maksymalnego okresu napiecia wyjsciowego
#define T_MIN (0.02) //minimalny okres napiecia wyjsciowego
#define K_MAX floor(T_MAX/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MAX
#define K_MIN ceil(T_MIN/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MIN

volatile static unsigned int dlugosc_tab_sin; //zmienna zawierajaca liczbe wartosci w pelnym
//okresie napiecia wyjsciowego
static unsigned int i = 0; //zmienna pomocniacza
volatile static unsigned int licznik_glowny = 0;//zmienna wystepujaca w przerwaniu czyklicznie
//^ co okres T_PWM zwiekszajaca swoja wartosc o 1
static unsigned int next_value_sin = 0; //zmienna ktora wartosc sin nalezy obliczyc
static double t_param=100; //parametr okreslajacy okres napiecia wyjsciowego
static float t = T_PWM; //T_PWM
static float omega_t; //pulsacja napiecia wyjsciowego pomnozona przez T_PWM
static float t_out; //okres wyjsciowy napiecia
static float U_o_param; //parametr okreslajacy wielkosc napiecie wyjsciowego
//^ obliczony na podstawie t_out i U_in
static unsigned int ocr0a, ocr0b, ocr1a;//zmienne pomocnicze do przechowywania obl. wypelnien
static unsigned int ocr1b, ocr2a, ocr2b;//^
static double sin_in; //zmienna zawierajaca parametr funkcji sin
static double blad = 1; //zmienna uzyta do zatrzymania generowania napiecia przy przeciazeniu
static unsigned int analog=0; //zmienna zawierajaca zmierzona wartosc
static double U_in = 0; //zmienna przechowujนca pomiar napiecia ukladu posredniczacego
static double U_rms_max; //maksymalna aktualnie mozliwa do generacji wartosc skuteczna napiecia
static bool a=0; //zmienna logiczna do realizacji dwoch naprzemiennych pomiarow
int main()
{
io_init(); //inicjalizacja wejsc i wyjsc
timers_init(); //inicjalizacja licznikow PWM
adc_init(); //inicjalizacja przetwornika ADC
while(1) //nieskonczona petla z programem glownym
{
if(i==185) //warunek okreslajacy wejscie do funkcji zmiany
{ //parametrow napiecia wysjciowego, wywolanie co okolo 100ms
zmien_predkosc(); //funkcja zmiany parametrow napiecia wyjsciowego
i=0;
}
next_value_sin = licznik_glowny%dlugosc_tab_sin; //kolejna wartoœๆ sinusa do obliczenia
sin_in=omega_t*next_value_sin;

/*obliczenie wartosci do rejestrow okreslajacych wypelnienie sygnalu wyjscioweg*/
ocr0a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in)+1)*254/2)+1);//pin 6
ocr0b = ocr0a - 1;
ocr1a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in-2.09)+1)*254/2)+1);//pin 9
ocr1b = ocr1a - 1;
ocr2a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in+2.09)+1)*254/2)+1);//pin 11
ocr2b = ocr2a - 1;

/*uaktualnienie wartosci w rejestrach*/
cli(); //zabronienie na obsloge przerwan na wypadek gdyby
//podczas uaktualniania wystapilo przerwanie
OCR0A = ocr0a; //pin 6
OCR0B = ocr0b; //pin 5
OCR1AL = ocr1a; //pin 9
OCR1BL = ocr1b; //pin 10
OCR2A = ocr2a; //pin 11
OCR2B = ocr2b; //pin 3
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
i++;
}
}
void adc_init()
{
ADCSRA |= _BV(ADEN);//uruchomienie przetwornika
ADCSRA |= _BV(ADPS2);//ustawienie preskalera
ADCSRA |= _BV(ADPS1);//^
ADCSRA |= _BV(ADPS0);//^
ADMUX |= _BV(REFS0);// napiecie odniesienia ustawione jako napiecie zasilania
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru
}
void timers_init()
{
cli(); // obsloga przerwan zabroniona
//timer0 init
TCCR0A |= _BV(COM0A1) | _BV(COM0B0) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00);
TCCR0B |= _BV(CS01); //preskaler 8
TIMSK0 |= _BV(TOIE0); //flaga od wartosci 0 wlaczona
//timer1 init
TCCR1A |= _BV(COM1A1) | _BV(COM1B0) | _BV(COM1B1) | _BV(WGM10);
TCCR1B |= _BV(CS11); //preskaler 8
//timer2 init
TCCR2A |= _BV(COM2A1) | _BV(COM2B0) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM20);
TCCR2B |= _BV(CS21); //preskaler 8
//zerowanie wartosci licznik๓w
TCNT0 = 0;
TCNT1L = 0;
TCNT2 = 0;
/* licznik zlicza w g๓re do 255, nastepnie w d๓ณ: /\/\/\
przy wartosci 255 jest przerwanie przy ktorym dokonuje sie
pomiarow napiec i pradow
*/
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
}
void io_init()
{
pinMode(6, OUTPUT); //OC0A
pinMode(5, OUTPUT); //OC0B
pinMode(9, OUTPUT); //OC1A
pinMode(10, OUTPUT);//OC1B
pinMode(11, OUTPUT);//OC2A
pinMode(3, OUTPUT); //OC2B
pinMode(2, INPUT);
pinMode(4, INPUT);
pinMode(12, OUTPUT);
pinMode(13, OUTPUT);
}
ISR(TIMER0_OVF_vect) //przerwanie przy wartosci 0 licznika0
{
analog = ADC;
if(a)
{
U_in = 0.0709*analog;
ADMUX |= _BV(MUX0); //wybranie wejscia ADC1 do pomiaru pradu
}
else
{
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru napiecia
if(analog>579)
{
blad = 0; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, HIGH); //zapalenie diody
}
}
ADCSRA |= _BV(ADSC);//start odczytywania pomiaru
a=a^1; //bramka XOR neguje wartosc logiczna a
licznik_glowny++;
if(licznik_glowny>=dlugosc_tab_sin) licznik_glowny = 0;
}
void zmien_predkosc()
{
t_param = map(analogRead(3),0,1023,0,100);
U_rms_max = U_in*0.62; //wartosc 0.62 wyzanczona eksperymentalnie
bool up; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zwieksz czestotliwosc
bool down; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zmiejsz czestotliwosc
up = digitalRead(4); //odczyt: czy nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc
down = digitalRead(2); //odczyt: czy nacisniety przycisk zmiejsz czestotliwosc
if(up==1) t_param--; //jezeli nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc to zmiejsz okres
if(down==1) t_param++; //jezeli nacisniety przycisk zmniejsz czestotliwosc to zwieksz okres
if(t_param<0) t_param=0; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych if(t_param>100) t_param=100;//^
dlugosc_tab_sin = ceil((K_MAX-K_MIN)*t_param/500+K_MIN);//ilosc wartosci wypelnien w jednym okresie
t_out = T_PWM*dlugosc_tab_sin; //obliczenie okresu napiecia wyjsciowego
omega_t = t*2*PI/t_out; //obliczenie pulsacji napiecia wyjsciowego
U_o_param = (P/t_out)/U_rms_max; //obliczenie parametru okreslajacego wielkosc napiecia wyjsciowego
if(t_out>1) U_o_param = 0.5*(18.5/U_rms_max); //napi๊cie na wyjsciu przy niskiej czestotliwosci 10V
if(U_o_param>1) U_o_param=1; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych
blad = 1; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
//digitalWrite(13, HIGH); //zapalenie diody
//jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, LOW); //zapalenie diody
}

3 Phase Induction Motor Speed Controller Using Arduino


#define UN (400.0) //napiecie znamionowe silnika
#define FN (50.0) //czestotliwosc znamionowa silnika
#define P (UN/FN) //wsp. okreslajacy proporcje napiecia do czestotliwoci znamionowej
#define T_PWM (0.000255) //okres sygnalu PWM - ustawiony przez preskaler w licznikach
#define T_MAX (4.0) //okreslenie maksymalnego okresu napiecia wyjsciowego
#define T_MIN (0.02) //minimalny okres napiecia wyjsciowego
#define K_MAX floor(T_MAX/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MAX
#define K_MIN ceil(T_MIN/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MIN

volatile static unsigned int dlugosc_tab_sin; //zmienna zawierajaca liczbe wartosci w pelnym
//okresie napiecia wyjsciowego
static unsigned int i = 0; //zmienna pomocniacza
volatile static unsigned int licznik_glowny = 0;//zmienna wystepujaca w przerwaniu czyklicznie
//^ co okres T_PWM zwiekszajaca swoja wartosc o 1
static unsigned int next_value_sin = 0; //zmienna ktora wartosc sin nalezy obliczyc
static double t_param=100; //parametr okreslajacy okres napiecia wyjsciowego
static float t = T_PWM; //T_PWM
static float omega_t; //pulsacja napiecia wyjsciowego pomnozona przez T_PWM
static float t_out; //okres wyjsciowy napiecia
static float U_o_param; //parametr okreslajacy wielkosc napiecie wyjsciowego
//^ obliczony na podstawie t_out i U_in
static unsigned int ocr0a, ocr0b, ocr1a;//zmienne pomocnicze do przechowywania obl. wypelnien
static unsigned int ocr1b, ocr2a, ocr2b;//^
static double sin_in; //zmienna zawierajaca parametr funkcji sin
static double blad = 1; //zmienna uzyta do zatrzymania generowania napiecia przy przeciazeniu
static unsigned int analog=0; //zmienna zawierajaca zmierzona wartosc
static double U_in = 0; //zmienna przechowujนca pomiar napiecia ukladu posredniczacego
static double U_rms_max; //maksymalna aktualnie mozliwa do generacji wartosc skuteczna napiecia
static bool a=0; //zmienna logiczna do realizacji dwoch naprzemiennych pomiarow
int main()
{
io_init(); //inicjalizacja wejsc i wyjsc
timers_init(); //inicjalizacja licznikow PWM
adc_init(); //inicjalizacja przetwornika ADC
while(1) //nieskonczona petla z programem glownym
{
if(i==185) //warunek okreslajacy wejscie do funkcji zmiany
{ //parametrow napiecia wysjciowego, wywolanie co okolo 100ms
zmien_predkosc(); //funkcja zmiany parametrow napiecia wyjsciowego
i=0;
}
next_value_sin = licznik_glowny%dlugosc_tab_sin; //kolejna wartoœๆ sinusa do obliczenia
sin_in=omega_t*next_value_sin;

/*obliczenie wartosci do rejestrow okreslajacych wypelnienie sygnalu wyjscioweg*/
ocr0a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in)+1)*254/2)+1);//pin 6
ocr0b = ocr0a - 1;
ocr1a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in-2.09)+1)*254/2)+1);//pin 9
ocr1b = ocr1a - 1;
ocr2a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in+2.09)+1)*254/2)+1);//pin 11
ocr2b = ocr2a - 1;

/*uaktualnienie wartosci w rejestrach*/
cli(); //zabronienie na obsloge przerwan na wypadek gdyby
//podczas uaktualniania wystapilo przerwanie
OCR0A = ocr0a; //pin 6
OCR0B = ocr0b; //pin 5
OCR1AL = ocr1a; //pin 9
OCR1BL = ocr1b; //pin 10
OCR2A = ocr2a; //pin 11
OCR2B = ocr2b; //pin 3
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
i++;
}
}
void adc_init()
{
ADCSRA |= _BV(ADEN);//uruchomienie przetwornika
ADCSRA |= _BV(ADPS2);//ustawienie preskalera
ADCSRA |= _BV(ADPS1);//^
ADCSRA |= _BV(ADPS0);//^
ADMUX |= _BV(REFS0);// napiecie odniesienia ustawione jako napiecie zasilania
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru
}
void timers_init()
{
cli(); // obsloga przerwan zabroniona
//timer0 init
TCCR0A |= _BV(COM0A1) | _BV(COM0B0) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00);
TCCR0B |= _BV(CS01); //preskaler 8
TIMSK0 |= _BV(TOIE0); //flaga od wartosci 0 wlaczona
//timer1 init
TCCR1A |= _BV(COM1A1) | _BV(COM1B0) | _BV(COM1B1) | _BV(WGM10);
TCCR1B |= _BV(CS11); //preskaler 8
//timer2 init
TCCR2A |= _BV(COM2A1) | _BV(COM2B0) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM20);
TCCR2B |= _BV(CS21); //preskaler 8
//zerowanie wartosci licznik๓w
TCNT0 = 0;
TCNT1L = 0;
TCNT2 = 0;
/* licznik zlicza w g๓re do 255, nastepnie w d๓ณ: /\/\/\
przy wartosci 255 jest przerwanie przy ktorym dokonuje sie
pomiarow napiec i pradow
*/
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
}
void io_init()
{
pinMode(6, OUTPUT); //OC0A
pinMode(5, OUTPUT); //OC0B
pinMode(9, OUTPUT); //OC1A
pinMode(10, OUTPUT);//OC1B
pinMode(11, OUTPUT);//OC2A
pinMode(3, OUTPUT); //OC2B
pinMode(2, INPUT);
pinMode(4, INPUT);
pinMode(12, OUTPUT);
pinMode(13, OUTPUT);
}
ISR(TIMER0_OVF_vect) //przerwanie przy wartosci 0 licznika0
{
analog = ADC;
if(a)
{
U_in = 0.0709*analog;
ADMUX |= _BV(MUX0); //wybranie wejscia ADC1 do pomiaru pradu
}
else
{
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru napiecia
if(analog>579)
{
blad = 0; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, HIGH); //zapalenie diody
}
}
ADCSRA |= _BV(ADSC);//start odczytywania pomiaru
a=a^1; //bramka XOR neguje wartosc logiczna a
licznik_glowny++;
if(licznik_glowny>=dlugosc_tab_sin) licznik_glowny = 0;
}
void zmien_predkosc()
{
t_param = map(analogRead(3),0,1023,0,100);
U_rms_max = U_in*0.62; //wartosc 0.62 wyzanczona eksperymentalnie
bool up; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zwieksz czestotliwosc
bool down; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zmiejsz czestotliwosc
up = digitalRead(4); //odczyt: czy nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc
down = digitalRead(2); //odczyt: czy nacisniety przycisk zmiejsz czestotliwosc
if(up==1) t_param--; //jezeli nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc to zmiejsz okres
if(down==1) t_param++; //jezeli nacisniety przycisk zmniejsz czestotliwosc to zwieksz okres
if(t_param<0) t_param=0; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych if(t_param>100) t_param=100;//^
dlugosc_tab_sin = ceil((K_MAX-K_MIN)*t_param/500+K_MIN);//ilosc wartosci wypelnien w jednym okresie
t_out = T_PWM*dlugosc_tab_sin; //obliczenie okresu napiecia wyjsciowego
omega_t = t*2*PI/t_out; //obliczenie pulsacji napiecia wyjsciowego
U_o_param = (P/t_out)/U_rms_max; //obliczenie parametru okreslajacego wielkosc napiecia wyjsciowego
if(t_out>1) U_o_param = 0.5*(18.5/U_rms_max); //napi๊cie na wyjsciu przy niskiej czestotliwosci 10V
if(U_o_param>1) U_o_param=1; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych
blad = 1; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
//digitalWrite(13, HIGH); //zapalenie diody
//jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, LOW); //zapalenie diody
}

อินเวอร์เตอร์สามเฟสรุ่นจิตรวมเข้าถึงจิตเข้าใจหลักของการปฏิบัตินะ ลงมือทำ ยิ่งเราปฎิบัติ แรงของเราก็จะค่อยๆมากขึ้นๆ กำลัง จรวดมันจะออกจากโลกได้มันก็ต้องใช้แรง กำลังมากๆก็หลุดออกไปได้ จิตจะต้องมีพลังมาก ในการที่จะถอนตัวออกจากสังสารวัฏฏ์ได้ แต่ก่อนเขาไม่ค่อยสอนกันนะ แต่ก่อนเวลาสอนฆราวาส ก็สอนทำทานถือศีล อย่างเก่งก็นั่งสมาธิ ฆราวาสน่ะ ถ้าเห็นทุกข์เห็นโทษของการมีชีวิตอยู่ทุกวันๆ มีแต่ทุกข์อะไรอย่างนี้ (ฆราวาส)ก็อยากพ้นเหมือนกัน เราบอกทางให้ ร้อยคนจะหลุดไปได้สักกึ่งหนึ่ง ไม่บอกเลยก็ไปไม่ได้สักคน หลวงพ่อถึงสอนพวกเราด้วยสิ่งที่ครูบาอาจารย์แต่ก่อนสอนกับพระ แต่ตัวหลวงพ่อ (สมัยฆราวาส)ภาวนาจริงจัง เข้าหาครูบาอาจารย์ ท่านสอนอย่างนี้ ท่านไม่ได้มาสอน ทำทาน รักษาศีล นั่งสมาธิ ท่านสอนเรื่องเจริญปัญญา เรื่องมรรคผลนิพพาน เรื่องอะไรเหล่านี้ ฆราวาสก็ทำได้นะ ฆราวาสสมัยพุทธกาลทำไมเขาก็ทำได้ ฆราวาสยุคนี้มันจะโง่ปานนั้น(จนทำไม่ได้)เชียวรึ ทำไม่ได้เลย ลองคน(ฆราวาส)ได้ฟัง ก็น่าจะได้สักครึ่งกว่าๆ ถ้าได้ฟัง เกินครึ่ง จะทำได้ ถ้าสนใจจะทำนะ แต่ถ้าคนไม่สนใจทำ เราไปเทศน์ร้อยคน มันก็ไม่ฟัง ฟังคนเดียว สองคน แล้วก็ไม่ค่อยทำ นี่ถ้าคนสนใจนะ ตั้งใจฟัง แล้วลงมือทำนะ น่าจะได้เกินครึ่ง หลวงพ่อสอนละเอียดนะ ควรจะทำได้ มันไม่เหลือวิสัยหรอกที่มนุษย์ธรรมดาจะทำได้

สภาพจิตทีมีคุณภาพเพื่อรู้แจ้งอริยสัจธรรมเรามีศีลแล้วนะใจเราจะอยู่กับเนื้อกับตัวง่าย ใจตั้งมั่นง่าย ถ้าเราไม่มีศีลนะ วอกแวกๆ คิดกลุ้มใจไปโน่นไปนี่เรื่อยๆ ถ้ามีศีลอยู่ ใจก็อยู่กับเนื้อกับตัวไปนะ พอใจอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว เราก็คอยตามรู้กายรู้ใจไป บางคนก็ดูกาย เห็นร่างกายเคลื่อนไหว ใจเป็นคนดู บางคนก็ดูจิตดูใจไป วิธีดูจิตก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กระทบอารมณ์ ความรู้สึกใดแปลกปลอมขึ้นมารู้มัน แต่รู้ด้วยความเป็นกลางนะ มีเงื่อนไขสำคัญมาก รู้ด้วยความเป็นกลาง เช่นกิเลสเกิดขึ้นมา รู้ว่ามีกิเลส เช่น ความโกรธเกิดขึ้นรู้ว่าโกรธ พอความโกรธเกิดขึ้น ใจเราไม่ชอบ ให้รู้ทันใจที่ไม่ชอบนี่นะ ความไม่ชอบนี่คือความไม่เป็นกลาง ถ้าเมื่อไหร่ เราสามารถ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตใจที่ตั้งมั่น ด้วยจิตใจที่เป็นกลางได้นะ ปัญญาแท้ๆมันจะเกิด เห็นกายไม่ใช่เรา ใจไม่ใช่เรา มันจะเห็นว่า ทุกสิ่งนี้เป็นของชั่วคราว ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศล ทั้งหลายนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมด เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

ผู้สละโลก ผู้เลิศทางธุดงคคุณสำหรับบุคคลที่ตื่นอยู่ตลอดเวลา หมั่นศึกษาไตรสิกขาทั้งกลางวันและกลางคืน น้อมจิตเข้าหานิพพาน อาสวะทั้งหลายย่อมตั้งอยู่ไม่ได้'ปาฏิหาริย์แห่งการตื่น' จะเกิดขึ้นได้เมื่อเราตื่นจากฝัน ธรรมชาติแห่งพุทธภาวะ หมายถึง ธรรมชาติอันหนึ่ง ซึ่งทำสัตว์ให้เข้าถึงพุทธภาวะ ... "พุทธภาวะ" อันหมายถึงภาวะแห่งความรู้ ความตื่น ความเบิกบาน สิ่งที่เรียกว่า "ความรู้" ในที่นี้ ...จนเข้าถึงสภาวะพลังงานอันสูงสุด อันเป็นหนึ่งเดียว ของรูป-นาม เมื่อรูป นาม ดับสลาย เข้าสู่สภาวะพลังงานตื่นอันเป็นที่สุด อันเป็นปรมัตถปัญญา - ปัญญาวิมุตติ คือภาวะแห่งพุทธะ

อินเวอร์เตอร์สามเฟสรุ่นกิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย

20161119 031903

แนวทางการสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสด้วยตนเอง



//Arduino Atmega 168 Atmega 328P 3 phase induction motor Variable Speed Controller //Code
// Complier By Arduino Version 101 Version 106 Software
//รุ่นนี้เป็นแบบ AUTO RE RUN โค๊ดนี้ใช้วอลลุ่ม 5KB ตัวเดียวทำหน้าที่ ปิด -ปิด ปรับรอบ ให้ใช้ R //4K7 ต่อ ไฟ+5Vdc แล้วต่อเข้า ขาข้างด้าน + MAX ของ VR ต่อ R 1K-10 K ต่อ เข้า A3 ของ //ATmega 168 ATmega 328 P
#define UN (400.0) //napiecie znamionowe silnika
#define FN (50.0) //czestotliwosc znamionowa silnika
#define P (UN/FN) //wsp. okreslajacy proporcje napiecia do czestotliwoci znamionowej
#define T_PWM (0.000255) //okres sygnalu PWM - ustawiony przez preskaler w licznikach
#define T_MAX (4.0) //okreslenie maksymalnego okresu napiecia wyjsciowego
#define T_MIN (0.02) //minimalny okres napiecia wyjsciowego
#define K_MAX floor(T_MAX/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MAX
#define K_MIN ceil(T_MIN/T_PWM) //liczba wartosci okresu dla T_MIN

volatile static unsigned int dlugosc_tab_sin; //zmienna zawierajaca liczbe wartosci w pelnym
//okresie napiecia wyjsciowego
static unsigned int i = 0; //zmienna pomocniacza
volatile static unsigned int licznik_glowny = 0;//zmienna wystepujaca w przerwaniu czyklicznie
//^ co okres T_PWM zwiekszajaca swoja wartosc o 1
static unsigned int next_value_sin = 0; //zmienna ktora wartosc sin nalezy obliczyc
static double t_param=100; //parametr okreslajacy okres napiecia wyjsciowego
static float t = T_PWM; //T_PWM
static float omega_t; //pulsacja napiecia wyjsciowego pomnozona przez T_PWM
static float t_out; //okres wyjsciowy napiecia
static float U_o_param; //parametr okreslajacy wielkosc napiecie wyjsciowego
//^ obliczony na podstawie t_out i U_in
static unsigned int ocr0a, ocr0b, ocr1a;//zmienne pomocnicze do przechowywania obl. wypelnien
static unsigned int ocr1b, ocr2a, ocr2b;//^
static double sin_in; //zmienna zawierajaca parametr funkcji sin
static double blad = 1; //zmienna uzyta do zatrzymania generowania napiecia przy przeciazeniu
static unsigned int analog=0; //zmienna zawierajaca zmierzona wartosc
static double U_in = 0; //zmienna przechowujนca pomiar napiecia ukladu posredniczacego
static double U_rms_max; //maksymalna aktualnie mozliwa do generacji wartosc skuteczna napiecia
static bool a=0; //zmienna logiczna do realizacji dwoch naprzemiennych pomiarow
int main()
{
io_init(); //inicjalizacja wejsc i wyjsc
timers_init(); //inicjalizacja licznikow PWM
adc_init(); //inicjalizacja przetwornika ADC
while(1) //nieskonczona petla z programem glownym
{
if(i==185) //warunek okreslajacy wejscie do funkcji zmiany
{ //parametrow napiecia wysjciowego, wywolanie co okolo 100ms
zmien_predkosc(); //funkcja zmiany parametrow napiecia wyjsciowego
i=0;
}
next_value_sin = licznik_glowny%dlugosc_tab_sin; //kolejna wartoœๆ sinusa do obliczenia
sin_in=omega_t*next_value_sin;

/*obliczenie wartosci do rejestrow okreslajacych wypelnienie sygnalu wyjscioweg*/
ocr0a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in)+1)*254/2)+1);//pin 6
ocr0b = ocr0a - 1;
ocr1a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in-2.09)+1)*254/2)+1);//pin 9
ocr1b = ocr1a - 1;
ocr2a = round(blad*(U_o_param*(sin(sin_in+2.09)+1)*254/2)+1);//pin 11
ocr2b = ocr2a - 1;

/*uaktualnienie wartosci w rejestrach*/
cli(); //zabronienie na obsloge przerwan na wypadek gdyby
//podczas uaktualniania wystapilo przerwanie
OCR0A = ocr0a; //pin 6
OCR0B = ocr0b; //pin 5
OCR1AL = ocr1a; //pin 9
OCR1BL = ocr1b; //pin 10
OCR2A = ocr2a; //pin 11
OCR2B = ocr2b; //pin 3
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
i++;
}
}
void adc_init()
{
ADCSRA |= _BV(ADEN);//uruchomienie przetwornika
ADCSRA |= _BV(ADPS2);//ustawienie preskalera
ADCSRA |= _BV(ADPS1);//^
ADCSRA |= _BV(ADPS0);//^
ADMUX |= _BV(REFS0);// napiecie odniesienia ustawione jako napiecie zasilania
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru
}
void timers_init()
{
cli(); // obsloga przerwan zabroniona
//timer0 init
TCCR0A |= _BV(COM0A1) | _BV(COM0B0) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00);
TCCR0B |= _BV(CS01); //preskaler 8
TIMSK0 |= _BV(TOIE0); //flaga od wartosci 0 wlaczona
//timer1 init
TCCR1A |= _BV(COM1A1) | _BV(COM1B0) | _BV(COM1B1) | _BV(WGM10);
TCCR1B |= _BV(CS11); //preskaler 8
//timer2 init
TCCR2A |= _BV(COM2A1) | _BV(COM2B0) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM20);
TCCR2B |= _BV(CS21); //preskaler 8
//zerowanie wartosci licznik๓w
TCNT0 = 0;
TCNT1L = 0;
TCNT2 = 0;
/* licznik zlicza w g๓re do 255, nastepnie w d๓ณ: /\/\/\
przy wartosci 255 jest przerwanie przy ktorym dokonuje sie
pomiarow napiec i pradow
*/
sei(); //zezwolenie na obsloge przerwan
}
void io_init()
{
pinMode(6, OUTPUT); //OC0A
pinMode(5, OUTPUT); //OC0B
pinMode(9, OUTPUT); //OC1A
pinMode(10, OUTPUT);//OC1B
pinMode(11, OUTPUT);//OC2A
pinMode(3, OUTPUT); //OC2B
pinMode(2, INPUT);
pinMode(4, INPUT);
pinMode(12, OUTPUT);
}
ISR(TIMER0_OVF_vect) //przerwanie przy wartosci 0 licznika0
{
analog = ADC;
if(a)
{
U_in = 0.0709*analog;
ADMUX |= _BV(MUX0); //wybranie wejscia ADC1 do pomiaru pradu
}
else
{
ADMUX |= ADMUX &= 0b11110000; //wybranie wejscia ADC0 do pomiaru napiecia
if(analog>579)
{
blad = 0; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, HIGH); //zapalenie diody
}
}
ADCSRA |= _BV(ADSC);//start odczytywania pomiaru
a=a^1; //bramka XOR neguje wartosc logiczna a
licznik_glowny++;
if(licznik_glowny>=dlugosc_tab_sin) licznik_glowny = 0;
}
void zmien_predkosc()
{

t_param = map(analogRead(3),0,1023,0,100);
U_rms_max = U_in*0.62; //wartosc 0.62 wyzanczona eksperymentalnie
bool up; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zwieksz czestotliwosc
bool down; //zmienna logiczna, informuje o nacisnietym przycisku zmiejsz czestotliwosc
up = digitalRead(4); //odczyt: czy nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc
down = digitalRead(2); //odczyt: czy nacisniety przycisk zmiejsz czestotliwosc
if(up==1) t_param--; //jezeli nacisniety przycisk zwieksz czestotliwosc to zmiejsz okres
if(down==1) t_param++; //jezeli nacisniety przycisk zmniejsz czestotliwosc to zwieksz okres
if(t_param<0) t_param=0; //zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych if(t_param>100) t_param=100;//^
dlugosc_tab_sin = ceil((K_MAX-K_MIN)*t_param/500+K_MIN);//ilosc wartosci wypelnien w jednym okresie
t_out = T_PWM*dlugosc_tab_sin; //obliczenie okresu napiecia wyjsciowego
omega_t = t*2*PI/t_out; //obliczenie pulsacji napiecia wyjsciowego
U_o_param = (P/t_out)/U_rms_max; //obliczenie parametru okreslajacego wielkosc napiecia wyjsciowego
if(t_out>1) U_o_param = 0.5*(18.5/U_rms_max); //napi๊cie na wyjsciu przy niskiej czestotliwosci 10V
if(U_o_param>1) U_o_param=1;
//zabezpieczenie przekroczenia wartosci skrajnych
blad = 1; //jezeli przeciazenie wylaczenie generacji napiecia
digitalWrite(12, LOW); //zapalenie diody
}

วันพฤหัสบดีที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ความไม่ประมาทฝั่งข้างนี้อันเป็นที่น่ารังเกี­ยจ เต็มไปด้วย ภัยอันตรายนั้น เป็นชื่อแห่งร่างกายของตน คำว่า ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษม ปลอดภัยนั้น เป็นชื่อแห่งนิพพาน คำว่า แพนั้น เป็นชื่อแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ คือ สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ คำว่า พยายามข้ามไปด้วยมือและเท้า เป็นชื่อแห่งวิริยารัมภะ คำว่า ผู้เป็นพราหมณ์ว่ายข้ามฟากถึงฝั­่งโน้นแล้วขึ้นบกไป เป็นชื่อแห่งพระอรหันต์ ฯ

ความไม่ประมาทดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอปริหานิยธรรม ๗ อีกหมวดหนึ่ง แก่พวกเธอ พวกเธอจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับ พระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ๑. พวกภิกษุจักเจริญอนิจจสัญญา... ๒. ...อนัตตสัญญา... ๓. ...อสุภสัญญา... ๔. ...อาทีนวสัญญา... ๕. ...ปหานสัญญา ๖. ...วิราคสัญญา... ๗. พวก ภิกษุจักเจริญนิโรธสัญญา อยู่เพียงใด พึงหวังได้ซึ่งความเจริญอย่างเดียว ไม่มีเสื่อม เพียงนั้น ฯ

Sir Tomasz Drazek Arduino 3 Phase Variable Motor Speed Controller ใช้โค๊...

วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

เหลือแต่กายกับใจวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒.

การทำตนให้หลุดพ้นจากสังสารวัฎปรินิพพานครูบาอาจารย์ก็อยู่ไกล เราไหว้พระสวดมนต์ เราตามรู้ตามดูของเราไป บางทีธรรมะจะถ่ายทอดออกจากใจของเราเอง เราไปเกยตื้น คือเราไปติดอยู่ในภพใดภพหนึ่งที่เราสร้างขึ้นเองหรือเปล่า เราพัวพันในหมู่คณะ ปล่อยวางไม่ได้ จะหอบกระเตงกระเตงกันไป หรือเราติดในชื่อเสียง บางคนไปพูดธรรมะแล้วสนุกนะ นี่ ได้แสดงธรรมะแล้วสนุก เพลิดเพลิน มีความสุข ติดอยู่ในความสุข นี่ถูกอมนุษย์จับไว้ หรือใจของเราวันๆ หมกมุ่นในกามไหม หมกมุ่นอยู่ในกามไปไม่รอดหรอก ใจของเรามีศีลมีธรรมไหม สำรวจนะ ลองไปสำรวจตัวเองเป็นการบ้าน ถ้าไม่มีสิ่งเหล่านี้แล้วนี่ ให้รู้กายแบบสบายๆ รู้จิตใจไปอย่างสบายๆ ถึงวันนึงท่อนไม้นี้จะลอยไปถึงแม่น้ำ ถึงมหาสมุทรนะ ออกจากแม่น้ำคงคา ถึงมหาสมุทร ใจเราก็จะออกจากที่คับแคบไปสู่ที่กว้างไร้ขอบไร้เขต จิตใจของเราแต่ละคนอยู่ในที่ขังนะ มีกรอบมีขัง มีจุดมีดวง มีกรอบขังอยู่แคบๆ ถ้าภาวนาไปถึงช่วงนึงจะเห็นใจเราอยู่ในแคปซูล ใจเหมือนมีเปลือกหุ้มอยู่ ใจไม่มีอิสระวันใดที่เราออกสู่ทะเลได้ คือเข้าถึงธรรมแท้ๆ นะ ใจจะโล่งว่างเลยนะ กว้างขวางไร้ขอบไร้เขต ไม่มีจุดไม่มีดวง ไม่มีที่ตั้ง เพราะฉะนั้นใจไม่ต้องวิ่งไปวิ่งมาเหมือนที่เคยเป็น ใจอยู่ในที่ทุกสถานเลย เต็มไปหมดเลย เพราะฉะนั้นอย่างเวลาพวกเราภาวนา เรามีปัญหาติดขัดหรือเกิดอะไรขึ้นนะ เราระลึกถึงพระพุทธเจ้านะ เราจะสัมผัสท่านได้ทันทีเลย พระพุทธเจ้าไม่ได้อยู่อินเดีย คุณธรรมของท่านยังครอบโลกเต็มโลกอยู่อย่างนี้ ใจเรานึกถึงขึ้นมาจิตใจเราก็สงบ ตั้งมั่น มีความสุขขึ้นมาฉับพลันเลยนะ หรือบางครั้งภาวนาติดขัด ไม่รู้จะทำยังไงดี ครูบาอาจารย์ก็อยู่ไกล เราไหว้พระสวดมนต์ เราตามรู้ตามดูของเราไป บางทีธรรมะจะถ่ายทอดออกจากใจของเราเอง หรือบางคนมีภาพประกอบ บางคนมีเสียง เห็นพระพุทธเจ้าไปบอกบ้าง เลยคิดว่าพระพุทธเจ้ามาจริงๆ นะ จริงๆ จิตนั่นเองมันถ่ายทอดธรรมะออกมา จิตใจโน้มเอียงที่จะอยู่กับธรรมะ เวลาติดขัดขึ้นมาจิตจะสอนธรรมะได้ เป็นเรื่องแปลกนะ ค่อยๆ ดู ท้าให้พิสูจน์นะ ไม่ได้ชวนให้เชื่อ ลองภาวนาดู เอาซีดี เอาหนังสือหลวงพ่อไป ไปฟังไปอ่าน แจกให้ฟรีนะ ไปฟังไปอ่านแล้วค่อยๆ สังเกตจิตใจของเราไป

วันอังคารที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

เบุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ ที่ให้โอกาส หลวงพ่อได้รับทราบถึงความห่วงใยและความปรารถนาดีของทุกคนแล้ว ขออนุโมทนากับทุกคนสำหรับคำอวยพรทั้งปวง หลวงพ่อเริ่มอาพาธครั้งนี้ตั้งแต่ช่วงสงกรานต์ มีอาการเหนื่อยหอบ ไอ และต่อมน้ำเหลืองโต จึงได้เข้ารับการตรวจอาการเบื้องต้นในโรงพยาบาลในย่านพัทยา ถัดจากนั้นจึงเดินทางเข้ามาตรวจรักษาในโรงพยาบาลของรัฐในกรุงเทพ ผลการตรวจชิ้นเนื้อออกมาเมื่อวานนี้ (31 พฤษภาคม 2559) สรุปได้ว่าเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง จำเป็นจะต้องรักษาตัวนานราว 8 เดือน ระหว่างนี้ภูมิต้านทานจะต่ำมาก แพทย์ผู้ดูแลจึงแนะนำให้งดการแสดงธรรมทั้งที่วัดและนอกสถานที่ รวมทั้งไม่ต้องการให้มีการเยี่ยมไข้เพราะเป็นผลเสียต่อหลวงพ่อมากกว่าผลดี หลวงพ่อตรากตรำทำงานเผยแผ่มานานแล้ว ช่วงนี้ต้องขอลาป่วยชั่วคราว ระหว่างนี้ขอให้ทุกคนตั้งใจภาวนาเพราะโลกนี้หาความแน่นอนใดๆ ไม่ได้เลย ไม่ต้องกังวลว่าจะภาวนาไม่ได้ เพราะหลวงพ่อได้ถ่ายทอดธรรมะภาคปฏิบัติไว้ครบถ้วนแล้ว ให้ใช้โยนิโสมนสิการคือความแยบคายในการสังเกตการปฏิบัติของตนให้มาก ว่าถูกตรงตามคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือไม่ ถ้าติดขัดจริงๆ ก็ให้ปรึกษาบุคคลที่หลวงพ่อมอบหมายให้ช่วยสอนได้ อย่าฉวยโอกาสที่หลวงพ่ออาพาธไปเที่ยวเถลไถลหรือขี้เกียจปฏิบัติก็แล้วกัน หลวงพ่อไม่ได้ต้องการสิ่งใดจากพวกเรา นอกจากให้พวกเราขยันภาวนาเพื่อผ่อนคลายความทุกข์ของตนเอง และเพื่อช่วยกันรักษาสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป ถ้าคิดถึงหลวงพ่อ ก็ขอให้คิดถึงธรรม เจริญพร หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช 1 มิถุนายน 2559หลือแต่กายกับใจ

วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

เครื่องปรับรอบมอเตอร์เครื่องสีข้าวขนาดครอบครัว

gt15j331 ps21244// 3 Phase Variable Frequency Motor Controller Arduino Code for 168 328 p THANK YOU //VERY MUCH FOR HELPING ME... #include "avr/pgmspace.h" //Store data in flash (program) memory instead of SRAM // Look Up table of a single sine period divied up into 256 values. Refer to PWM to sine.xls on how the values was calculated PROGMEM prog_uchar sine256[] = { 127,130,133,136,139,143,146,149,152,155,158,161,164,167,170,173,176,178,181,184,187,190,192,195,198,200,203,205,208,210,212,215,217,219,221,223,225,227,229,231,233,234,236,238,239,240, 242,243,244,245,247,248,249,249,250,251,252,252,253,253,253,254,254,254,254,254,254,254,253,253,253,252,252,251,250,249,249,248,247,245,244,243,242,240,239,238,236,234,233,231,229,227,225,223, 221,219,217,215,212,210,208,205,203,200,198,195,192,190,187,184,181,178,176,173,170,167,164,161,158,155,152,149,146,143,139,136,133,130,127,124,121,118,115,111,108,105,102,99,96,93,90,87,84,81,78, 76,73,70,67,64,62,59,56,54,51,49,46,44,42,39,37,35,33,31,29,27,25,23,21,20,18,16,15,14,12,11,10,9,7,6,5,5,4,3,2,2,1,1,1,0,0,0,0,0,0,0,1,1,1,2,2,3,4,5,5,6,7,9,10,11,12,14,15,16,18,20,21,23,25,27,29,31, 33,35,37,39,42,44,46,49,51,54,56,59,62,64,67,70,73,76,78,81,84,87,90,93,96,99,102,105,108,111,115,118,121,124 }; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) //define a bit to have the properties of a clear bit operator #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit))//define a bit to have the properties of a set bit operator int PWM1= 11;// PWM1 output, phase 1 int PWM2 = 3; //[WM2 ouput, phase 2 int PWM3 = 10; //PWM3 output, phase 3 int offset_1 = 85; //offset 1 is 120 degrees out of phase with previous phase, Refer to PWM to sine.xls int offset_2 = 170; //offset 2 is 120 degrees out of phase with offset 1. Refer to PWM to sine.xls //int program_exec_time = 6; //monitor how quickly the interrupt trigger int ISR_exec_time = 7; //monitor how long the interrupt takes double dfreq; const double refclk=31376.6; // measured output frequency // variables used inside interrupt service declared as voilatile volatile byte current_count; // Keep track of where the current count is in sine 256 array volatile byte ms4_delay; //variable used to generate a 4ms delay volatile byte c4ms; // after every 4ms this variable is incremented, its used to create a delay of 1 second volatile unsigned long phase_accumulator; // pahse accumulator volatile unsigned long tword_m; // dds tuning word m, refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. void setup() { pinMode(PWM1, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM2, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM3, OUTPUT); //sets the digital pin as output //pinMode(program_exec_time, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(9, OUTPUT); //sets the digital pin as output // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin Setup_timer1(); Setup_timer2(); //Disable Timer 1 interrupt to avoid any timing delays cbi (TIMSK0,TOIE0); //disable Timer0 !!! delay() is now not available sbi (TIMSK2,TOIE2); //enable Timer2 Interrupt dfreq=1000.0; //initial output frequency = 1000.o Hz tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //calulate DDS new tuning word } void loop() { while(1) { // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin if (c4ms > 250) // c4ms = 4ms, thus 4ms *250 = 1 second delay { c4ms=0; //Reset c4ms dfreq=map(analogRead(0),0,1023,0,55); // Read voltage on analog 1 to see desired output frequency, 0V = 0Hz, 5V = 1.023kHz cbi (TIMSK2,TOIE2); //Disable Timer2 Interrupt tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //Calulate DDS new tuning word sbi (TIMSK2,TOIE2); //Enable Timer2 Interrupt } } } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer1(void) { // Timer1 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); cbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); cbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer2() { // Timer2 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Timer2 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match sbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); sbi (TCCR2A, COM2B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } //Timer2 Interrupt Service at 31372,550 KHz = 32uSec //This is the timebase REFCLOCK for the DDS generator //FOUT = (M (REFCLK)) / (2 exp 32) //Runtime : 8 microseconds ISR(TIMER2_OVF_vect) { // cbi(PORTD,program_exec_time); //Clear the pin sbi(PORTD,ISR_exec_time); // Sets the pin phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; //Adds tuning M word to previoud phase accumulator. refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. current_count=phase_accumulator >> 24; // use upper 8 bits of phase_accumulator as frequency information OCR2A=pgm_read_byte_near(sine256 + current_count); // read value fron ROM sine table and send to PWM OCR2B=pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_1)); // read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM1 OCR1A = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 // OCR1B = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 //increment variable ms4_delay every 4mS/125 = milliseconds 32uS if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count

มอเตอร์เครื่องสีข้าว// 3 Phase Variable Frequency Motor Controller Arduino Code for 168 328 p THANK YOU //VERY MUCH FOR HELPING ME... #include "avr/pgmspace.h" //Store data in flash (program) memory instead of SRAM // Look Up table of a single sine period divied up into 256 values. Refer to PWM to sine.xls on how the values was calculated PROGMEM prog_uchar sine256[] = { 127,130,133,136,139,143,146,149,152,155,158,161,164,167,170,173,176,178,181,184,187,190,192,195,198,200,203,205,208,210,212,215,217,219,221,223,225,227,229,231,233,234,236,238,239,240, 242,243,244,245,247,248,249,249,250,251,252,252,253,253,253,254,254,254,254,254,254,254,253,253,253,252,252,251,250,249,249,248,247,245,244,243,242,240,239,238,236,234,233,231,229,227,225,223, 221,219,217,215,212,210,208,205,203,200,198,195,192,190,187,184,181,178,176,173,170,167,164,161,158,155,152,149,146,143,139,136,133,130,127,124,121,118,115,111,108,105,102,99,96,93,90,87,84,81,78, 76,73,70,67,64,62,59,56,54,51,49,46,44,42,39,37,35,33,31,29,27,25,23,21,20,18,16,15,14,12,11,10,9,7,6,5,5,4,3,2,2,1,1,1,0,0,0,0,0,0,0,1,1,1,2,2,3,4,5,5,6,7,9,10,11,12,14,15,16,18,20,21,23,25,27,29,31, 33,35,37,39,42,44,46,49,51,54,56,59,62,64,67,70,73,76,78,81,84,87,90,93,96,99,102,105,108,111,115,118,121,124 }; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) //define a bit to have the properties of a clear bit operator #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit))//define a bit to have the properties of a set bit operator int PWM1= 11;// PWM1 output, phase 1 int PWM2 = 3; //[WM2 ouput, phase 2 int PWM3 = 10; //PWM3 output, phase 3 int offset_1 = 85; //offset 1 is 120 degrees out of phase with previous phase, Refer to PWM to sine.xls int offset_2 = 170; //offset 2 is 120 degrees out of phase with offset 1. Refer to PWM to sine.xls //int program_exec_time = 6; //monitor how quickly the interrupt trigger int ISR_exec_time = 7; //monitor how long the interrupt takes double dfreq; const double refclk=31376.6; // measured output frequency // variables used inside interrupt service declared as voilatile volatile byte current_count; // Keep track of where the current count is in sine 256 array volatile byte ms4_delay; //variable used to generate a 4ms delay volatile byte c4ms; // after every 4ms this variable is incremented, its used to create a delay of 1 second volatile unsigned long phase_accumulator; // pahse accumulator volatile unsigned long tword_m; // dds tuning word m, refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. void setup() { pinMode(PWM1, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM2, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM3, OUTPUT); //sets the digital pin as output //pinMode(program_exec_time, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(9, OUTPUT); //sets the digital pin as output // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin Setup_timer1(); Setup_timer2(); //Disable Timer 1 interrupt to avoid any timing delays cbi (TIMSK0,TOIE0); //disable Timer0 !!! delay() is now not available sbi (TIMSK2,TOIE2); //enable Timer2 Interrupt dfreq=1000.0; //initial output frequency = 1000.o Hz tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //calulate DDS new tuning word } void loop() { while(1) { // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin if (c4ms > 250) // c4ms = 4ms, thus 4ms *250 = 1 second delay { c4ms=0; //Reset c4ms dfreq=map(analogRead(0),0,1023,0,55); // Read voltage on analog 1 to see desired output frequency, 0V = 0Hz, 5V = 1.023kHz cbi (TIMSK2,TOIE2); //Disable Timer2 Interrupt tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //Calulate DDS new tuning word sbi (TIMSK2,TOIE2); //Enable Timer2 Interrupt } } } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer1(void) { // Timer1 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); cbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); cbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer2() { // Timer2 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Timer2 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match sbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); sbi (TCCR2A, COM2B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } //Timer2 Interrupt Service at 31372,550 KHz = 32uSec //This is the timebase REFCLOCK for the DDS generator //FOUT = (M (REFCLK)) / (2 exp 32) //Runtime : 8 microseconds ISR(TIMER2_OVF_vect) { // cbi(PORTD,program_exec_time); //Clear the pin sbi(PORTD,ISR_exec_time); // Sets the pin phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; //Adds tuning M word to previoud phase accumulator. refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. current_count=phase_accumulator >> 24; // use upper 8 bits of phase_accumulator as frequency information OCR2A=pgm_read_byte_near(sine256 + current_count); // read value fron ROM sine table and send to PWM OCR2B=pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_1)); // read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM1 OCR1A = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 // OCR1B = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 //increment variable ms4_delay every 4mS/125 = milliseconds 32uS if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count

การปรับความเร็วมอเตอร์สามเฟสรุ่นใช้วอลลุ่มปรับความถี่ได้// 3 Phase Variable Frequency Motor Controller Arduino Code for 168 328 p THANK YOU //VERY MUCH FOR HELPING ME... #include "avr/pgmspace.h" //Store data in flash (program) memory instead of SRAM // Look Up table of a single sine period divied up into 256 values. Refer to PWM to sine.xls on how the values was calculated PROGMEM prog_uchar sine256[] = { 127,130,133,136,139,143,146,149,152,155,158,161,164,167,170,173,176,178,181,184,187,190,192,195,198,200,203,205,208,210,212,215,217,219,221,223,225,227,229,231,233,234,236,238,239,240, 242,243,244,245,247,248,249,249,250,251,252,252,253,253,253,254,254,254,254,254,254,254,253,253,253,252,252,251,250,249,249,248,247,245,244,243,242,240,239,238,236,234,233,231,229,227,225,223, 221,219,217,215,212,210,208,205,203,200,198,195,192,190,187,184,181,178,176,173,170,167,164,161,158,155,152,149,146,143,139,136,133,130,127,124,121,118,115,111,108,105,102,99,96,93,90,87,84,81,78, 76,73,70,67,64,62,59,56,54,51,49,46,44,42,39,37,35,33,31,29,27,25,23,21,20,18,16,15,14,12,11,10,9,7,6,5,5,4,3,2,2,1,1,1,0,0,0,0,0,0,0,1,1,1,2,2,3,4,5,5,6,7,9,10,11,12,14,15,16,18,20,21,23,25,27,29,31, 33,35,37,39,42,44,46,49,51,54,56,59,62,64,67,70,73,76,78,81,84,87,90,93,96,99,102,105,108,111,115,118,121,124 }; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) //define a bit to have the properties of a clear bit operator #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit))//define a bit to have the properties of a set bit operator int PWM1= 11;// PWM1 output, phase 1 int PWM2 = 3; //[WM2 ouput, phase 2 int PWM3 = 10; //PWM3 output, phase 3 int offset_1 = 85; //offset 1 is 120 degrees out of phase with previous phase, Refer to PWM to sine.xls int offset_2 = 170; //offset 2 is 120 degrees out of phase with offset 1. Refer to PWM to sine.xls //int program_exec_time = 6; //monitor how quickly the interrupt trigger int ISR_exec_time = 7; //monitor how long the interrupt takes double dfreq; const double refclk=31376.6; // measured output frequency // variables used inside interrupt service declared as voilatile volatile byte current_count; // Keep track of where the current count is in sine 256 array volatile byte ms4_delay; //variable used to generate a 4ms delay volatile byte c4ms; // after every 4ms this variable is incremented, its used to create a delay of 1 second volatile unsigned long phase_accumulator; // pahse accumulator volatile unsigned long tword_m; // dds tuning word m, refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. void setup() { pinMode(PWM1, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM2, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM3, OUTPUT); //sets the digital pin as output //pinMode(program_exec_time, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(9, OUTPUT); //sets the digital pin as output // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin Setup_timer1(); Setup_timer2(); //Disable Timer 1 interrupt to avoid any timing delays cbi (TIMSK0,TOIE0); //disable Timer0 !!! delay() is now not available sbi (TIMSK2,TOIE2); //enable Timer2 Interrupt dfreq=1000.0; //initial output frequency = 1000.o Hz tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //calulate DDS new tuning word } void loop() { while(1) { // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin if (c4ms > 250) // c4ms = 4ms, thus 4ms *250 = 1 second delay { c4ms=0; //Reset c4ms dfreq=map(analogRead(0),0,1023,0,55); // Read voltage on analog 1 to see desired output frequency, 0V = 0Hz, 5V = 1.023kHz cbi (TIMSK2,TOIE2); //Disable Timer2 Interrupt tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //Calulate DDS new tuning word sbi (TIMSK2,TOIE2); //Enable Timer2 Interrupt } } } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer1(void) { // Timer1 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); cbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); cbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer2() { // Timer2 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Timer2 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match sbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); sbi (TCCR2A, COM2B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } //Timer2 Interrupt Service at 31372,550 KHz = 32uSec //This is the timebase REFCLOCK for the DDS generator //FOUT = (M (REFCLK)) / (2 exp 32) //Runtime : 8 microseconds ISR(TIMER2_OVF_vect) { // cbi(PORTD,program_exec_time); //Clear the pin sbi(PORTD,ISR_exec_time); // Sets the pin phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; //Adds tuning M word to previoud phase accumulator. refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. current_count=phase_accumulator >> 24; // use upper 8 bits of phase_accumulator as frequency information OCR2A=pgm_read_byte_near(sine256 + current_count); // read value fron ROM sine table and send to PWM OCR2B=pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_1)); // read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM1 OCR1A = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 // OCR1B = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 //increment variable ms4_delay every 4mS/125 = milliseconds 32uS if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count

การปรับความเร็วมอเตอร์สามเฟสรุ่นใช้วอลลุ่มปรับความถี่ได้/ Arduino Code for 168 328 p #include "avr/pgmspace.h" //Store data in flash (program) memory instead of SRAM // Look Up table of a single sine period divied up into 256 values. Refer to PWM to sine.xls on how the values was calculated PROGMEM prog_uchar sine256[] = { 127,130,133,136,139,143,146,149,152,155,158,161,164,167,170,173,176,178,181,184,187,190,192,195,198,200,203,205,208,210,212,215,217,219,221,223,225,227,229,231,233,234,236,238,239,240, 242,243,244,245,247,248,249,249,250,251,252,252,253,253,253,254,254,254,254,254,254,254,253,253,253,252,252,251,250,249,249,248,247,245,244,243,242,240,239,238,236,234,233,231,229,227,225,223, 221,219,217,215,212,210,208,205,203,200,198,195,192,190,187,184,181,178,176,173,170,167,164,161,158,155,152,149,146,143,139,136,133,130,127,124,121,118,115,111,108,105,102,99,96,93,90,87,84,81,78, 76,73,70,67,64,62,59,56,54,51,49,46,44,42,39,37,35,33,31,29,27,25,23,21,20,18,16,15,14,12,11,10,9,7,6,5,5,4,3,2,2,1,1,1,0,0,0,0,0,0,0,1,1,1,2,2,3,4,5,5,6,7,9,10,11,12,14,15,16,18,20,21,23,25,27,29,31, 33,35,37,39,42,44,46,49,51,54,56,59,62,64,67,70,73,76,78,81,84,87,90,93,96,99,102,105,108,111,115,118,121,124 }; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) //define a bit to have the properties of a clear bit operator #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit))//define a bit to have the properties of a set bit operator int PWM1= 11;// PWM1 output, phase 1 int PWM2 = 3; //[WM2 ouput, phase 2 int PWM3 = 10; //PWM3 output, phase 3 int offset_1 = 85; //offset 1 is 120 degrees out of phase with previous phase, Refer to PWM to sine.xls int offset_2 = 170; //offset 2 is 120 degrees out of phase with offset 1. Refer to PWM to sine.xls //int program_exec_time = 6; //monitor how quickly the interrupt trigger int ISR_exec_time = 7; //monitor how long the interrupt takes double dfreq; const double refclk=31376.6; // measured output frequency // variables used inside interrupt service declared as voilatile volatile byte current_count; // Keep track of where the current count is in sine 256 array volatile byte ms4_delay; //variable used to generate a 4ms delay volatile byte c4ms; // after every 4ms this variable is incremented, its used to create a delay of 1 second volatile unsigned long phase_accumulator; // pahse accumulator volatile unsigned long tword_m; // dds tuning word m, refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. void setup() { pinMode(PWM1, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM2, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM3, OUTPUT); //sets the digital pin as output //pinMode(program_exec_time, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(9, OUTPUT); //sets the digital pin as output // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin Setup_timer1(); Setup_timer2(); //Disable Timer 1 interrupt to avoid any timing delays cbi (TIMSK0,TOIE0); //disable Timer0 !!! delay() is now not available sbi (TIMSK2,TOIE2); //enable Timer2 Interrupt dfreq=1000.0; //initial output frequency = 1000.o Hz tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //calulate DDS new tuning word } void loop() { while(1) { // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin if (c4ms > 250) // c4ms = 4ms, thus 4ms *250 = 1 second delay { c4ms=0; //Reset c4ms dfreq=map(analogRead(0),0,1023,0,55); // Read voltage on analog 1 to see desired output frequency, 0V = 0Hz, 5V = 1.023kHz cbi (TIMSK2,TOIE2); //Disable Timer2 Interrupt tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //Calulate DDS new tuning word sbi (TIMSK2,TOIE2); //Enable Timer2 Interrupt } } } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer1(void) { // Timer1 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); cbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); cbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer2() { // Timer2 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Timer2 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match sbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); sbi (TCCR2A, COM2B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } //Timer2 Interrupt Service at 31372,550 KHz = 32uSec //This is the timebase REFCLOCK for the DDS generator //FOUT = (M (REFCLK)) / (2 exp 32) //Runtime : 8 microseconds ISR(TIMER2_OVF_vect) { // cbi(PORTD,program_exec_time); //Clear the pin sbi(PORTD,ISR_exec_time); // Sets the pin phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; //Adds tuning M word to previoud phase accumulator. refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. current_count=phase_accumulator >> 24; // use upper 8 bits of phase_accumulator as frequency information OCR2A=pgm_read_byte_near(sine256 + current_count); // read value fron ROM sine table and send to PWM OCR2B=pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_1)); // read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM1 OCR1A = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 // OCR1B = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 //increment variable ms4_delay every 4mS/125 = milliseconds 32uS if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count }

การสร้างอินเวอร์เตอร์สามเฟสแบบใหม่ ใช้ได้กับมอเตอร์ขนาดเล็กไม่เกินสามแร.../ Arduino Code for 168 328 p #include "avr/pgmspace.h" //Store data in flash (program) memory instead of SRAM // Look Up table of a single sine period divied up into 256 values. Refer to PWM to sine.xls on how the values was calculated PROGMEM prog_uchar sine256[] = { 127,130,133,136,139,143,146,149,152,155,158,161,164,167,170,173,176,178,181,184,187,190,192,195,198,200,203,205,208,210,212,215,217,219,221,223,225,227,229,231,233,234,236,238,239,240, 242,243,244,245,247,248,249,249,250,251,252,252,253,253,253,254,254,254,254,254,254,254,253,253,253,252,252,251,250,249,249,248,247,245,244,243,242,240,239,238,236,234,233,231,229,227,225,223, 221,219,217,215,212,210,208,205,203,200,198,195,192,190,187,184,181,178,176,173,170,167,164,161,158,155,152,149,146,143,139,136,133,130,127,124,121,118,115,111,108,105,102,99,96,93,90,87,84,81,78, 76,73,70,67,64,62,59,56,54,51,49,46,44,42,39,37,35,33,31,29,27,25,23,21,20,18,16,15,14,12,11,10,9,7,6,5,5,4,3,2,2,1,1,1,0,0,0,0,0,0,0,1,1,1,2,2,3,4,5,5,6,7,9,10,11,12,14,15,16,18,20,21,23,25,27,29,31, 33,35,37,39,42,44,46,49,51,54,56,59,62,64,67,70,73,76,78,81,84,87,90,93,96,99,102,105,108,111,115,118,121,124 }; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) //define a bit to have the properties of a clear bit operator #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit))//define a bit to have the properties of a set bit operator int PWM1= 11;// PWM1 output, phase 1 int PWM2 = 3; //[WM2 ouput, phase 2 int PWM3 = 10; //PWM3 output, phase 3 int offset_1 = 85; //offset 1 is 120 degrees out of phase with previous phase, Refer to PWM to sine.xls int offset_2 = 170; //offset 2 is 120 degrees out of phase with offset 1. Refer to PWM to sine.xls //int program_exec_time = 6; //monitor how quickly the interrupt trigger int ISR_exec_time = 7; //monitor how long the interrupt takes double dfreq; const double refclk=31376.6; // measured output frequency // variables used inside interrupt service declared as voilatile volatile byte current_count; // Keep track of where the current count is in sine 256 array volatile byte ms4_delay; //variable used to generate a 4ms delay volatile byte c4ms; // after every 4ms this variable is incremented, its used to create a delay of 1 second volatile unsigned long phase_accumulator; // pahse accumulator volatile unsigned long tword_m; // dds tuning word m, refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. void setup() { pinMode(PWM1, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM2, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM3, OUTPUT); //sets the digital pin as output //pinMode(program_exec_time, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(9, OUTPUT); //sets the digital pin as output // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin Setup_timer1(); Setup_timer2(); //Disable Timer 1 interrupt to avoid any timing delays cbi (TIMSK0,TOIE0); //disable Timer0 !!! delay() is now not available sbi (TIMSK2,TOIE2); //enable Timer2 Interrupt dfreq=1000.0; //initial output frequency = 1000.o Hz tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //calulate DDS new tuning word } void loop() { while(1) { // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin if (c4ms > 250) // c4ms = 4ms, thus 4ms *250 = 1 second delay { c4ms=0; //Reset c4ms dfreq=map(analogRead(0),0,1023,0,55); // Read voltage on analog 1 to see desired output frequency, 0V = 0Hz, 5V = 1.023kHz cbi (TIMSK2,TOIE2); //Disable Timer2 Interrupt tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //Calulate DDS new tuning word sbi (TIMSK2,TOIE2); //Enable Timer2 Interrupt } } } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer1(void) { // Timer1 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); cbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); cbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer2() { // Timer2 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Timer2 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match sbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); sbi (TCCR2A, COM2B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } //Timer2 Interrupt Service at 31372,550 KHz = 32uSec //This is the timebase REFCLOCK for the DDS generator //FOUT = (M (REFCLK)) / (2 exp 32) //Runtime : 8 microseconds ISR(TIMER2_OVF_vect) { // cbi(PORTD,program_exec_time); //Clear the pin sbi(PORTD,ISR_exec_time); // Sets the pin phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; //Adds tuning M word to previoud phase accumulator. refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. current_count=phase_accumulator >> 24; // use upper 8 bits of phase_accumulator as frequency information OCR2A=pgm_read_byte_near(sine256 + current_count); // read value fron ROM sine table and send to PWM OCR2B=pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_1)); // read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM1 OCR1A = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 // OCR1B = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 //increment variable ms4_delay every 4mS/125 = milliseconds 32uS if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count }

การเปลี่ยนความถี่ไฟฟ้าด้วยอินเวอร์เตอร์/ Arduino Code for 168 328 p #include "avr/pgmspace.h" //Store data in flash (program) memory instead of SRAM // Look Up table of a single sine period divied up into 256 values. Refer to PWM to sine.xls on how the values was calculated PROGMEM prog_uchar sine256[] = { 127,130,133,136,139,143,146,149,152,155,158,161,164,167,170,173,176,178,181,184,187,190,192,195,198,200,203,205,208,210,212,215,217,219,221,223,225,227,229,231,233,234,236,238,239,240, 242,243,244,245,247,248,249,249,250,251,252,252,253,253,253,254,254,254,254,254,254,254,253,253,253,252,252,251,250,249,249,248,247,245,244,243,242,240,239,238,236,234,233,231,229,227,225,223, 221,219,217,215,212,210,208,205,203,200,198,195,192,190,187,184,181,178,176,173,170,167,164,161,158,155,152,149,146,143,139,136,133,130,127,124,121,118,115,111,108,105,102,99,96,93,90,87,84,81,78, 76,73,70,67,64,62,59,56,54,51,49,46,44,42,39,37,35,33,31,29,27,25,23,21,20,18,16,15,14,12,11,10,9,7,6,5,5,4,3,2,2,1,1,1,0,0,0,0,0,0,0,1,1,1,2,2,3,4,5,5,6,7,9,10,11,12,14,15,16,18,20,21,23,25,27,29,31, 33,35,37,39,42,44,46,49,51,54,56,59,62,64,67,70,73,76,78,81,84,87,90,93,96,99,102,105,108,111,115,118,121,124 }; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) //define a bit to have the properties of a clear bit operator #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit))//define a bit to have the properties of a set bit operator int PWM1= 11;// PWM1 output, phase 1 int PWM2 = 3; //[WM2 ouput, phase 2 int PWM3 = 10; //PWM3 output, phase 3 int offset_1 = 85; //offset 1 is 120 degrees out of phase with previous phase, Refer to PWM to sine.xls int offset_2 = 170; //offset 2 is 120 degrees out of phase with offset 1. Refer to PWM to sine.xls //int program_exec_time = 6; //monitor how quickly the interrupt trigger int ISR_exec_time = 7; //monitor how long the interrupt takes double dfreq; const double refclk=31376.6; // measured output frequency // variables used inside interrupt service declared as voilatile volatile byte current_count; // Keep track of where the current count is in sine 256 array volatile byte ms4_delay; //variable used to generate a 4ms delay volatile byte c4ms; // after every 4ms this variable is incremented, its used to create a delay of 1 second volatile unsigned long phase_accumulator; // pahse accumulator volatile unsigned long tword_m; // dds tuning word m, refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. void setup() { pinMode(PWM1, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM2, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM3, OUTPUT); //sets the digital pin as output //pinMode(program_exec_time, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(9, OUTPUT); //sets the digital pin as output // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin Setup_timer1(); Setup_timer2(); //Disable Timer 1 interrupt to avoid any timing delays cbi (TIMSK0,TOIE0); //disable Timer0 !!! delay() is now not available sbi (TIMSK2,TOIE2); //enable Timer2 Interrupt dfreq=1000.0; //initial output frequency = 1000.o Hz tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //calulate DDS new tuning word } void loop() { while(1) { // sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin if (c4ms > 250) // c4ms = 4ms, thus 4ms *250 = 1 second delay { c4ms=0; //Reset c4ms dfreq=map(analogRead(0),0,1023,0,55); // Read voltage on analog 1 to see desired output frequency, 0V = 0Hz, 5V = 1.023kHz cbi (TIMSK2,TOIE2); //Disable Timer2 Interrupt tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //Calulate DDS new tuning word sbi (TIMSK2,TOIE2); //Enable Timer2 Interrupt } } } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer1(void) { // Timer1 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); cbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); cbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer2() { // Timer2 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Timer2 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match sbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); sbi (TCCR2A, COM2B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } //Timer2 Interrupt Service at 31372,550 KHz = 32uSec //This is the timebase REFCLOCK for the DDS generator //FOUT = (M (REFCLK)) / (2 exp 32) //Runtime : 8 microseconds ISR(TIMER2_OVF_vect) { // cbi(PORTD,program_exec_time); //Clear the pin sbi(PORTD,ISR_exec_time); // Sets the pin phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; //Adds tuning M word to previoud phase accumulator. refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. current_count=phase_accumulator >> 24; // use upper 8 bits of phase_accumulator as frequency information OCR2A=pgm_read_byte_near(sine256 + current_count); // read value fron ROM sine table and send to PWM OCR2B=pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_1)); // read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM1 OCR1A = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 // OCR1B = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 //increment variable ms4_delay every 4mS/125 = milliseconds 32uS if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count }

มอเตอร์เครื่องสีข้าว

มอเตอร์เครื่องสีข้าว


รุ่นใหม่จะเป็น Arduino uno /Atmega 328 ครับ
การต่อ MC3PHACกับ PS21244 ครับhttps://www..com/watch?v=YeCJuUyvpAU
https://www..com/watch?v=yXZhTqUhXqA
https://www..com/watch?v=HMW1gXBmODY
https://www..com/watch?v=yXZhTqUhXqA
https://www..com/watch?v=XU0OAdMAVmg
https://www..com/watch?v=mK8L5_UdIgc
https://www..com/watch?v=sLlNAc23zTI
https://www..com/watch?v=0qPRw7h9kg4

วันอาทิตย์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้ากราบขอบพระคุณ และอนุโมทนา ท่านอาจารย์ มากครับที่กรุณา ให้โอกาส บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. ผู้สละโลกและพระอานนท์พระพุทธอนุชา เป็นผลของของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ ผลงานของ ให้เสียงบรรยายโดย ท่านมนัส ทองเพชรนิล ในความอุปถัมภ์ของ พระราชพิพัฒนาทร ถาวร จิตตถาวโร จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะ ก็คือ ภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลย ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล เกิดแล้วดับๆ ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับ จิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณ ญาณแปลว่าปัญญา สังขารุเบกขา ก็คือ มีอุเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่ว ทั้งสุขทั้งทุกข์ จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบ ทางสายเดียวที่ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้น https://www.youtube.com/watch?v=jV3fo... รวมพระธรรมคำสั่งสอนของพระอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้าจากคาถาธรรมบทครับ http://www.youtube.com/watch?v=wPFnYA... สัมมาสมาธิที่พระพุทธเจ้าทรงสอน http://www.youtube.com/watch?v=sMGW0d... เศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้วทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตว์โลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถปิณฑิกเศรษฐีว่าเป็นผู้ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมคือดำเนินกลับไปกลับมาอยู่ ณ บริเวณที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า

ช้าก่อนไม่พึงด่วนทำกาละแปลว่าอย่าพึ่งตายยังไม่ถึงเวลา..ช้าก่อนไม่พึงด่วนทำกาละแปลว่าอย่าพึ่งตายยังไม่ถึงเวลา อกุศลเล็กๆน้อยๆนะ เราก็ต้องรู้ทัน อย่าไปเชื่อมัน อย่าไปตามใจมัน กุศลแม้แต่เล็กแต่น้อยนะ เราก็ต้องคอยดูแลรักษามัน คอยดูมันไป มีสติ พัฒนามันขึ้นไปเรื่อยๆ จิตใจเข้าไปคลุกคลี พัวพันอยู่กับอารมณ์ต่างๆ คอยรู้ทันจนมันถอดถอนออกมา มันเข้าถึงความผ่องแผ้วของมัน นี่คือละชั่วทำดีทำจิตผ่องแผ้ว มีศีลมีสมาธิมีปัญญา ค่อยๆพัฒนาไปนะ ค่อยฝึกของเราทุกวันๆ ครูบาอาจารย์ก็อยู่ไกล เราไหว้พระสวดมนต์ เราตามรู้ตามดูของเราไป บางทีธรรมะจะถ่ายทอดออกจากใจของเราเอง หรือบางคนมีภาพประกอบ บางคนมีเสียง เห็นพระพุทธเจ้าไปบอกบ้าง เลยคิดว่าพระพุทธเจ้ามาจริงๆ นะ จริงๆ จิตนั่นเองมันถ่ายทอดธรรมะออกมา จิตใจโน้มเอียงที่จะอยู่กับธรรมะ เวลาติดขัดขึ้นมาจิตจะสอนธรรมะได้ เป็นเรื่องแปลกนะ ค่อยๆ ดู ท้าให้พิสูจน์นะ ไม่ได้ชวนให้เชื่อ ลองภาวนาดู เอาซีดี เอาหนังสือหลวงพ่อไป ไปฟังไปอ่าน แจกให้ฟรีนะ ไปฟังไปอ่านแล้วค่อยๆ สังเกตจิตใจของเราไป

โปรดรอก่อนสัญญาเวทยิตกถา สกวาที // สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นโลกุตตระ หรือ? ปรวที // ถูกแล้ว สกวาที // เป็นมรรค เป็นผล เป็นนิพพาน เป็นโสดาปัตติมรรค เป็นโสดาปัตติผล ฯลฯ เป็นโพชฌงค์ หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปรวาที // ไม่พึงกล่าวว่า สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นโลกุตตระ หรือ? สกวาที // ถูกแล้ว ปรวาที // เป็นโลกิยะ หรือ? สกวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปรวาที // ถ้าอย่างนั้น ก็เป็นโลกุตตระ น่ะสิ สัญญาเวทยิตกถา ที่ ๒ สกวาที // สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นโลกิยะ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // เป็นรูป หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // เป็นเวทนา ฯลฯ เป็นสัญญา ฯลฯ เป็นสังขาร ฯลฯ เป็นวิญญาณ หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // เป็นกามาวจร หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // เป็นรูปาวจร หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // เป็นอรูปาวจร หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปรวาที // ไม่พึงกล่าวว่า สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นโลกิยะ หรือ? สกวาที // ถูกแล้ว ปรวาที // เป็นโลกุตตระ หรือ? สกวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปรวาที // ถ้าอย่างนั้น ก็เป็นโลกิยะ น่ะสิ สัญญาเวทยิตกถา ที่ ๓ สกวาที // บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ พึงกระทำกาละ (ตาย) หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // ผัสสะอันเกิดในสมัยมีความตายเป็นที่สุด เวทนาอันเกิดในสมัยมีความ ตายเป็นที่สุด สัญญาอันเกิดในสมัยมีความตายเป็นที่สุด เจตนาอันเกิด ในสมัยมีความตายเป็นที่สุด จิตอันเกิดในสมัยมีความตายเป็นที่สุด ของบุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ มีอยู่หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต อันเกิดในสมัยมีความตายเป็นที่สุด ของบุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่มีหรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // หากว่า ผัสสะ สัญญา เจตนา จิต อันเกิดในสมัยมีความตายเป็นที่สุด ของบุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่มี ก็ต้องไม่กล่าวว่า บุคคลผู้เข้า สัญญาเวทยิตนิโรธ พึงทำกาละ ดังนี้ สกวาที // บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ พึงทำกาละ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต ของบุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ มี อยู่หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต ของบุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่มี หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // บุคคลผู้ไม่มีผัสสะ มีการทำกาละ บุคคลผู้ไม่มีเวทนา มีการทำกาละ ฯลฯ บุคคลผู้ไม่มีจิต มีการทำกาละ หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // บุคคลผู้มีผัสสะ มีการทำกาละ ฯลฯ บุคคลผู้มีจิต มีการทำกาละ มิใช่ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // หากว่า บุคคลผู้มีผัสสะ มีการทำกาละ ฯลฯ บุคคลผู้มีจิต มีการทำกาละ ก็ต้องไม่กล่าวว่า บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ พึงทำกาละดังนี้ สกวาที // บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ พึงทำกาละ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // ยาพิษพึงเข้าไป ศาตราพึงเข้าไป ไฟพึงเข้าไป ในกายของบุคคลผู้เข้า สัญญาเวทยิตนิโรธ หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // ยาพิษไม่พึงเข้าไป ศาตราไม่พึงเข้าไป ไฟไม่พึงเข้าไป ในกายของบุคคล ผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // หากว่า ยาพิษไม่พึงเข้าไป ศาตราไม่พึงเข้าไป ไฟไม่พึงเข้าไป ในกาย ของบุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ก็ต้องไม่กล่าวว่า บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ พึงทำกาละ สกวาที // บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ พึงทำกาละ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // ยาพิษพึงเข้าไป ศาตราพึงเข้าไป ไฟพึงเข้าไป ในกายของบุคคลผู้เข้า สัญญาเวทยิตนิโรธ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // มิได้เข้านิโรธ หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปรวาที // บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่พึงทำกาละ หรือ? สกวาที // ถูกแล้ว ปรวาที // นิยามอันเป็นเหตุนิยมว่า บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่พึงทำกาละ มีอยู่หรือ? สกวาที // ไม่มี ปรวาที // หากว่า นิยามอันเป็นเหตุนิยมว่า บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่พึง ทำกาละ ไม่มี ก็ต้องไม่กล่าวว่า บุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่พึง ทำกาละ สกวาที // บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ ไม่พึงทำกาละ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // นิยามอันเป็นเหตุนิยมว่า บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ ไม่พึงทำ กาละ มีอยู่หรือ? ปรวาที // ไม่มี สกวาที // หากว่า นิยามอันเป็นเหตุนิยมว่า บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ ไม่พึงทำกาละ ไม่มี ก็ต้องไม่กล่าวว่า บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจักขุวิญญาณ ไม่พึงทำกาละ อสัญญสัตตูปิกากถา สกวาที // สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นเหตุให้เข้าถึงภพแห่งอสัญญสัตว์ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // กุศลมูลคืออโลภะ กุศลมูลคืออโทสะ กุศลมูลคืออโมหะ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ของบุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ มีอยู่หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // กุศลมูลคืออโลภะ กุศลมูลคืออโทสะ ฯลฯ ปัญญาของบุคคลผู้เข้า สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ไม่มีหรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // หากว่า กุศลมูลคืออโลภะ กุศลมูลคืออโทสะ กุศลมูลคืออโมหะ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ของบุคคลผู้เข้าสัญญเวทยิตนิโรธ ไม่มี ก็ต้องไม่กล่าวว่า สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นเหตุให้เข้าถึง ภพแห่งอสัญญสัตว์ สกวาที // สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นเหตุให้เข้าถึงภพแห่งอสัญญสัตว์ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต ของบุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ มีอยู่หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต ของบุคคลผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่มีหรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // บุคคลผู้ไม่มีผัสสะก็มีการเจริญมรรคได้ ฯลฯ บุคคลผู้ไม่มีจิต ก็มีการเจริญ มรรคได้ หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สกวาที // บุคคลผู้มีผัสสะ มีการเจริญมรรคได้ ฯลฯ บุคคลมีจิต มีการเจริญมรรคได้ มิใช่หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // หากว่า บุคคลผู้มีผัสสะ มีการเจริญมรรคได้ ฯลฯ บุคคลผู้มีจิต มีการ เจริญมรรคได้ ก็ต้องไม่กล่าวว่า สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นเหตุให้ เข้าถึงภพแห่งอสัญญสัตว์ สกวาที // สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นเหตุให้เข้าถึงภพแห่งอสัญญสัตว์ หรือ? ปรวาที // ถูกแล้ว สกวาที // ชนเหล่าหนึ่งเหล่าใด เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ชนเหล่านั้นทั้งหมด เป็น ผู้เข้าถึงภพแห่งอสัญญสัตว์ หรือ? ปรวาที // ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปรวาที // ไม่พึงกล่าวว่า สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นเหตุให้เข้าถึงภพแห่ง อสัญญสัตว์ หรือ? สกวาที // ถูกแล้ว ปรวาที // แม้ในนิโรธสมาบัตินี้ ผู้เข้าก็ไม่มีสัญญา แม้ในภพแห่งอสัญญสัตว์นั้น ผู้เข้าถึงก็ไม่มีสัญญา มิใช่หรือ? สกวาที // ถูกแล้ว ปรวาที // หากว่า แม้ในนิโรธสมาบัตินี้ ผู้เข้าก็ไม่มีสัญญา แม้ในภพแห่งอสัตว์ นั้น ผู้เข้าถึงก็ไม่มีสัญญา ด้วยเหตุนั้นนะท่านจึงต้องกล่าวว่าสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นเหตุให้เข้าถึงภพแห่งอสัญญสัตว์

การปล่อยวาง ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยวจาริกไปยังเจดีย์ (สังเวชนียสถาน) มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์

การปล่อยวางก้อนทุกข์ที่กลางอก พร้อมทั้งสลัดทิ้งธรรมชาติรู้ที่ตั้งอยู่เบื...

ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยวจาริกไปยังเจดีย์ สังเวชนียสถาน มีจิตเลื่อมใส... ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยวจาริกไปยังเจดีย์ (สังเวชนียสถาน) มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์

คิดทุกวัน ฝันทุกคืน สาวกบารมีญาณ จิตเดิมแท้ พุทธสาวกกราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ ที่ให้โอกาส หลวงพ่อได้รับทราบถึงความห่วงใยและความปรารถนาดีของทุกคนแล้ว ขออนุโมทนากับทุกคนสำหรับคำอวยพรทั้งปวง หลวงพ่อเริ่มอาพาธครั้งนี้ตั้งแต่ช่วงสงกรานต์ มีอาการเหนื่อยหอบ ไอ และต่อมน้ำเหลืองโต จึงได้เข้ารับการตรวจอาการเบื้องต้นในโรงพยาบาลในย่านพัทยา ถัดจากนั้นจึงเดินทางเข้ามาตรวจรักษาในโรงพยาบาลของรัฐในกรุงเทพ ผลการตรวจชิ้นเนื้อออกมาเมื่อวานนี้ (31 พฤษภาคม 2559) สรุปได้ว่าเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง จำเป็นจะต้องรักษาตัวนานราว 8 เดือน ระหว่างนี้ภูมิต้านทานจะต่ำมาก แพทย์ผู้ดูแลจึงแนะนำให้งดการแสดงธรรมทั้งที่วัดและนอกสถานที่ รวมทั้งไม่ต้องการให้มีการเยี่ยมไข้เพราะเป็นผลเสียต่อหลวงพ่อมากกว่าผลดี หลวงพ่อตรากตรำทำงานเผยแผ่มานานแล้ว ช่วงนี้ต้องขอลาป่วยชั่วคราว ระหว่างนี้ขอให้ทุกคนตั้งใจภาวนาเพราะโลกนี้หาความแน่นอนใดๆ ไม่ได้เลย ไม่ต้องกังวลว่าจะภาวนาไม่ได้ เพราะหลวงพ่อได้ถ่ายทอดธรรมะภาคปฏิบัติไว้ครบถ้วนแล้ว ให้ใช้โยนิโสมนสิการคือความแยบคายในการสังเกตการปฏิบัติของตนให้มาก ว่าถูกตรงตามคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือไม่ ถ้าติดขัดจริงๆ ก็ให้ปรึกษาบุคคลที่หลวงพ่อมอบหมายให้ช่วยสอนได้ อย่าฉวยโอกาสที่หลวงพ่ออาพาธไปเที่ยวเถลไถลหรือขี้เกียจปฏิบัติก็แล้วกัน หลวงพ่อไม่ได้ต้องการสิ่งใดจากพวกเรา นอกจากให้พวกเราขยันภาวนาเพื่อผ่อนคลายความทุกข์ของตนเอง และเพื่อช่วยกันรักษาสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป ถ้าคิดถึงหลวงพ่อ ก็ขอให้คิดถึงธรรม พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน

คิดทุกวัน ฝันทุกคืน สาวกบารมีญาณ จิตเดิมแท้ พุทธสาวกกราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ ที่ให้โอกาส หลวงพ่อได้รับทราบถึงความห่วงใยและความปรารถนาดีของทุกคนแล้ว ขออนุโมทนากับทุกคนสำหรับคำอวยพรทั้งปวง หลวงพ่อเริ่มอาพาธครั้งนี้ตั้งแต่ช่วงสงกรานต์ มีอาการเหนื่อยหอบ ไอ และต่อมน้ำเหลืองโต จึงได้เข้ารับการตรวจอาการเบื้องต้นในโรงพยาบาลในย่านพัทยา ถัดจากนั้นจึงเดินทางเข้ามาตรวจรักษาในโรงพยาบาลของรัฐในกรุงเทพ ผลการตรวจชิ้นเนื้อออกมาเมื่อวานนี้ (31 พฤษภาคม 2559) สรุปได้ว่าเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลือง จำเป็นจะต้องรักษาตัวนานราว 8 เดือน ระหว่างนี้ภูมิต้านทานจะต่ำมาก แพทย์ผู้ดูแลจึงแนะนำให้งดการแสดงธรรมทั้งที่วัดและนอกสถานที่ รวมทั้งไม่ต้องการให้มีการเยี่ยมไข้เพราะเป็นผลเสียต่อหลวงพ่อมากกว่าผลดี หลวงพ่อตรากตรำทำงานเผยแผ่มานานแล้ว ช่วงนี้ต้องขอลาป่วยชั่วคราว ระหว่างนี้ขอให้ทุกคนตั้งใจภาวนาเพราะโลกนี้หาความแน่นอนใดๆ ไม่ได้เลย ไม่ต้องกังวลว่าจะภาวนาไม่ได้ เพราะหลวงพ่อได้ถ่ายทอดธรรมะภาคปฏิบัติไว้ครบถ้วนแล้ว ให้ใช้โยนิโสมนสิการคือความแยบคายในการสังเกตการปฏิบัติของตนให้มาก ว่าถูกตรงตามคำสอนของพระพุทธเจ้าหรือไม่ ถ้าติดขัดจริงๆ ก็ให้ปรึกษาบุคคลที่หลวงพ่อมอบหมายให้ช่วยสอนได้ อย่าฉวยโอกาสที่หลวงพ่ออาพาธไปเที่ยวเถลไถลหรือขี้เกียจปฏิบัติก็แล้วกัน หลวงพ่อไม่ได้ต้องการสิ่งใดจากพวกเรา นอกจากให้พวกเราขยันภาวนาเพื่อผ่อนคลายความทุกข์ของตนเอง และเพื่อช่วยกันรักษาสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป ถ้าคิดถึงหลวงพ่อ ก็ขอให้คิดถึงธรรม พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน

คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย สามเณรอธิมุตต์ตอบว่า “ดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยในชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายในปัจจุบันมิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษไม่กลัวความหนักเพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มีความกลัวตายเหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไปแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้วแม้มรรคเราก็อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่งแห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดีเพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้วจากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศกในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลกนี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่งทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้นเหมือนดังที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไรๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มีความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจากไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็นตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคลพิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อนั้นบุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้าโศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้องการด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกายอื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของเราก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ในร่างกายนั้นจักไม่มีแก่เราเพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำกิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น” โจรทั้งหลายได้ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพากันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้เพราะท่านได้ทำกรรมอะไรไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่งสอนของใคร” สามเณรอธิมุตต์ตอบว่า “พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะหมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอันยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์” พวกโจรฟังคำอันเป็นสุภาษิตของท่านแล้วพากันวางอาวุธ บางพวกก็เลิกเป็นโจร บางพวกก็ขอบวช ครั้นบวชแล้วไม่นานก็บรรลุเป็นพระอรหันต์ นี่คือผู้ที่เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า เมื่อได้ปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว แม้ความตายก็ทำให้จิตใจของท่านเป็นทุกข์ไม่ได้

การปล่อยวางก้อนทุกข์ที่กลางอก พร้อมทั้งสลัดทิ้งธรรมชาติรู้ที่ตั้งอยู่เบื...

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

วิปัสสนา

จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือป...สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ

วันนี้ ไม่รู้จะทำยังไงดี ทำไม่ได้สักทีโดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ตัวนี้เองที่ว่าเราจะต้องฝึกจิตของเรา จะต้องฝึกจนจิคมันตั้งมั่น มีเอโกทิภาวะอยู่ มีความตั้งมั่น ฉะนั้นพอมันวางอารมณ์รูปนามนี้ปุ๊บ มันจะหนีไปหาอารมณ์บัญญัติแทน ฉะนั้นใจเราต้องฝึกจนมีเอโกทิภาวะ พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติ เพราะถ้าเจือด้วยความจงใจแม้แต่นิดเดียว มรรคผลจะเกิดไม่ได้ ตรงที่มันดับกระแสของโลกิยะลงไป อนุโลมญาณดับกระแสของโลกิยะลงไปแล้ว มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้เอง ไม่จับโลกียะ แต่ยังไม่เข้าถึงโลกุตตระเป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวงหนึ่ง พอทวนเข้าถึงอริยมรรค ตัวมรรคนี้เป็นชาติกุศล แต่ตัวผลเป็นชาติวิบาก พอมันทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้ อริยมรรคจะแหวกสิ่งที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จะแหวกแวบออกไป ขาดวาบออกไปอย่างเนียนๆ จิตที่ไม่มีอะไรห่อหุ้มจะเป็นอิสระขึ้นมาชั่วคราว สองสามขณะ ความไม่มีอะไร มีแต่ความสุขล้วนๆ แต่พอเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้งยังจำไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯทวนไปถึงนิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรากฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ของเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีก สำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไปจะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคลุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว

วันนี้ ไม่รู้จะทำยังไงดี ทำไม่ได้สักทีโดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ตัวนี้เองที่ว่าเราจะต้องฝึกจิตของเรา จะต้องฝึกจนจิคมันตั้งมั่น มีเอโกทิภาวะอยู่ มีความตั้งมั่น ฉะนั้นพอมันวางอารมณ์รูปนามนี้ปุ๊บ มันจะหนีไปหาอารมณ์บัญญัติแทน ฉะนั้นใจเราต้องฝึกจนมีเอโกทิภาวะ พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติ เพราะถ้าเจือด้วยความจงใจแม้แต่นิดเดียว มรรคผลจะเกิดไม่ได้ ตรงที่มันดับกระแสของโลกิยะลงไป อนุโลมญาณดับกระแสของโลกิยะลงไปแล้ว มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้เอง ไม่จับโลกียะ แต่ยังไม่เข้าถึงโลกุตตระเป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวงหนึ่ง พอทวนเข้าถึงอริยมรรค ตัวมรรคนี้เป็นชาติกุศล แต่ตัวผลเป็นชาติวิบาก พอมันทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้ อริยมรรคจะแหวกสิ่งที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จะแหวกแวบออกไป ขาดวาบออกไปอย่างเนียนๆ จิตที่ไม่มีอะไรห่อหุ้มจะเป็นอิสระขึ้นมาชั่วคราว สองสามขณะ ความไม่มีอะไร มีแต่ความสุขล้วนๆ แต่พอเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้งยังจำไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯทวนไปถึงนิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรากฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ของเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีก สำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไปจะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคลุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว

คำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าจิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ อย่าประมาทกิเลสนะ

คำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ อย่าประมาทกิเลสนะ

Three-phase asynchronous motor control with Arduino uno /Atmega 328Three-phase asynchronous motor control with Arduino uno /Atmega 328

วันเสาร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ใต้ร่มโพธิญาณการที่จะเจริญวิปัสสนาภาวนาได้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพยายามทำสมาธิให้ได้เสียก่อน หากทำสมาธิยังไม่ได้ ก็ไม่มีทางที่จะเกิดวิปัสสนาปัญญาขึ้น สมาธิจึงเป็นบันไดขั้นต้นที่ก้าวไปสู่การเจริญวิปัสสนาปัญญา เมื่อจิตของผู้ปฏิบัติตั้งมั่นในสมาธิจนมีกำลังดีแล้ว แม้แต่จะอยู่แค่เพียงอุปจารสมาธิ จิตของผู้ปฏิบัติก็ย่อมมีกำลังและอยู่ในสภาพที่นุ่มนวล ควรแก่การเจริญวิปัสสนาต่อไปได้ การทำสมาธิ โดยการกำหนดอิริยาบถทางกายทั้ง 4 ได้แก่ การยืน การเดินจงกรม การนั่ง ( พองยุบ,พุทโธ ฯลฯ) การนอน โดยใช้สติ-สัมปชัญญะ ตามดู รู้ทัน จิต ให้อยู่กับอิริยาบถที่ กาย ทำอยู่ในปัจจุบันนั้น เมื่อ จิต แวบออกไปจากอิริยาบถนั้น ก็ กำหนดรู้ ตามอารมณ์ ที่ จิตไปรับรู้ แล้ว กลับมาอยู่ที่อิริยาบถที่ กาย ทำอยู่ในปัจจุบันนั้นต่อไป เมื่อทำเช่นนี้ได้เป็น สิบ, ร้อย, พัน, หมื่นๆ ครั้ง จิตจะเริ่มละจากอารมณ์ที่ไปเกาะยึดภายนอก กลับมารวมตัวกันทำให้มีกำลังและความละเอียดเพิ่มมากขึ้น เกิดเป็น สมาธิ กำลังสมาธิที่ได้ เราสามารถเลือกดำเนินไปในแนวทาง สมถภาวนา คือ การทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียวนิ่งอยู่เช่นนั้น โดยใช้กรรมฐาน ๔๐ เป็นอารมณ์ ซึ่งผู้ปฏิบัติอาจจะใช้กรรมฐานบทใดบทหนี่ง ที่ถูกแก่จริตนิสัยของตนก็ย่อมได้ หรือ ดำเนินจิตเข้าสู่วิปัสสนาภาวนา โดยมีขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์ เรียกสั้น ๆ ว่า มีแต่รูปกับนาม สิ่งที่เป็นอารมณ์ของวิปัสสนานั้น มีแต่เพียงอย่างเดียวคือ "ขันธ์ ๕" (ที่ตั้งแห่งความยึดมั่นถือมั่น 5 อย่าง) ซึ่งนิยมเรียกกันว่า "รูป - นาม" โดย รูป มี ๑ ส่วน นาม นั้นมี ๔ คือ เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ในที่นี้ เป็นแนวทางดำเนินจิตเข้าสู่วิปัสสนาภาวนา เมื่อเรากำหนดรู้ทันจิตที่แวบออกไปคิด (ไปยึดติด-ปรุงแต่ง) เรื่องอื่นใด(อารมณ์ใด) นั้น จิตก็เหมือนถูกปลุกให้ตื่นจากที่ไปยึดหรือปรุงแต่งความคิดนั้น เมื่อไม่ไปยึดไว้ เรื่องที่คิดหรืออารมณ์นั้นๆ ก็จะจางหายไปเอง คือ เมื่อ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ก็ดับไป ตามกฎไตรลักษณ์ นี่คือ วิปัสสนาภาวนาอย่างง่าย นั้นคือ การตามดู-รู้อารมณ์ –ละอารมณ์ของตนเองก่อน เมื่อละอารมณ์นั้นแล้ว ก็กลับมาทำสมาธิต่อไปโดยใช้สติ-สัมปชัญญะ ตามดู รู้ทัน จิต ให้อยู่กับอิริยาบถที่ กาย ทำอยู่ในปัจจุบันนั้น และทุกครั้งที่ จิต แวบออกไปจากอิริยาบถนั้น ก็ กำหนดรู้ ตามอารมณ์ ที่ จิตไปรับรู้ แล้วละอารมณ์โดยเห็นตามจริงตามกฎไตรลักษณ์ เมื่อละอารมณ์นั้นแล้ว ก็กลับมาทำสมาธิต่อไป ทำเช่นนี้ต่อเนื่องหมุนเวียนกันไป จิตก็จะมีสมาธิและความละเอียดยิ่งขึ้นไปตามลำดับ สามารถกำหนดรู้อารมณ์นั้น ว่าเป็นนิวรณ์ธรรมใด (ความพอใจ , ฟุ้งซ่าน, …) เป็นอุปาทานใด (ธรรมารมณ์, ทิฐิ,…) เมื่อละอารมณ์นั้นแล้ว ก็กลับมาทำสมาธิต่อไป ทำเช่นนี้ต่อเนื่องหมุนเวียนกันไป เมื่อจิตได้รับการสอน รู้และละอารมณ์ จนสามารถแยกแยะอารมณ์ระหว่างจิตที่เป็นอิสระ กับ จิตที่เข้าไปยึดมั่นในรูป-นาม (จิตที่ทุรนทุราย เศร้าหมอง จิตที่ เป็นทุกข์) จะช่วยให้สามารถละวาง ด้วยความรู้ตามจริงตามหลักพระไตรลักษณ์ ได้ดีขึ้น จิตที่มีกำลัง ว่องไว ชำนาญจะสามารถแยกแยะ รูป-นาม ที่ผัสสะผ่านทางอายตนะทั้ง 6 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) เห็นกระบวนการเกิดซึ่งอารมณ์เหล่านั้น การชักนำโดย โลภะ โทสะ โมหะ การเจริญวิปัสสนาก็โดยมีจิตพิจารณาจนรู้แจ้งเห็นจริงว่า อันสภาวธรรมทั้งหลายอันได้แก่ขันธ์ ๕ นั้นล้วนแต่มีอาการเป็น พระไตรลักษณ์ คือ เป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา เกิดนิพพิทาญาณ คือ ญาณเห็นด้วยปัญญาถึงความไร้สาระและเกิดความหน่ายต่อการปรุงแต่งทั้งหลาย (ไม่ใช่อารมณ์เบื่อ ไม่พอใจ ของคนขี้เกียจ เซ็ง) การเจริญสมาธิและวิปัสสนาควบคู่ต่อเนื่องกันไปตามที่กล่าวข้างต้นแล้วนั้น เป็นไปตามหลัก "สมาธิอบรมปัญญา" และ "ปัญญาอบรมสมาธิ" เมื่อใดที่จิตยอมรับสภาพความเป็นจริงว่าเป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาจริง เรียกว่า จิตตกระแสธรรมตัดกิเลสได้ ปัญญาที่จะเห็นสภาพความเป็นจริงดังกล่าว ไม่ใช่แต่เพียงปัญญาที่จะนึกคิดและคาดหมายเอาเท่านั้น แต่เป็นการแจ้งในจิต ที่พระท่านเรียกว่า "ญาณทัสสนะ" เห็นเป็นเช่นนั้นจริง ๆ ซึ่งจิตที่ได้ผ่านการอบรมสมาธิมาจนมีกำลังดีแล้ว ย่อมมีพลังให้เกิดญาณทัสสนะหรือปัญญาที่รู้แจ้งเห็นจริงดังกล่าวได้ เรียกกันว่า "สมาธิอบรมปัญญา" คือสมาธิทำให้วิปัสสนาญาณเกิดขึ้น และเมื่อวิปัสสนาญาณเกิดขึ้นแล้ว ย่อมถ่ายถอนกิเลสให้เบาบางลง จิตก็ย่อมจะเบาและใสสะอาดบางจากกิเลสทั้งหลายไปตามลำดับ สมาธิจิตก็จะยิ่งก้าวหน้าและตั้งมั่นมากยิ่ง ๆ ขึ้นไปอีก เรียกว่า "ปัญญาอบรมสมาธิ" ทั้งสมาธิและวิปัสสนาจึงเป็นทั้งเหตุและผลของกันและกันและอุปการะซึ่งกันและกันจะมีวิปัสสนาปัญญาเกิดขึ้นโดยขาดกำลังสมาธิสนับสนุนมิได้เลย อย่างน้อยที่สุดก็จะต้องใช้กำลังของขณิกสมาธิเป็นบาทฐานในระยะแรกเริ่ม สมาธิจึงเปรียบเสมือนกับหินลับมีด ส่วนวิปัสสนานั้นเหมือนกับมีดที่ได้ลับกับหินคมดีแล้ว ก็ย่อมมีอำนาจถากถางตัดฟันบรรดากิเลสทั้งหลายให้ขาดและพังลงได้ การดำเนินจิตเข้าสู่ วิปัสสนาภาวนา ในทางปฏิบัตินั้น คือ การนำสมาธิที่ได้จากการเจริญสติ-สัมปชัญญะ ดังกล่าวมาตามดู-รู้อารมณ์ ตนเอง กำหนดรู้ แล้วละวาง ด้วยความรู้ตามจริงตามหลักพระไตรลักษณ์ คือ เป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา ไม่มีสิ่งใดทนทานหรือตั้งอยู่ได้ มีความเสื่อมสลายและดับไปเป็นธรรมดา ทำให้เกิดความหน่าย (นิพพิทาญาณ) คลายความยึดมั่น ถือมั่นในอารมณ์นั้น หากกำลังสมาธิและวิปัสสนาญาณยังอ่อน ก็จะเห็นในรูป นิวรณ์ธรรม เราก็กำหนดรู้ แล้วละวางมาสู่อิริยาบถในปัจจุบัน เมื่อเรากำหนดรู้ทัน ว่าสิ่งที่เกิดเหล่านั้นเป็นอนิจจัง คือ ถ้าเราไม่ไปยึดหรือคิดฟุ้งซ่าน เมื่อเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ก็ดับไปเอง การฝึกหัดเช่นนี้ทำให้เกิดความชำนาญในการรู้และละอารมณ์ เป็นญาณทัสสนะเบื้องต้นในการรู้ตามจริง การทำสมาธิและดำเนินจิตสู่วิปัสสนา (ภาคขยาย) อารมณ์ที่รู้ในเบื้องต้น เหตุเพราะสมาธิยังไม่มากพอ จะกำหนดรู้ได้เป็นเพียงนิวรณ์ธรรม, เป็นความนึกคิดที่ปรุงสำเร็จแล้ว, เป็นธรรมารมณ์……. ต่อเมื่อสมาธิจิตเริ่มมีกำลังและก้าวหน้า ก็พอจะกำหนดรู้ว่าความนึกคิดที่ปรุงสำเร็จแล้วนั้นเกิดจากอะไร? เป็นชนิดไหน? เช่น มานะ , ทิฐิ มีตัณหาช่วยให้มีรสชาติถูกจริตตามอุปาทานที่มีอยู่ มีโลภะ โทสะ โมหะ ชักจูงไปให้เกิดการปรุงนั้น อนึ่ง มานะ ทิฐิ ที่เกิดขึ้นนั้น มีเหตุอันเกิดจากความยึดมั่น ถือมั่น ยินดีพอใจ ในกองรูป(กาย)ของตนเอง จึงได้เกิดกิเลสดังกล่าวขึ้น การพิจารณาละกิเลสก็จะต้องพิจารณาละที่กายนี้เอง การพิจารณากาย ก็คือให้มีจิตใคร่ครวญให้เห็นตามสภาพความเป็นจริงที่ว่า อันร่างกายของคนเราแท้ที่จริงแล้วก็เป็นของปฏิกูล สกปรกโสโครก เป็นที่รวมฝังซากศพของบรรดาพืชและสัตว์ที่บริโภคเข้าไป ที่ขับถ่ายออกมาจากทวารทั้งหลายก็เป็นของที่สกปรกโสโครก นอกจากนั้นควรมีจิตใคร่ครวญถึงธาตุกรรมฐาน โดยพึงพิจารณาแยกให้เห็นความเป็นจริงที่ว่า อันที่จริงร่างกายของเราเองก็ดี ของผู้อื่นก็ดี ไม่ใช่ตัวเราของเราแต่อย่างใดเลย เป็นแต่เพียงธาตุ ๔ มาประชุม เกาะกุมรวมกันเพียงชั่วคราวเท่านั้นเอง ได้แก่ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม และธาตุไฟ แล้วสิ่งเหล่านี้ก็ทนอยู่ในสภาพที่รวมกันเช่นนั้นไม่ได้ นานไปก็เก่าแก่แล้วแตกสลายตายไป ธาตุน้ำก็กลับไปสู่ความเป็นน้ำ ธาตุดินก็กลับไปสู่ความเป็นดิน ธาตุลมก็กลับไปสู่ความเป็นลม และธาตุไฟก็กลับไปสู่ความเป็นไฟตามเดิม เนื้อตัวร่างกายของเรา เมื่อได้แยกส่วนออกมาดูแล้ว ก็มิได้มีตัวตนที่ตรงไหนแต่อย่างใด เมื่อมีความคล่องแคล่วและละเอียด มากขึ้น ก็จะสามารถแยกแยะ รูป-นาม ที่ผัสสะผ่านทางอายตนะทั้ง 6 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) จนเห็นกระบวนการเกิดของภพ ชาติ เริ่มจากอุปาทานเก่า ชักนำโดย โลภะ โทสะ โมหะ เกิดนึกคิดปรุงแต่ง (กิเลสปรุงจิต) หากเราไม่รู้เท่าทัน ในเวทนา ในตัณหา ความเพลินนั้น (จิตปรุงกิเลส-ธรรมารมณ์ที่ยินดีพอใจ) ก็จะเกิดอุปาทานใหม่ ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท เป็นการที่จิตเข้าไปยึดมั่นถือมั่นใน รูป-นาม เกิดความทุกข์ให้จิตต้องดิ้นรน ทุรนทุราย ด้วย ตัณหา ไปตามอุปาทานนั้น การแยกแยะอารมณ์ระหว่างจิตที่เป็นอิสระ กับ จิตที่เข้าไปยึดมั่นในรูป-นาม ซึ่งทำให้จิตต้องดิ้นรน ทุรนทุราย ทำให้รู้จักทุกข์ จะช่วยให้สามารถละวาง ด้วยความรู้ตามจริงตามหลักพระไตรลักษณ์ ได้ดีขึ้น ความก้าวหน้าของจิตที่ได้รับการอบรมมาดีแล้ว ทำให้เกิดวิปัสสนาญาณ จะทำให้การกำหนดรู้ มีความเท่าทันในเหตุมากขึ้น เช่น กำหนดรู้ได้ ตั้งแต่อายตนะภายใน ผัสสะกับ อายตนะภายนอก, ก่อนเกิดเวทนา, ก่อนเกิดโลภะ….ยังไม่นึกคิด….หรือเมื่อเริ่มนึกคิด… ไม่ไหลไปจนเป็นความนึกคิดที่ปรุงสำเร็จแล้ว(สังขารธรรม) ทั้งนี้การเท่าทันในเหตุ และละได้ในขั้นตอนไหนขึ้นกับความตั้งมั่นของสมาธิ และ ความฉลาดของจิตที่ได้รับการอบรมเพื่อละความยึดมั่นถือมั่นในรูปนาม นั้นเอง การพิจารณากายก็ดี ความเป็นธาตุทั้ง 4 ก็ดี ตลอดจนการกำหนดรู้ทุกข์ และเท่าทันใน กระบวนการเกิด อุปาทานภพ ชาติ ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท จะทำให้เกิด นิพพิทาญาณ คือ ญาณเห็นด้วยปัญญาถึงความไร้สาระและเกิดความหน่ายต่อการปรุงแต่งทั้งหลาย ส่งผลให้จิตอยู่กับปัจจุบันได้ดีขึ้น การเจริญสมาธิและวิปัสสนาควบคู่กันไปนี้ ตามหลัก "สมาธิอบรมปัญญา" และ "ปัญญาอบรมสมาธิ" ดังกล่าวข้างต้น จะทำให้การดำเนินจิตเข้าสู่ วิปัสสนาภาวนา มีความรวดเร็วและความละเอียดอย่างยิ่ง เมื่อจิตมีสมาธิตั้งมั่น ถอดถอนกิเลสให้เบาบาง เกิดวิปัสสนาญาณแล้ว สามารถกำหนดรู้ทันจิต ตามธรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จะมีความว่องไวเท่าทันต่อกระบวนการเกิด ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท มีความละเอียดที่จะเห็นความยึดมั่นถือมั่นของจิตในอุปาทานเก่า(รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) เกิดผัสสะ เกิดเวทนา1(จากการกระทบของอายตนะภายใน-ภายนอกทั้ง 6)--> เกิดตัณหา ก่อเกิดอุปาทานใหม่ (ในขันธ์ทั้ง 5 นั้น) ดังพุทธดำรัสที่ว่า บุคคลเมื่อเสวย สุขเวทนา แล้วปล่อยให้ราคะนุสัยตามนอน เมื่อเสวยทุขเวทนา แล้วปล่อยให้ปฏิฆานุสัยตามนอน เมื่อเสวยอทุขมสุขเวทนา แล้วปล่อยให้ อวิชชานุสัยตามนอน แล้ว การกระทำให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์ ไม่อยู่ในฐานะที่สามารถกระทำได้ อนึ่ง ควรทราบว่า เวทนา ที่เกิดกับใจ ไม่ใช่กิเลส หากแต่ความไม่รู้ ไปยึดว่าเป็นเรา เป็นตัวตนของเรา ทำให้เกิดกิเลส แม้แต่เมื่อจิตแจ้งในไตรลักษณ์ ถอดถอนอุปาทานหยาบไปจนละเอียดขึ้นเรื่อยๆได้ ยกขึ้นสู่สภาวธรรมใหม่ จิตที่ผัสสะกับธรรมที่แจ้งนั้น ก็ยังเกิดเวทนา2 ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ได้อยู่ หากแต่เป็นเวทนาขันธ์ที่ละเอียดขึ้น ยิ่งผัสสะกับธรรมที่ละเอียดมากขึ้น ก็ยิ่งต้องอาศัยวิปัสสนาญาณอันแก่กล้ามากขึ้นเพื่อที่จะละวาง ตราบใดยังมีตัณหาในรูป-นามอยู่ เป็นเหตุที่ยังเป็นไปเพื่อการเกิดอยู่ ตราบใดที่ยังไม่รู้จักทุกข์ ยังไม่แจ้งในไตรลักษณ์อย่างแท้จริง จึงต้องเจริญวิปัสสนากรรมฐานเพื่อให้รู้จักทุกข์จนถึงที่สุด เพื่อการปล่อยวาง ไม่อาลัยในตัณหานั้น ทำให้ตัณหาจางคลายจนดับสนิท คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ คลายความยึดมั่น ถือมั่น ใน รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ขันธ์ 5) การดำเนินในมรรคมีองค์ 8 ทำความเพียรให้ถึงความหลุดพ้น เป็นการกระทำโดยทางสายกลาง เท่าทันสัญเจตนา [จากอนุสัยที่ก่อขึ้น เพี่อเป็นที่ตั้งแห่งวิญญาณ] ทำให้เราเห็น เหตุเกิด-ดับ แห่งโลก ตามความเป็นจริง หากยังดำเนินอยู่(เสขบุคคล) แต่ถ้าไม่เท่าทันในเจตนา ก็จะเห็นการก้าวลงแห่งนามรูป เป็นปัจจัยให้เกิดสฬายตนะ และอื่นๆ ต่อเนื่องจนถึงภพ ชาติฯลฯ เป็นเหตุเกิดของ "เรา"ในโลก ทางแก้จึงเป็นการดำเนินทางสายกลาง เพื่อให้เห็นการเกิด-ดับ ทั้งภายนอก/ภายใน เมื่อหลงไปปรุงแต่ง(สัญเจตนาในอายตนะทั้ง 6) ก็ รู้ในความหลงนั้น สติเปรียบเหมือนทำนบ-เครื่องกั้นให้เห็นตามความจริง ปัญญา เป็นเครื่องนำออกจากกระแสนั้น เมื่อนั้นเมื่อถูกกระทบ ก็สักแต่ว่ารู้ พ้นจากความปรุงแต่งว่า"มี" หรือ "ไม่มี" เพราะ จิต ไม่มี (ความยึดมั่นถือมั่น) คือ จิตหลุดพ้น ถึงความเป็นธรรมชาติ ดังพุทธดำรัส เรื่องสัมมาทิฏฐิ ตามลิ้งค์นี้ http://www.jaisabuy.com/images/1200824889/SamaTitti.pdf อนึ่ง ควรทราบว่า เมื่อการดำเนินในมรรคมีองค์ 8 ถึงการเจริญให้มาก โดยเป็นอัธยาศัยแล้ว สัมปชัญญะและสติ จะเท่าทันในธรรมที่มากระทบทางอายตนะมากขึ้นโดยลำดับ ซึ่งไม่ต้องกระทำเพื่อละวางอีก หากแต่กระทำเพื่อความรู้พร้อม เพราะการเจริญในมรรค เกิดความคล่องแคล่วชัดเจน จะกระทำด้วยความเป็นกลางมากขึ้นเรื่อยๆ จะเห็นสภาวะธรรมนั้นตามความเป็นจริง จะเห็นต่างจากที่เคยเห็น ไม่หลงในสิ่งที่เคยหลง สำหรับผู้ที่ยังดำเนินอยู่ ขณะทำความเพียรเมื่อ "มี" เราขี้นมา ก็จะเห็นว่าเป็นทุกข์ เห็นว่า ทุกข์นั้นเป็นเรื่องของโลก เกิด-ดับ ตามเหตุปัจจัย [ ทุกข์นั้น-โลกนั้นก็ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา โลกไม่มีในเรา-เราไม่มีในโลก] เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ฯลฯ ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ ทุกข์นั่นแหละ เมื่อบังเกิดขึ้น ย่อมบังเกิดขึ้น ทุกข์เมื่อดับย่อมดับ 1 เมื่อผัสสะเพื่อจะให้เกิดเวทนา-ตัณหา-อุปาทาน(ใหม่) (ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท), ก็ต้องอาศัยอุปาทาน(เก่า) ขันธ์5 เดิม(รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สัญญาขันธ์,สังขารขันธ์,วิญญาณขันธ์) เข้ามาเป็นปัจจัยปรุงแต่ง อันเนื่องจากความไม่รู้ของเรา (อวิชชา) 2 ธรรมที่เกิดโดยแท้จริงนั้น เหลือวิสัยที่จะบรรยายเป็นคำพูดได้ หากแต่เกิดรวดเร็วเป็นปัจจัยอาศัยกันและกัน เกินความสามารถของผู้เขียนที่จะบรรยายเป็นตัวอักษรได้ เชื่อว่าหากผู้ปฏิบัติท่านใดได้ถึงสภาวธรรมนี้แล้ว ก็คงไม่ต้องพึ่งหนังสือ หรือ ตำราใดๆ ผู้เขียนส่งท่านแต่เพียงเท่านี้ การรู้ถึงกระบวนการเหล่านี้ ทำให้เราเข้าใจในธรรม ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ไม่ว่าท่านจะบังเกิดขึ้นมาหรือไม่ ธรรมก็ตั้งอยู่เช่นนั้น เป็นการตั้งอยู่อย่างธรรมดา เป็นกฎตายตัวแห่งธรรมดา เป็นความที่เมื่อมีสิ่งนี้ๆ เป็นปัจจัย ย่อมมีสิ่งนี้ๆ เกิดขึ้น เมื่อปัจจัยดับลง สิ่งนั้นๆ ย่อมดับลง เป็นอิทัปปจยตา ช่วยให้เราเห็นเหตุ คือ ตัณหาได้ชัดเจน เมื่อแจ้งในเหตุแล้ว ก็ ควรละความรู้นี้เสีย (สัพเพ ธัมมา อนัตตา) เพื่อละเหตุ (คือตัณหา) นั้นต่อไป อย่าได้ยึดติดความยินดีพอใจ (ตัณหา) ในความรู้นั้น เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติ ท้ายนี้ขออนุโมทนาให้ท่านเจริญในธรรม สิ้นอาสวะทั้งปวงด้วยเทอญ การเห็นธรรมในลักษณะข้างต้น เป็นการเห็นตามความเป็นจริง ว่าสังขารทั้งหลายไม่เที่ยง (อนิจจัง) มีความแปรปรวน ไม่สามารถตั้งอยู่ได้(ทุขขัง) ทั้ง กาย ใจ แสดงอาการไตรลักษณะให้ปรากฏ ผู้ที่เห็นธรรมตามนี้ ย่อมไม่น้อมไปหา ย่อมไม่ไปยึดในรูป นาม สังขารนั้น เพราะ เห็นว่านั่นไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา(อนัตตา) เพราะเมื่อไร ที่ไม่รู้ตามธรรมข้างต้น หลงเข้าไปยึดมั่นในสิ่งที่ไม่เที่ยงเหล่านั้น ย่อมนำทุกข์ทางใจมาให้ หากเมื่อได้สดับรับฟังพุทธวจน์ และ เห็นว่า ตนเองมีอาการทุกข์ เนื่องจาก ไปยึดมั่นในสิ่งที่ไม่เที่ยงเหล่านั้น เมื่อละความพอใจในสิ่งนั้นได้ อาการไป-มาของจิต ย่อมไม่ปรากฏ เพราะเห็นเสียแล้วตามความเป็นจริง ขณะที่เห็นอริยสัจจ์ ถอดถอนความไม่รู้ ออกจากความหลง รูป นาม นั้น ก็แสดงอาการพระไตรลักษณ์ให้ปรากฏ จิตเดิมที่มีความไม่รู้ตามความจริง เมื่อสุดท้ายเห็นว่า แม้แต่ตัวมันเองก็แสดงอาการไตรลักษณะ ปัญญาจากการเห็น โดยไม่ยินดีในความรู้นั้น ทำให้จิตมีความรู้ตามความเป็นจริง จากการเห็นพระไตรลักษณ์ โดยตลอด ดับสนิทไม่เหลือของตัณหา เป็นอิสระจากสิ่งไม่จริง(สมมุติ)ที่เกิด-ดับ เหล่านั้น เป็น ผู้รู้ ผู้ตื่่น ผู้เบิกบาน เห็น โลกกลับเป็นของแปลก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สุดท้ายนี้ขอยกพระพุทธพจน์มาเพื่อความเข้าใจ ให้ถ่องแท้ ดังนี้ ผู้ไม่เข้าไปหา ย่อมหลุดพ้น ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น. ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอารูปตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย, มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้ ; ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาเวทนาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้, ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาสัญญาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้; ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาสังขารตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์. ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เราจักบัญญัติซึ่งการมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ของวิญญาณ โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร” ดังนี้นั้น, นี้ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย. ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว; เพราะละราคะได้ อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง; เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น; เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง; เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว; เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน. ย่อมรู้ชัดว่า “ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้วกิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้. ( -ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕. ) พุทธพจน์

วิธีเจริญวิปัสสนาด้วยอริยสัจสี่การที่จะเจริญวิปัสสนาภาวนาได้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพยายามทำสมาธิให้ได้เสียก่อน หากทำสมาธิยังไม่ได้ ก็ไม่มีทางที่จะเกิดวิปัสสนาปัญญาขึ้น สมาธิจึงเป็นบันไดขั้นต้นที่ก้าวไปสู่การเจริญวิปัสสนาปัญญา เมื่อจิตของผู้ปฏิบัติตั้งมั่นในสมาธิจนมีกำลังดีแล้ว แม้แต่จะอยู่แค่เพียงอุปจารสมาธิ จิตของผู้ปฏิบัติก็ย่อมมีกำลังและอยู่ในสภาพที่นุ่มนวล ควรแก่การเจริญวิปัสสนาต่อไปได้ การทำสมาธิ โดยการกำหนดอิริยาบถทางกายทั้ง 4 ได้แก่ การยืน การเดินจงกรม การนั่ง ( พองยุบ,พุทโธ ฯลฯ) การนอน โดยใช้สติ-สัมปชัญญะ ตามดู รู้ทัน จิต ให้อยู่กับอิริยาบถที่ กาย ทำอยู่ในปัจจุบันนั้น เมื่อ จิต แวบออกไปจากอิริยาบถนั้น ก็ กำหนดรู้ ตามอารมณ์ ที่ จิตไปรับรู้ แล้ว กลับมาอยู่ที่อิริยาบถที่ กาย ทำอยู่ในปัจจุบันนั้นต่อไป เมื่อทำเช่นนี้ได้เป็น สิบ, ร้อย, พัน, หมื่นๆ ครั้ง จิตจะเริ่มละจากอารมณ์ที่ไปเกาะยึดภายนอก กลับมารวมตัวกันทำให้มีกำลังและความละเอียดเพิ่มมากขึ้น เกิดเป็น สมาธิ กำลังสมาธิที่ได้ เราสามารถเลือกดำเนินไปในแนวทาง สมถภาวนา คือ การทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียวนิ่งอยู่เช่นนั้น โดยใช้กรรมฐาน ๔๐ เป็นอารมณ์ ซึ่งผู้ปฏิบัติอาจจะใช้กรรมฐานบทใดบทหนี่ง ที่ถูกแก่จริตนิสัยของตนก็ย่อมได้ หรือ ดำเนินจิตเข้าสู่วิปัสสนาภาวนา โดยมีขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์ เรียกสั้น ๆ ว่า มีแต่รูปกับนาม สิ่งที่เป็นอารมณ์ของวิปัสสนานั้น มีแต่เพียงอย่างเดียวคือ "ขันธ์ ๕" (ที่ตั้งแห่งความยึดมั่นถือมั่น 5 อย่าง) ซึ่งนิยมเรียกกันว่า "รูป - นาม" โดย รูป มี ๑ ส่วน นาม นั้นมี ๔ คือ เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ในที่นี้ เป็นแนวทางดำเนินจิตเข้าสู่วิปัสสนาภาวนา เมื่อเรากำหนดรู้ทันจิตที่แวบออกไปคิด (ไปยึดติด-ปรุงแต่ง) เรื่องอื่นใด(อารมณ์ใด) นั้น จิตก็เหมือนถูกปลุกให้ตื่นจากที่ไปยึดหรือปรุงแต่งความคิดนั้น เมื่อไม่ไปยึดไว้ เรื่องที่คิดหรืออารมณ์นั้นๆ ก็จะจางหายไปเอง คือ เมื่อ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ก็ดับไป ตามกฎไตรลักษณ์ นี่คือ วิปัสสนาภาวนาอย่างง่าย นั้นคือ การตามดู-รู้อารมณ์ –ละอารมณ์ของตนเองก่อน เมื่อละอารมณ์นั้นแล้ว ก็กลับมาทำสมาธิต่อไปโดยใช้สติ-สัมปชัญญะ ตามดู รู้ทัน จิต ให้อยู่กับอิริยาบถที่ กาย ทำอยู่ในปัจจุบันนั้น และทุกครั้งที่ จิต แวบออกไปจากอิริยาบถนั้น ก็ กำหนดรู้ ตามอารมณ์ ที่ จิตไปรับรู้ แล้วละอารมณ์โดยเห็นตามจริงตามกฎไตรลักษณ์ เมื่อละอารมณ์นั้นแล้ว ก็กลับมาทำสมาธิต่อไป ทำเช่นนี้ต่อเนื่องหมุนเวียนกันไป จิตก็จะมีสมาธิและความละเอียดยิ่งขึ้นไปตามลำดับ สามารถกำหนดรู้อารมณ์นั้น ว่าเป็นนิวรณ์ธรรมใด (ความพอใจ , ฟุ้งซ่าน, …) เป็นอุปาทานใด (ธรรมารมณ์, ทิฐิ,…) เมื่อละอารมณ์นั้นแล้ว ก็กลับมาทำสมาธิต่อไป ทำเช่นนี้ต่อเนื่องหมุนเวียนกันไป เมื่อจิตได้รับการสอน รู้และละอารมณ์ จนสามารถแยกแยะอารมณ์ระหว่างจิตที่เป็นอิสระ กับ จิตที่เข้าไปยึดมั่นในรูป-นาม (จิตที่ทุรนทุราย เศร้าหมอง จิตที่ เป็นทุกข์) จะช่วยให้สามารถละวาง ด้วยความรู้ตามจริงตามหลักพระไตรลักษณ์ ได้ดีขึ้น จิตที่มีกำลัง ว่องไว ชำนาญจะสามารถแยกแยะ รูป-นาม ที่ผัสสะผ่านทางอายตนะทั้ง 6 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) เห็นกระบวนการเกิดซึ่งอารมณ์เหล่านั้น การชักนำโดย โลภะ โทสะ โมหะ การเจริญวิปัสสนาก็โดยมีจิตพิจารณาจนรู้แจ้งเห็นจริงว่า อันสภาวธรรมทั้งหลายอันได้แก่ขันธ์ ๕ นั้นล้วนแต่มีอาการเป็น พระไตรลักษณ์ คือ เป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา เกิดนิพพิทาญาณ คือ ญาณเห็นด้วยปัญญาถึงความไร้สาระและเกิดความหน่ายต่อการปรุงแต่งทั้งหลาย (ไม่ใช่อารมณ์เบื่อ ไม่พอใจ ของคนขี้เกียจ เซ็ง) การเจริญสมาธิและวิปัสสนาควบคู่ต่อเนื่องกันไปตามที่กล่าวข้างต้นแล้วนั้น เป็นไปตามหลัก "สมาธิอบรมปัญญา" และ "ปัญญาอบรมสมาธิ" เมื่อใดที่จิตยอมรับสภาพความเป็นจริงว่าเป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาจริง เรียกว่า จิตตกระแสธรรมตัดกิเลสได้ ปัญญาที่จะเห็นสภาพความเป็นจริงดังกล่าว ไม่ใช่แต่เพียงปัญญาที่จะนึกคิดและคาดหมายเอาเท่านั้น แต่เป็นการแจ้งในจิต ที่พระท่านเรียกว่า "ญาณทัสสนะ" เห็นเป็นเช่นนั้นจริง ๆ ซึ่งจิตที่ได้ผ่านการอบรมสมาธิมาจนมีกำลังดีแล้ว ย่อมมีพลังให้เกิดญาณทัสสนะหรือปัญญาที่รู้แจ้งเห็นจริงดังกล่าวได้ เรียกกันว่า "สมาธิอบรมปัญญา" คือสมาธิทำให้วิปัสสนาญาณเกิดขึ้น และเมื่อวิปัสสนาญาณเกิดขึ้นแล้ว ย่อมถ่ายถอนกิเลสให้เบาบางลง จิตก็ย่อมจะเบาและใสสะอาดบางจากกิเลสทั้งหลายไปตามลำดับ สมาธิจิตก็จะยิ่งก้าวหน้าและตั้งมั่นมากยิ่ง ๆ ขึ้นไปอีก เรียกว่า "ปัญญาอบรมสมาธิ" ทั้งสมาธิและวิปัสสนาจึงเป็นทั้งเหตุและผลของกันและกันและอุปการะซึ่งกันและกันจะมีวิปัสสนาปัญญาเกิดขึ้นโดยขาดกำลังสมาธิสนับสนุนมิได้เลย อย่างน้อยที่สุดก็จะต้องใช้กำลังของขณิกสมาธิเป็นบาทฐานในระยะแรกเริ่ม สมาธิจึงเปรียบเสมือนกับหินลับมีด ส่วนวิปัสสนานั้นเหมือนกับมีดที่ได้ลับกับหินคมดีแล้ว ก็ย่อมมีอำนาจถากถางตัดฟันบรรดากิเลสทั้งหลายให้ขาดและพังลงได้ การดำเนินจิตเข้าสู่ วิปัสสนาภาวนา ในทางปฏิบัตินั้น คือ การนำสมาธิที่ได้จากการเจริญสติ-สัมปชัญญะ ดังกล่าวมาตามดู-รู้อารมณ์ ตนเอง กำหนดรู้ แล้วละวาง ด้วยความรู้ตามจริงตามหลักพระไตรลักษณ์ คือ เป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา ไม่มีสิ่งใดทนทานหรือตั้งอยู่ได้ มีความเสื่อมสลายและดับไปเป็นธรรมดา ทำให้เกิดความหน่าย (นิพพิทาญาณ) คลายความยึดมั่น ถือมั่นในอารมณ์นั้น หากกำลังสมาธิและวิปัสสนาญาณยังอ่อน ก็จะเห็นในรูป นิวรณ์ธรรม เราก็กำหนดรู้ แล้วละวางมาสู่อิริยาบถในปัจจุบัน เมื่อเรากำหนดรู้ทัน ว่าสิ่งที่เกิดเหล่านั้นเป็นอนิจจัง คือ ถ้าเราไม่ไปยึดหรือคิดฟุ้งซ่าน เมื่อเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ก็ดับไปเอง การฝึกหัดเช่นนี้ทำให้เกิดความชำนาญในการรู้และละอารมณ์ เป็นญาณทัสสนะเบื้องต้นในการรู้ตามจริง การทำสมาธิและดำเนินจิตสู่วิปัสสนา (ภาคขยาย) อารมณ์ที่รู้ในเบื้องต้น เหตุเพราะสมาธิยังไม่มากพอ จะกำหนดรู้ได้เป็นเพียงนิวรณ์ธรรม, เป็นความนึกคิดที่ปรุงสำเร็จแล้ว, เป็นธรรมารมณ์……. ต่อเมื่อสมาธิจิตเริ่มมีกำลังและก้าวหน้า ก็พอจะกำหนดรู้ว่าความนึกคิดที่ปรุงสำเร็จแล้วนั้นเกิดจากอะไร? เป็นชนิดไหน? เช่น มานะ , ทิฐิ มีตัณหาช่วยให้มีรสชาติถูกจริตตามอุปาทานที่มีอยู่ มีโลภะ โทสะ โมหะ ชักจูงไปให้เกิดการปรุงนั้น อนึ่ง มานะ ทิฐิ ที่เกิดขึ้นนั้น มีเหตุอันเกิดจากความยึดมั่น ถือมั่น ยินดีพอใจ ในกองรูป(กาย)ของตนเอง จึงได้เกิดกิเลสดังกล่าวขึ้น การพิจารณาละกิเลสก็จะต้องพิจารณาละที่กายนี้เอง การพิจารณากาย ก็คือให้มีจิตใคร่ครวญให้เห็นตามสภาพความเป็นจริงที่ว่า อันร่างกายของคนเราแท้ที่จริงแล้วก็เป็นของปฏิกูล สกปรกโสโครก เป็นที่รวมฝังซากศพของบรรดาพืชและสัตว์ที่บริโภคเข้าไป ที่ขับถ่ายออกมาจากทวารทั้งหลายก็เป็นของที่สกปรกโสโครก นอกจากนั้นควรมีจิตใคร่ครวญถึงธาตุกรรมฐาน โดยพึงพิจารณาแยกให้เห็นความเป็นจริงที่ว่า อันที่จริงร่างกายของเราเองก็ดี ของผู้อื่นก็ดี ไม่ใช่ตัวเราของเราแต่อย่างใดเลย เป็นแต่เพียงธาตุ ๔ มาประชุม เกาะกุมรวมกันเพียงชั่วคราวเท่านั้นเอง ได้แก่ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม และธาตุไฟ แล้วสิ่งเหล่านี้ก็ทนอยู่ในสภาพที่รวมกันเช่นนั้นไม่ได้ นานไปก็เก่าแก่แล้วแตกสลายตายไป ธาตุน้ำก็กลับไปสู่ความเป็นน้ำ ธาตุดินก็กลับไปสู่ความเป็นดิน ธาตุลมก็กลับไปสู่ความเป็นลม และธาตุไฟก็กลับไปสู่ความเป็นไฟตามเดิม เนื้อตัวร่างกายของเรา เมื่อได้แยกส่วนออกมาดูแล้ว ก็มิได้มีตัวตนที่ตรงไหนแต่อย่างใด เมื่อมีความคล่องแคล่วและละเอียด มากขึ้น ก็จะสามารถแยกแยะ รูป-นาม ที่ผัสสะผ่านทางอายตนะทั้ง 6 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) จนเห็นกระบวนการเกิดของภพ ชาติ เริ่มจากอุปาทานเก่า ชักนำโดย โลภะ โทสะ โมหะ เกิดนึกคิดปรุงแต่ง (กิเลสปรุงจิต) หากเราไม่รู้เท่าทัน ในเวทนา ในตัณหา ความเพลินนั้น (จิตปรุงกิเลส-ธรรมารมณ์ที่ยินดีพอใจ) ก็จะเกิดอุปาทานใหม่ ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท เป็นการที่จิตเข้าไปยึดมั่นถือมั่นใน รูป-นาม เกิดความทุกข์ให้จิตต้องดิ้นรน ทุรนทุราย ด้วย ตัณหา ไปตามอุปาทานนั้น การแยกแยะอารมณ์ระหว่างจิตที่เป็นอิสระ กับ จิตที่เข้าไปยึดมั่นในรูป-นาม ซึ่งทำให้จิตต้องดิ้นรน ทุรนทุราย ทำให้รู้จักทุกข์ จะช่วยให้สามารถละวาง ด้วยความรู้ตามจริงตามหลักพระไตรลักษณ์ ได้ดีขึ้น ความก้าวหน้าของจิตที่ได้รับการอบรมมาดีแล้ว ทำให้เกิดวิปัสสนาญาณ จะทำให้การกำหนดรู้ มีความเท่าทันในเหตุมากขึ้น เช่น กำหนดรู้ได้ ตั้งแต่อายตนะภายใน ผัสสะกับ อายตนะภายนอก, ก่อนเกิดเวทนา, ก่อนเกิดโลภะ….ยังไม่นึกคิด….หรือเมื่อเริ่มนึกคิด… ไม่ไหลไปจนเป็นความนึกคิดที่ปรุงสำเร็จแล้ว(สังขารธรรม) ทั้งนี้การเท่าทันในเหตุ และละได้ในขั้นตอนไหนขึ้นกับความตั้งมั่นของสมาธิ และ ความฉลาดของจิตที่ได้รับการอบรมเพื่อละความยึดมั่นถือมั่นในรูปนาม นั้นเอง การพิจารณากายก็ดี ความเป็นธาตุทั้ง 4 ก็ดี ตลอดจนการกำหนดรู้ทุกข์ และเท่าทันใน กระบวนการเกิด อุปาทานภพ ชาติ ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท จะทำให้เกิด นิพพิทาญาณ คือ ญาณเห็นด้วยปัญญาถึงความไร้สาระและเกิดความหน่ายต่อการปรุงแต่งทั้งหลาย ส่งผลให้จิตอยู่กับปัจจุบันได้ดีขึ้น การเจริญสมาธิและวิปัสสนาควบคู่กันไปนี้ ตามหลัก "สมาธิอบรมปัญญา" และ "ปัญญาอบรมสมาธิ" ดังกล่าวข้างต้น จะทำให้การดำเนินจิตเข้าสู่ วิปัสสนาภาวนา มีความรวดเร็วและความละเอียดอย่างยิ่ง เมื่อจิตมีสมาธิตั้งมั่น ถอดถอนกิเลสให้เบาบาง เกิดวิปัสสนาญาณแล้ว สามารถกำหนดรู้ทันจิต ตามธรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จะมีความว่องไวเท่าทันต่อกระบวนการเกิด ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท มีความละเอียดที่จะเห็นความยึดมั่นถือมั่นของจิตในอุปาทานเก่า(รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) เกิดผัสสะ เกิดเวทนา1(จากการกระทบของอายตนะภายใน-ภายนอกทั้ง 6)--> เกิดตัณหา ก่อเกิดอุปาทานใหม่ (ในขันธ์ทั้ง 5 นั้น) ดังพุทธดำรัสที่ว่า บุคคลเมื่อเสวย สุขเวทนา แล้วปล่อยให้ราคะนุสัยตามนอน เมื่อเสวยทุขเวทนา แล้วปล่อยให้ปฏิฆานุสัยตามนอน เมื่อเสวยอทุขมสุขเวทนา แล้วปล่อยให้ อวิชชานุสัยตามนอน แล้ว การกระทำให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์ ไม่อยู่ในฐานะที่สามารถกระทำได้ อนึ่ง ควรทราบว่า เวทนา ที่เกิดกับใจ ไม่ใช่กิเลส หากแต่ความไม่รู้ ไปยึดว่าเป็นเรา เป็นตัวตนของเรา ทำให้เกิดกิเลส แม้แต่เมื่อจิตแจ้งในไตรลักษณ์ ถอดถอนอุปาทานหยาบไปจนละเอียดขึ้นเรื่อยๆได้ ยกขึ้นสู่สภาวธรรมใหม่ จิตที่ผัสสะกับธรรมที่แจ้งนั้น ก็ยังเกิดเวทนา2 ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ได้อยู่ หากแต่เป็นเวทนาขันธ์ที่ละเอียดขึ้น ยิ่งผัสสะกับธรรมที่ละเอียดมากขึ้น ก็ยิ่งต้องอาศัยวิปัสสนาญาณอันแก่กล้ามากขึ้นเพื่อที่จะละวาง ตราบใดยังมีตัณหาในรูป-นามอยู่ เป็นเหตุที่ยังเป็นไปเพื่อการเกิดอยู่ ตราบใดที่ยังไม่รู้จักทุกข์ ยังไม่แจ้งในไตรลักษณ์อย่างแท้จริง จึงต้องเจริญวิปัสสนากรรมฐานเพื่อให้รู้จักทุกข์จนถึงที่สุด เพื่อการปล่อยวาง ไม่อาลัยในตัณหานั้น ทำให้ตัณหาจางคลายจนดับสนิท คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ คลายความยึดมั่น ถือมั่น ใน รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ขันธ์ 5) การดำเนินในมรรคมีองค์ 8 ทำความเพียรให้ถึงความหลุดพ้น เป็นการกระทำโดยทางสายกลาง เท่าทันสัญเจตนา [จากอนุสัยที่ก่อขึ้น เพี่อเป็นที่ตั้งแห่งวิญญาณ] ทำให้เราเห็น เหตุเกิด-ดับ แห่งโลก ตามความเป็นจริง หากยังดำเนินอยู่(เสขบุคคล) แต่ถ้าไม่เท่าทันในเจตนา ก็จะเห็นการก้าวลงแห่งนามรูป เป็นปัจจัยให้เกิดสฬายตนะ และอื่นๆ ต่อเนื่องจนถึงภพ ชาติฯลฯ เป็นเหตุเกิดของ "เรา"ในโลก ทางแก้จึงเป็นการดำเนินทางสายกลาง เพื่อให้เห็นการเกิด-ดับ ทั้งภายนอก/ภายใน เมื่อหลงไปปรุงแต่ง(สัญเจตนาในอายตนะทั้ง 6) ก็ รู้ในความหลงนั้น สติเปรียบเหมือนทำนบ-เครื่องกั้นให้เห็นตามความจริง ปัญญา เป็นเครื่องนำออกจากกระแสนั้น เมื่อนั้นเมื่อถูกกระทบ ก็สักแต่ว่ารู้ พ้นจากความปรุงแต่งว่า"มี" หรือ "ไม่มี" เพราะ จิต ไม่มี (ความยึดมั่นถือมั่น) คือ จิตหลุดพ้น ถึงความเป็นธรรมชาติ ดังพุทธดำรัส เรื่องสัมมาทิฏฐิ ตามลิ้งค์นี้ http://www.jaisabuy.com/images/1200824889/SamaTitti.pdf อนึ่ง ควรทราบว่า เมื่อการดำเนินในมรรคมีองค์ 8 ถึงการเจริญให้มาก โดยเป็นอัธยาศัยแล้ว สัมปชัญญะและสติ จะเท่าทันในธรรมที่มากระทบทางอายตนะมากขึ้นโดยลำดับ ซึ่งไม่ต้องกระทำเพื่อละวางอีก หากแต่กระทำเพื่อความรู้พร้อม เพราะการเจริญในมรรค เกิดความคล่องแคล่วชัดเจน จะกระทำด้วยความเป็นกลางมากขึ้นเรื่อยๆ จะเห็นสภาวะธรรมนั้นตามความเป็นจริง จะเห็นต่างจากที่เคยเห็น ไม่หลงในสิ่งที่เคยหลง สำหรับผู้ที่ยังดำเนินอยู่ ขณะทำความเพียรเมื่อ "มี" เราขี้นมา ก็จะเห็นว่าเป็นทุกข์ เห็นว่า ทุกข์นั้นเป็นเรื่องของโลก เกิด-ดับ ตามเหตุปัจจัย [ ทุกข์นั้น-โลกนั้นก็ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา โลกไม่มีในเรา-เราไม่มีในโลก] เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ฯลฯ ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ ทุกข์นั่นแหละ เมื่อบังเกิดขึ้น ย่อมบังเกิดขึ้น ทุกข์เมื่อดับย่อมดับ 1 เมื่อผัสสะเพื่อจะให้เกิดเวทนา-ตัณหา-อุปาทาน(ใหม่) (ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท), ก็ต้องอาศัยอุปาทาน(เก่า) ขันธ์5 เดิม(รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สัญญาขันธ์,สังขารขันธ์,วิญญาณขันธ์) เข้ามาเป็นปัจจัยปรุงแต่ง อันเนื่องจากความไม่รู้ของเรา (อวิชชา) 2 ธรรมที่เกิดโดยแท้จริงนั้น เหลือวิสัยที่จะบรรยายเป็นคำพูดได้ หากแต่เกิดรวดเร็วเป็นปัจจัยอาศัยกันและกัน เกินความสามารถของผู้เขียนที่จะบรรยายเป็นตัวอักษรได้ เชื่อว่าหากผู้ปฏิบัติท่านใดได้ถึงสภาวธรรมนี้แล้ว ก็คงไม่ต้องพึ่งหนังสือ หรือ ตำราใดๆ ผู้เขียนส่งท่านแต่เพียงเท่านี้ การรู้ถึงกระบวนการเหล่านี้ ทำให้เราเข้าใจในธรรม ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ไม่ว่าท่านจะบังเกิดขึ้นมาหรือไม่ ธรรมก็ตั้งอยู่เช่นนั้น เป็นการตั้งอยู่อย่างธรรมดา เป็นกฎตายตัวแห่งธรรมดา เป็นความที่เมื่อมีสิ่งนี้ๆ เป็นปัจจัย ย่อมมีสิ่งนี้ๆ เกิดขึ้น เมื่อปัจจัยดับลง สิ่งนั้นๆ ย่อมดับลง เป็นอิทัปปจยตา ช่วยให้เราเห็นเหตุ คือ ตัณหาได้ชัดเจน เมื่อแจ้งในเหตุแล้ว ก็ ควรละความรู้นี้เสีย (สัพเพ ธัมมา อนัตตา) เพื่อละเหตุ (คือตัณหา) นั้นต่อไป อย่าได้ยึดติดความยินดีพอใจ (ตัณหา) ในความรู้นั้น เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติ ท้ายนี้ขออนุโมทนาให้ท่านเจริญในธรรม สิ้นอาสวะทั้งปวงด้วยเทอญ การเห็นธรรมในลักษณะข้างต้น เป็นการเห็นตามความเป็นจริง ว่าสังขารทั้งหลายไม่เที่ยง (อนิจจัง) มีความแปรปรวน ไม่สามารถตั้งอยู่ได้(ทุขขัง) ทั้ง กาย ใจ แสดงอาการไตรลักษณะให้ปรากฏ ผู้ที่เห็นธรรมตามนี้ ย่อมไม่น้อมไปหา ย่อมไม่ไปยึดในรูป นาม สังขารนั้น เพราะ เห็นว่านั่นไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา(อนัตตา) เพราะเมื่อไร ที่ไม่รู้ตามธรรมข้างต้น หลงเข้าไปยึดมั่นในสิ่งที่ไม่เที่ยงเหล่านั้น ย่อมนำทุกข์ทางใจมาให้ หากเมื่อได้สดับรับฟังพุทธวจน์ และ เห็นว่า ตนเองมีอาการทุกข์ เนื่องจาก ไปยึดมั่นในสิ่งที่ไม่เที่ยงเหล่านั้น เมื่อละความพอใจในสิ่งนั้นได้ อาการไป-มาของจิต ย่อมไม่ปรากฏ เพราะเห็นเสียแล้วตามความเป็นจริง ขณะที่เห็นอริยสัจจ์ ถอดถอนความไม่รู้ ออกจากความหลง รูป นาม นั้น ก็แสดงอาการพระไตรลักษณ์ให้ปรากฏ จิตเดิมที่มีความไม่รู้ตามความจริง เมื่อสุดท้ายเห็นว่า แม้แต่ตัวมันเองก็แสดงอาการไตรลักษณะ ปัญญาจากการเห็น โดยไม่ยินดีในความรู้นั้น ทำให้จิตมีความรู้ตามความเป็นจริง จากการเห็นพระไตรลักษณ์ โดยตลอด ดับสนิทไม่เหลือของตัณหา เป็นอิสระจากสิ่งไม่จริง(สมมุติ)ที่เกิด-ดับ เหล่านั้น เป็น ผู้รู้ ผู้ตื่่น ผู้เบิกบาน เห็น โลกกลับเป็นของแปลก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สุดท้ายนี้ขอยกพระพุทธพจน์มาเพื่อความเข้าใจ ให้ถ่องแท้ ดังนี้ ผู้ไม่เข้าไปหา ย่อมหลุดพ้น ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น. ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอารูปตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย, มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้ ; ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาเวทนาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้, ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาสัญญาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้; ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาสังขารตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์. ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เราจักบัญญัติซึ่งการมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ของวิญญาณ โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร” ดังนี้นั้น, นี้ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย. ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว; เพราะละราคะได้ อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง; เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น; เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง; เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว; เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน. ย่อมรู้ชัดว่า “ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้วกิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้. ( -ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕. ) พุทธพจน์

วิธีเจริญวิปัสสนาด้วยอริยสัจสี่ การที่จะเจริญวิปัสสนาภาวนาได้ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพยายามทำสมาธิให้ได้เสียก่อน หากทำสมาธิยังไม่ได้ ก็ไม่มีทางที่จะเกิดวิปัสสนาปัญญาขึ้น สมาธิจึงเป็นบันไดขั้นต้นที่ก้าวไปสู่การเจริญวิปัสสนาปัญญา เมื่อจิตของผู้ปฏิบัติตั้งมั่นในสมาธิจนมีกำลังดีแล้ว แม้แต่จะอยู่แค่เพียงอุปจารสมาธิ จิตของผู้ปฏิบัติก็ย่อมมีกำลังและอยู่ในสภาพที่นุ่มนวล ควรแก่การเจริญวิปัสสนาต่อไปได้ การทำสมาธิ โดยการกำหนดอิริยาบถทางกายทั้ง 4 ได้แก่ การยืน การเดินจงกรม การนั่ง ( พองยุบ,พุทโธ ฯลฯ) การนอน โดยใช้สติ-สัมปชัญญะ ตามดู รู้ทัน จิต ให้อยู่กับอิริยาบถที่ กาย ทำอยู่ในปัจจุบันนั้น เมื่อ จิต แวบออกไปจากอิริยาบถนั้น ก็ กำหนดรู้ ตามอารมณ์ ที่ จิตไปรับรู้ แล้ว กลับมาอยู่ที่อิริยาบถที่ กาย ทำอยู่ในปัจจุบันนั้นต่อไป เมื่อทำเช่นนี้ได้เป็น สิบ, ร้อย, พัน, หมื่นๆ ครั้ง จิตจะเริ่มละจากอารมณ์ที่ไปเกาะยึดภายนอก กลับมารวมตัวกันทำให้มีกำลังและความละเอียดเพิ่มมากขึ้น เกิดเป็น สมาธิ กำลังสมาธิที่ได้ เราสามารถเลือกดำเนินไปในแนวทาง สมถภาวนา คือ การทำจิตให้ตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียวนิ่งอยู่เช่นนั้น โดยใช้กรรมฐาน ๔๐ เป็นอารมณ์ ซึ่งผู้ปฏิบัติอาจจะใช้กรรมฐานบทใดบทหนี่ง ที่ถูกแก่จริตนิสัยของตนก็ย่อมได้ หรือ ดำเนินจิตเข้าสู่วิปัสสนาภาวนา โดยมีขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์ เรียกสั้น ๆ ว่า มีแต่รูปกับนาม สิ่งที่เป็นอารมณ์ของวิปัสสนานั้น มีแต่เพียงอย่างเดียวคือ "ขันธ์ ๕" (ที่ตั้งแห่งความยึดมั่นถือมั่น 5 อย่าง) ซึ่งนิยมเรียกกันว่า "รูป - นาม" โดย รูป มี ๑ ส่วน นาม นั้นมี ๔ คือ เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ในที่นี้ เป็นแนวทางดำเนินจิตเข้าสู่วิปัสสนาภาวนา เมื่อเรากำหนดรู้ทันจิตที่แวบออกไปคิด (ไปยึดติด-ปรุงแต่ง) เรื่องอื่นใด(อารมณ์ใด) นั้น จิตก็เหมือนถูกปลุกให้ตื่นจากที่ไปยึดหรือปรุงแต่งความคิดนั้น เมื่อไม่ไปยึดไว้ เรื่องที่คิดหรืออารมณ์นั้นๆ ก็จะจางหายไปเอง คือ เมื่อ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ก็ดับไป ตามกฎไตรลักษณ์ นี่คือ วิปัสสนาภาวนาอย่างง่าย นั้นคือ การตามดู-รู้อารมณ์ –ละอารมณ์ของตนเองก่อน เมื่อละอารมณ์นั้นแล้ว ก็กลับมาทำสมาธิต่อไปโดยใช้สติ-สัมปชัญญะ ตามดู รู้ทัน จิต ให้อยู่กับอิริยาบถที่ กาย ทำอยู่ในปัจจุบันนั้น และทุกครั้งที่ จิต แวบออกไปจากอิริยาบถนั้น ก็ กำหนดรู้ ตามอารมณ์ ที่ จิตไปรับรู้ แล้วละอารมณ์โดยเห็นตามจริงตามกฎไตรลักษณ์ เมื่อละอารมณ์นั้นแล้ว ก็กลับมาทำสมาธิต่อไป ทำเช่นนี้ต่อเนื่องหมุนเวียนกันไป จิตก็จะมีสมาธิและความละเอียดยิ่งขึ้นไปตามลำดับ สามารถกำหนดรู้อารมณ์นั้น ว่าเป็นนิวรณ์ธรรมใด (ความพอใจ , ฟุ้งซ่าน, …) เป็นอุปาทานใด (ธรรมารมณ์, ทิฐิ,…) เมื่อละอารมณ์นั้นแล้ว ก็กลับมาทำสมาธิต่อไป ทำเช่นนี้ต่อเนื่องหมุนเวียนกันไป เมื่อจิตได้รับการสอน รู้และละอารมณ์ จนสามารถแยกแยะอารมณ์ระหว่างจิตที่เป็นอิสระ กับ จิตที่เข้าไปยึดมั่นในรูป-นาม (จิตที่ทุรนทุราย เศร้าหมอง จิตที่ เป็นทุกข์) จะช่วยให้สามารถละวาง ด้วยความรู้ตามจริงตามหลักพระไตรลักษณ์ ได้ดีขึ้น จิตที่มีกำลัง ว่องไว ชำนาญจะสามารถแยกแยะ รูป-นาม ที่ผัสสะผ่านทางอายตนะทั้ง 6 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) เห็นกระบวนการเกิดซึ่งอารมณ์เหล่านั้น การชักนำโดย โลภะ โทสะ โมหะ การเจริญวิปัสสนาก็โดยมีจิตพิจารณาจนรู้แจ้งเห็นจริงว่า อันสภาวธรรมทั้งหลายอันได้แก่ขันธ์ ๕ นั้นล้วนแต่มีอาการเป็น พระไตรลักษณ์ คือ เป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา เกิดนิพพิทาญาณ คือ ญาณเห็นด้วยปัญญาถึงความไร้สาระและเกิดความหน่ายต่อการปรุงแต่งทั้งหลาย (ไม่ใช่อารมณ์เบื่อ ไม่พอใจ ของคนขี้เกียจ เซ็ง) การเจริญสมาธิและวิปัสสนาควบคู่ต่อเนื่องกันไปตามที่กล่าวข้างต้นแล้วนั้น เป็นไปตามหลัก "สมาธิอบรมปัญญา" และ "ปัญญาอบรมสมาธิ" เมื่อใดที่จิตยอมรับสภาพความเป็นจริงว่าเป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาจริง เรียกว่า จิตตกระแสธรรมตัดกิเลสได้ ปัญญาที่จะเห็นสภาพความเป็นจริงดังกล่าว ไม่ใช่แต่เพียงปัญญาที่จะนึกคิดและคาดหมายเอาเท่านั้น แต่เป็นการแจ้งในจิต ที่พระท่านเรียกว่า "ญาณทัสสนะ" เห็นเป็นเช่นนั้นจริง ๆ ซึ่งจิตที่ได้ผ่านการอบรมสมาธิมาจนมีกำลังดีแล้ว ย่อมมีพลังให้เกิดญาณทัสสนะหรือปัญญาที่รู้แจ้งเห็นจริงดังกล่าวได้ เรียกกันว่า "สมาธิอบรมปัญญา" คือสมาธิทำให้วิปัสสนาญาณเกิดขึ้น และเมื่อวิปัสสนาญาณเกิดขึ้นแล้ว ย่อมถ่ายถอนกิเลสให้เบาบางลง จิตก็ย่อมจะเบาและใสสะอาดบางจากกิเลสทั้งหลายไปตามลำดับ สมาธิจิตก็จะยิ่งก้าวหน้าและตั้งมั่นมากยิ่ง ๆ ขึ้นไปอีก เรียกว่า "ปัญญาอบรมสมาธิ" ทั้งสมาธิและวิปัสสนาจึงเป็นทั้งเหตุและผลของกันและกันและอุปการะซึ่งกันและกันจะมีวิปัสสนาปัญญาเกิดขึ้นโดยขาดกำลังสมาธิสนับสนุนมิได้เลย อย่างน้อยที่สุดก็จะต้องใช้กำลังของขณิกสมาธิเป็นบาทฐานในระยะแรกเริ่ม สมาธิจึงเปรียบเสมือนกับหินลับมีด ส่วนวิปัสสนานั้นเหมือนกับมีดที่ได้ลับกับหินคมดีแล้ว ก็ย่อมมีอำนาจถากถางตัดฟันบรรดากิเลสทั้งหลายให้ขาดและพังลงได้ การดำเนินจิตเข้าสู่ วิปัสสนาภาวนา ในทางปฏิบัตินั้น คือ การนำสมาธิที่ได้จากการเจริญสติ-สัมปชัญญะ ดังกล่าวมาตามดู-รู้อารมณ์ ตนเอง กำหนดรู้ แล้วละวาง ด้วยความรู้ตามจริงตามหลักพระไตรลักษณ์ คือ เป็นอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา ไม่มีสิ่งใดทนทานหรือตั้งอยู่ได้ มีความเสื่อมสลายและดับไปเป็นธรรมดา ทำให้เกิดความหน่าย (นิพพิทาญาณ) คลายความยึดมั่น ถือมั่นในอารมณ์นั้น หากกำลังสมาธิและวิปัสสนาญาณยังอ่อน ก็จะเห็นในรูป นิวรณ์ธรรม เราก็กำหนดรู้ แล้วละวางมาสู่อิริยาบถในปัจจุบัน เมื่อเรากำหนดรู้ทัน ว่าสิ่งที่เกิดเหล่านั้นเป็นอนิจจัง คือ ถ้าเราไม่ไปยึดหรือคิดฟุ้งซ่าน เมื่อเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ก็ดับไปเอง การฝึกหัดเช่นนี้ทำให้เกิดความชำนาญในการรู้และละอารมณ์ เป็นญาณทัสสนะเบื้องต้นในการรู้ตามจริง การทำสมาธิและดำเนินจิตสู่วิปัสสนา (ภาคขยาย) อารมณ์ที่รู้ในเบื้องต้น เหตุเพราะสมาธิยังไม่มากพอ จะกำหนดรู้ได้เป็นเพียงนิวรณ์ธรรม, เป็นความนึกคิดที่ปรุงสำเร็จแล้ว, เป็นธรรมารมณ์……. ต่อเมื่อสมาธิจิตเริ่มมีกำลังและก้าวหน้า ก็พอจะกำหนดรู้ว่าความนึกคิดที่ปรุงสำเร็จแล้วนั้นเกิดจากอะไร? เป็นชนิดไหน? เช่น มานะ , ทิฐิ มีตัณหาช่วยให้มีรสชาติถูกจริตตามอุปาทานที่มีอยู่ มีโลภะ โทสะ โมหะ ชักจูงไปให้เกิดการปรุงนั้น อนึ่ง มานะ ทิฐิ ที่เกิดขึ้นนั้น มีเหตุอันเกิดจากความยึดมั่น ถือมั่น ยินดีพอใจ ในกองรูป(กาย)ของตนเอง จึงได้เกิดกิเลสดังกล่าวขึ้น การพิจารณาละกิเลสก็จะต้องพิจารณาละที่กายนี้เอง การพิจารณากาย ก็คือให้มีจิตใคร่ครวญให้เห็นตามสภาพความเป็นจริงที่ว่า อันร่างกายของคนเราแท้ที่จริงแล้วก็เป็นของปฏิกูล สกปรกโสโครก เป็นที่รวมฝังซากศพของบรรดาพืชและสัตว์ที่บริโภคเข้าไป ที่ขับถ่ายออกมาจากทวารทั้งหลายก็เป็นของที่สกปรกโสโครก นอกจากนั้นควรมีจิตใคร่ครวญถึงธาตุกรรมฐาน โดยพึงพิจารณาแยกให้เห็นความเป็นจริงที่ว่า อันที่จริงร่างกายของเราเองก็ดี ของผู้อื่นก็ดี ไม่ใช่ตัวเราของเราแต่อย่างใดเลย เป็นแต่เพียงธาตุ ๔ มาประชุม เกาะกุมรวมกันเพียงชั่วคราวเท่านั้นเอง ได้แก่ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม และธาตุไฟ แล้วสิ่งเหล่านี้ก็ทนอยู่ในสภาพที่รวมกันเช่นนั้นไม่ได้ นานไปก็เก่าแก่แล้วแตกสลายตายไป ธาตุน้ำก็กลับไปสู่ความเป็นน้ำ ธาตุดินก็กลับไปสู่ความเป็นดิน ธาตุลมก็กลับไปสู่ความเป็นลม และธาตุไฟก็กลับไปสู่ความเป็นไฟตามเดิม เนื้อตัวร่างกายของเรา เมื่อได้แยกส่วนออกมาดูแล้ว ก็มิได้มีตัวตนที่ตรงไหนแต่อย่างใด เมื่อมีความคล่องแคล่วและละเอียด มากขึ้น ก็จะสามารถแยกแยะ รูป-นาม ที่ผัสสะผ่านทางอายตนะทั้ง 6 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) จนเห็นกระบวนการเกิดของภพ ชาติ เริ่มจากอุปาทานเก่า ชักนำโดย โลภะ โทสะ โมหะ เกิดนึกคิดปรุงแต่ง (กิเลสปรุงจิต) หากเราไม่รู้เท่าทัน ในเวทนา ในตัณหา ความเพลินนั้น (จิตปรุงกิเลส-ธรรมารมณ์ที่ยินดีพอใจ) ก็จะเกิดอุปาทานใหม่ ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท เป็นการที่จิตเข้าไปยึดมั่นถือมั่นใน รูป-นาม เกิดความทุกข์ให้จิตต้องดิ้นรน ทุรนทุราย ด้วย ตัณหา ไปตามอุปาทานนั้น การแยกแยะอารมณ์ระหว่างจิตที่เป็นอิสระ กับ จิตที่เข้าไปยึดมั่นในรูป-นาม ซึ่งทำให้จิตต้องดิ้นรน ทุรนทุราย ทำให้รู้จักทุกข์ จะช่วยให้สามารถละวาง ด้วยความรู้ตามจริงตามหลักพระไตรลักษณ์ ได้ดีขึ้น ความก้าวหน้าของจิตที่ได้รับการอบรมมาดีแล้ว ทำให้เกิดวิปัสสนาญาณ จะทำให้การกำหนดรู้ มีความเท่าทันในเหตุมากขึ้น เช่น กำหนดรู้ได้ ตั้งแต่อายตนะภายใน ผัสสะกับ อายตนะภายนอก, ก่อนเกิดเวทนา, ก่อนเกิดโลภะ….ยังไม่นึกคิด….หรือเมื่อเริ่มนึกคิด… ไม่ไหลไปจนเป็นความนึกคิดที่ปรุงสำเร็จแล้ว(สังขารธรรม) ทั้งนี้การเท่าทันในเหตุ และละได้ในขั้นตอนไหนขึ้นกับความตั้งมั่นของสมาธิ และ ความฉลาดของจิตที่ได้รับการอบรมเพื่อละความยึดมั่นถือมั่นในรูปนาม นั้นเอง การพิจารณากายก็ดี ความเป็นธาตุทั้ง 4 ก็ดี ตลอดจนการกำหนดรู้ทุกข์ และเท่าทันใน กระบวนการเกิด อุปาทานภพ ชาติ ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท จะทำให้เกิด นิพพิทาญาณ คือ ญาณเห็นด้วยปัญญาถึงความไร้สาระและเกิดความหน่ายต่อการปรุงแต่งทั้งหลาย ส่งผลให้จิตอยู่กับปัจจุบันได้ดีขึ้น การเจริญสมาธิและวิปัสสนาควบคู่กันไปนี้ ตามหลัก "สมาธิอบรมปัญญา" และ "ปัญญาอบรมสมาธิ" ดังกล่าวข้างต้น จะทำให้การดำเนินจิตเข้าสู่ วิปัสสนาภาวนา มีความรวดเร็วและความละเอียดอย่างยิ่ง เมื่อจิตมีสมาธิตั้งมั่น ถอดถอนกิเลสให้เบาบาง เกิดวิปัสสนาญาณแล้ว สามารถกำหนดรู้ทันจิต ตามธรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จะมีความว่องไวเท่าทันต่อกระบวนการเกิด ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท มีความละเอียดที่จะเห็นความยึดมั่นถือมั่นของจิตในอุปาทานเก่า(รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) เกิดผัสสะ เกิดเวทนา1(จากการกระทบของอายตนะภายใน-ภายนอกทั้ง 6)--> เกิดตัณหา ก่อเกิดอุปาทานใหม่ (ในขันธ์ทั้ง 5 นั้น) ดังพุทธดำรัสที่ว่า บุคคลเมื่อเสวย สุขเวทนา แล้วปล่อยให้ราคะนุสัยตามนอน เมื่อเสวยทุขเวทนา แล้วปล่อยให้ปฏิฆานุสัยตามนอน เมื่อเสวยอทุขมสุขเวทนา แล้วปล่อยให้ อวิชชานุสัยตามนอน แล้ว การกระทำให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์ ไม่อยู่ในฐานะที่สามารถกระทำได้ อนึ่ง ควรทราบว่า เวทนา ที่เกิดกับใจ ไม่ใช่กิเลส หากแต่ความไม่รู้ ไปยึดว่าเป็นเรา เป็นตัวตนของเรา ทำให้เกิดกิเลส แม้แต่เมื่อจิตแจ้งในไตรลักษณ์ ถอดถอนอุปาทานหยาบไปจนละเอียดขึ้นเรื่อยๆได้ ยกขึ้นสู่สภาวธรรมใหม่ จิตที่ผัสสะกับธรรมที่แจ้งนั้น ก็ยังเกิดเวทนา2 ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ได้อยู่ หากแต่เป็นเวทนาขันธ์ที่ละเอียดขึ้น ยิ่งผัสสะกับธรรมที่ละเอียดมากขึ้น ก็ยิ่งต้องอาศัยวิปัสสนาญาณอันแก่กล้ามากขึ้นเพื่อที่จะละวาง ตราบใดยังมีตัณหาในรูป-นามอยู่ เป็นเหตุที่ยังเป็นไปเพื่อการเกิดอยู่ ตราบใดที่ยังไม่รู้จักทุกข์ ยังไม่แจ้งในไตรลักษณ์อย่างแท้จริง จึงต้องเจริญวิปัสสนากรรมฐานเพื่อให้รู้จักทุกข์จนถึงที่สุด เพื่อการปล่อยวาง ไม่อาลัยในตัณหานั้น ทำให้ตัณหาจางคลายจนดับสนิท คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์ คลายความยึดมั่น ถือมั่น ใน รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ขันธ์ 5) การดำเนินในมรรคมีองค์ 8 ทำความเพียรให้ถึงความหลุดพ้น เป็นการกระทำโดยทางสายกลาง เท่าทันสัญเจตนา [จากอนุสัยที่ก่อขึ้น เพี่อเป็นที่ตั้งแห่งวิญญาณ] ทำให้เราเห็น เหตุเกิด-ดับ แห่งโลก ตามความเป็นจริง หากยังดำเนินอยู่(เสขบุคคล) แต่ถ้าไม่เท่าทันในเจตนา ก็จะเห็นการก้าวลงแห่งนามรูป เป็นปัจจัยให้เกิดสฬายตนะ และอื่นๆ ต่อเนื่องจนถึงภพ ชาติฯลฯ เป็นเหตุเกิดของ "เรา"ในโลก ทางแก้จึงเป็นการดำเนินทางสายกลาง เพื่อให้เห็นการเกิด-ดับ ทั้งภายนอก/ภายใน เมื่อหลงไปปรุงแต่ง(สัญเจตนาในอายตนะทั้ง 6) ก็ รู้ในความหลงนั้น สติเปรียบเหมือนทำนบ-เครื่องกั้นให้เห็นตามความจริง ปัญญา เป็นเครื่องนำออกจากกระแสนั้น เมื่อนั้นเมื่อถูกกระทบ ก็สักแต่ว่ารู้ พ้นจากความปรุงแต่งว่า"มี" หรือ "ไม่มี" เพราะ จิต ไม่มี (ความยึดมั่นถือมั่น) คือ จิตหลุดพ้น ถึงความเป็นธรรมชาติ ดังพุทธดำรัส เรื่องสัมมาทิฏฐิ ตามลิ้งค์นี้ http://www.jaisabuy.com/images/1200824889/SamaTitti.pdf อนึ่ง ควรทราบว่า เมื่อการดำเนินในมรรคมีองค์ 8 ถึงการเจริญให้มาก โดยเป็นอัธยาศัยแล้ว สัมปชัญญะและสติ จะเท่าทันในธรรมที่มากระทบทางอายตนะมากขึ้นโดยลำดับ ซึ่งไม่ต้องกระทำเพื่อละวางอีก หากแต่กระทำเพื่อความรู้พร้อม เพราะการเจริญในมรรค เกิดความคล่องแคล่วชัดเจน จะกระทำด้วยความเป็นกลางมากขึ้นเรื่อยๆ จะเห็นสภาวะธรรมนั้นตามความเป็นจริง จะเห็นต่างจากที่เคยเห็น ไม่หลงในสิ่งที่เคยหลง สำหรับผู้ที่ยังดำเนินอยู่ ขณะทำความเพียรเมื่อ "มี" เราขี้นมา ก็จะเห็นว่าเป็นทุกข์ เห็นว่า ทุกข์นั้นเป็นเรื่องของโลก เกิด-ดับ ตามเหตุปัจจัย [ ทุกข์นั้น-โลกนั้นก็ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา โลกไม่มีในเรา-เราไม่มีในโลก] เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ฯลฯ ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ ทุกข์นั่นแหละ เมื่อบังเกิดขึ้น ย่อมบังเกิดขึ้น ทุกข์เมื่อดับย่อมดับ 1 เมื่อผัสสะเพื่อจะให้เกิดเวทนา-ตัณหา-อุปาทาน(ใหม่) (ตามวงจรปฏิจจสมุปบาท), ก็ต้องอาศัยอุปาทาน(เก่า) ขันธ์5 เดิม(รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สัญญาขันธ์,สังขารขันธ์,วิญญาณขันธ์) เข้ามาเป็นปัจจัยปรุงแต่ง อันเนื่องจากความไม่รู้ของเรา (อวิชชา) 2 ธรรมที่เกิดโดยแท้จริงนั้น เหลือวิสัยที่จะบรรยายเป็นคำพูดได้ หากแต่เกิดรวดเร็วเป็นปัจจัยอาศัยกันและกัน เกินความสามารถของผู้เขียนที่จะบรรยายเป็นตัวอักษรได้ เชื่อว่าหากผู้ปฏิบัติท่านใดได้ถึงสภาวธรรมนี้แล้ว ก็คงไม่ต้องพึ่งหนังสือ หรือ ตำราใดๆ ผู้เขียนส่งท่านแต่เพียงเท่านี้ การรู้ถึงกระบวนการเหล่านี้ ทำให้เราเข้าใจในธรรม ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ไม่ว่าท่านจะบังเกิดขึ้นมาหรือไม่ ธรรมก็ตั้งอยู่เช่นนั้น เป็นการตั้งอยู่อย่างธรรมดา เป็นกฎตายตัวแห่งธรรมดา เป็นความที่เมื่อมีสิ่งนี้ๆ เป็นปัจจัย ย่อมมีสิ่งนี้ๆ เกิดขึ้น เมื่อปัจจัยดับลง สิ่งนั้นๆ ย่อมดับลง เป็นอิทัปปจยตา ช่วยให้เราเห็นเหตุ คือ ตัณหาได้ชัดเจน เมื่อแจ้งในเหตุแล้ว ก็ ควรละความรู้นี้เสีย (สัพเพ ธัมมา อนัตตา) เพื่อละเหตุ (คือตัณหา) นั้นต่อไป อย่าได้ยึดติดความยินดีพอใจ (ตัณหา) ในความรู้นั้น เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติ ท้ายนี้ขออนุโมทนาให้ท่านเจริญในธรรม สิ้นอาสวะทั้งปวงด้วยเทอญ การเห็นธรรมในลักษณะข้างต้น เป็นการเห็นตามความเป็นจริง ว่าสังขารทั้งหลายไม่เที่ยง (อนิจจัง) มีความแปรปรวน ไม่สามารถตั้งอยู่ได้(ทุขขัง) ทั้ง กาย ใจ แสดงอาการไตรลักษณะให้ปรากฏ ผู้ที่เห็นธรรมตามนี้ ย่อมไม่น้อมไปหา ย่อมไม่ไปยึดในรูป นาม สังขารนั้น เพราะ เห็นว่านั่นไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา(อนัตตา) เพราะเมื่อไร ที่ไม่รู้ตามธรรมข้างต้น หลงเข้าไปยึดมั่นในสิ่งที่ไม่เที่ยงเหล่านั้น ย่อมนำทุกข์ทางใจมาให้ หากเมื่อได้สดับรับฟังพุทธวจน์ และ เห็นว่า ตนเองมีอาการทุกข์ เนื่องจาก ไปยึดมั่นในสิ่งที่ไม่เที่ยงเหล่านั้น เมื่อละความพอใจในสิ่งนั้นได้ อาการไป-มาของจิต ย่อมไม่ปรากฏ เพราะเห็นเสียแล้วตามความเป็นจริง ขณะที่เห็นอริยสัจจ์ ถอดถอนความไม่รู้ ออกจากความหลง รูป นาม นั้น ก็แสดงอาการพระไตรลักษณ์ให้ปรากฏ จิตเดิมที่มีความไม่รู้ตามความจริง เมื่อสุดท้ายเห็นว่า แม้แต่ตัวมันเองก็แสดงอาการไตรลักษณะ ปัญญาจากการเห็น โดยไม่ยินดีในความรู้นั้น ทำให้จิตมีความรู้ตามความเป็นจริง จากการเห็นพระไตรลักษณ์ โดยตลอด ดับสนิทไม่เหลือของตัณหา เป็นอิสระจากสิ่งไม่จริง(สมมุติ)ที่เกิด-ดับ เหล่านั้น เป็น ผู้รู้ ผู้ตื่่น ผู้เบิกบาน เห็น โลกกลับเป็นของแปลก --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สุดท้ายนี้ขอยกพระพุทธพจน์มาเพื่อความเข้าใจ ให้ถ่องแท้ ดังนี้ ผู้ไม่เข้าไปหา ย่อมหลุดพ้น ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ; ผู้ไม่เข้าไปหาเป็นผู้หลุดพ้น. ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอารูปตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย, มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้ ; ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาเวทนาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้, ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาสัญญาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้; ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาสังขารตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์. ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เราจักบัญญัติซึ่งการมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์ของวิญญาณ โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร” ดังนี้นั้น, นี้ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย. ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว; เพราะละราคะได้ อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง; เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น; เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง; เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว; เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน. ย่อมรู้ชัดว่า “ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้วกิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้. ( -ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕. ) พุทธพจน์

Arduino 3 phase induction motor variable frequency3 Ways to Use Acceleration in an Arduino Sketch 1Share 7Share Tweet 0Pin This lesson covers three easy ways to implement some form of acceleration in your Arduino sketches. It will cover the following: Linear Acceleration Exponential Acceleration Messing Around with the Square Root function What is Acceleration? Acceleration is the rate of change of something over time. Acceleration would help describe things like: Have fast can a stopped car get to 88mph? If I do a wing-suit jump from the top of Mount Everest, how fast will I be when I am gliding over base camp? How can I gently slow down the movement of a mechanical servo before it comes to rest? We can implement acceleration when programming Arduino quite easily with just a couple lines of code. The basic concept is that a variable will need to change – how it changes over the course of the sketch is what we are interested in. Below are three examples of how we can code change in variables so they display acceleration. Linear acceleration Linear acceleration is a constant rate of change. It can be represented by a sloped line on an x-y axis. Linear_accel_OP A simple way to use it is to increment or decrement a variable every time through a loop like below… for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel gets increasingly smaller as for loop continues accel = accel - 100; }//close for 1 2 3 4 5 6 for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel gets increasingly smaller as for loop continues accel = accel - 100; }//close for You can see in the code above, that each time through the ‘for loop’, the accel variable is decreasing by 100. If accel started at 1000, this is what accel would look like with respect to the number of iterations of the for loop. Accel Chart_OP You can see that the accel variable decreases at a set rate over time in a linear fashion. Exponential Acceleration Exponential acceleration changes over time too, but it does so more dramatically (It’s basically a drama queen). At first the rate of change in the variable is small, but once it begins to increase it really takes off! exp_accel_OP You can use the power function built into the Arduino IDE to make a variable change exponentially. The power function syntax is quite easy. pow( base, exponent ) 1 pow( base, exponent ) The parameter base is the number that get raised to the power of the exponent. Like 2 to the 5th power. Below is an example of how you might code it to change a variable exponentially over the course of a ‘for loop’. for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel grows exponentially as the for loop continues accel = pow(2, i); }//close for 1 2 3 4 5 6 for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel grows exponentially as the for loop continues accel = pow(2, i); }//close for Looking at a chart of accel over the course of the ‘for loop’, we can see that the way it changes is much different than linear acceleration: Expo Chart_OP The theme for exponential growth is that is starts out slow, but once it starts going it really get’s going! Using the Square Root Function for Acceleration The square root function can also provide some flavor to the output from your Arduino. It’s syntax is simple: sqrt( x ) 1 sqrt( x ) It returns the square root of the number or variable that you put in the parenthesis. Below is an easy way to use it in a ‘for loop’: for (int i = 0; i < 6; i++) { //accel quickly decreases through the loop accel = sqrt(accel); }//close for 1 2 3 4 5 6 for (int i = 0; i < 6; i++) { //accel quickly decreases through the loop accel = sqrt(accel); }//close for Let’s look at how accel changes over the course of the for loop(let’s say it started at 10,000): sqrt Chart_OP You can see the a rapid deceleration in the value of the accel variable of the ‘for loop’. Practice With Acceleration: If you want to take a look at what these types of acceleration will do in “real” life, then set up the circuit below. You Will Need: (10) LEDs (10) 220 Ohm Resistors (1) Jumper Wire Arduino Board Bread Board Black Marker Set Up The Circuit: Start by by placing one resistor at pin 2 on your Arduino. Connect the other end of the resistor to the breadboard and then connect the long leg of the LED to the resistor. Place the short leg of the LED in the outer ground rail of the bread board. Circuit_1_bb_OP Then add 9 more resistors and LEDs across – you should stop at Pin 11 on the Arduino. Then add a jumper wire from GND on the Arduino to the shared ground on the breadboard. (All LEDs not pictured). Circuit_3_bb_OP That is pretty much it for the circuit. Below are the code examples for the different ways to program acceleration that we talked about: Here is the code for the linear acceleration: /* Linaer ( Constant ) Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. int timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins, OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer (EASY WAY) timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 /* Linaer ( Constant ) Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. int timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins[thisPin], OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer (EASY WAY) timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop Here is the code for the exponential acceleration: /* Exponential Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins, OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 /* Exponential Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins[thisPin], OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop Here is the code for messing around with the square root: /* square root The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins, OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 /* square root The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins[thisPin], OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop I hope the lesson was helpful. The idea of adding acceleration to a sketch can seem a bit intimidating at first, but as you can see, it turns out to be a rather simple addition of code. Try on Your Own Challenge: Can you make the fade amount of an LED accelerate/deccelerate? Can you add a potentiometer to the circuit above and find a way to control the amount of acceleration – either linear, exponential or otherwise. Arduino Tutorials | Free Arduino Course | Pricing | About | Member Access | Privacy Policy | Contact Copyright © 2016 Open Hardware Design Group LLC · All Rights Reserved (OK, maybe not a couple) · Log in

Arduino 3 phase induction motor variable frequency3 Ways to Use Acceleration in an Arduino Sketch 1Share 7Share Tweet 0Pin This lesson covers three easy ways to implement some form of acceleration in your Arduino sketches. It will cover the following: Linear Acceleration Exponential Acceleration Messing Around with the Square Root function What is Acceleration? Acceleration is the rate of change of something over time. Acceleration would help describe things like: Have fast can a stopped car get to 88mph? If I do a wing-suit jump from the top of Mount Everest, how fast will I be when I am gliding over base camp? How can I gently slow down the movement of a mechanical servo before it comes to rest? We can implement acceleration when programming Arduino quite easily with just a couple lines of code. The basic concept is that a variable will need to change – how it changes over the course of the sketch is what we are interested in. Below are three examples of how we can code change in variables so they display acceleration. Linear acceleration Linear acceleration is a constant rate of change. It can be represented by a sloped line on an x-y axis. Linear_accel_OP A simple way to use it is to increment or decrement a variable every time through a loop like below… for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel gets increasingly smaller as for loop continues accel = accel - 100; }//close for 1 2 3 4 5 6 for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel gets increasingly smaller as for loop continues accel = accel - 100; }//close for You can see in the code above, that each time through the ‘for loop’, the accel variable is decreasing by 100. If accel started at 1000, this is what accel would look like with respect to the number of iterations of the for loop. Accel Chart_OP You can see that the accel variable decreases at a set rate over time in a linear fashion. Exponential Acceleration Exponential acceleration changes over time too, but it does so more dramatically (It’s basically a drama queen). At first the rate of change in the variable is small, but once it begins to increase it really takes off! exp_accel_OP You can use the power function built into the Arduino IDE to make a variable change exponentially. The power function syntax is quite easy. pow( base, exponent ) 1 pow( base, exponent ) The parameter base is the number that get raised to the power of the exponent. Like 2 to the 5th power. Below is an example of how you might code it to change a variable exponentially over the course of a ‘for loop’. for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel grows exponentially as the for loop continues accel = pow(2, i); }//close for 1 2 3 4 5 6 for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel grows exponentially as the for loop continues accel = pow(2, i); }//close for Looking at a chart of accel over the course of the ‘for loop’, we can see that the way it changes is much different than linear acceleration: Expo Chart_OP The theme for exponential growth is that is starts out slow, but once it starts going it really get’s going! Using the Square Root Function for Acceleration The square root function can also provide some flavor to the output from your Arduino. It’s syntax is simple: sqrt( x ) 1 sqrt( x ) It returns the square root of the number or variable that you put in the parenthesis. Below is an easy way to use it in a ‘for loop’: for (int i = 0; i < 6; i++) { //accel quickly decreases through the loop accel = sqrt(accel); }//close for 1 2 3 4 5 6 for (int i = 0; i < 6; i++) { //accel quickly decreases through the loop accel = sqrt(accel); }//close for Let’s look at how accel changes over the course of the for loop(let’s say it started at 10,000): sqrt Chart_OP You can see the a rapid deceleration in the value of the accel variable of the ‘for loop’. Practice With Acceleration: If you want to take a look at what these types of acceleration will do in “real” life, then set up the circuit below. You Will Need: (10) LEDs (10) 220 Ohm Resistors (1) Jumper Wire Arduino Board Bread Board Black Marker Set Up The Circuit: Start by by placing one resistor at pin 2 on your Arduino. Connect the other end of the resistor to the breadboard and then connect the long leg of the LED to the resistor. Place the short leg of the LED in the outer ground rail of the bread board. Circuit_1_bb_OP Then add 9 more resistors and LEDs across – you should stop at Pin 11 on the Arduino. Then add a jumper wire from GND on the Arduino to the shared ground on the breadboard. (All LEDs not pictured). Circuit_3_bb_OP That is pretty much it for the circuit. Below are the code examples for the different ways to program acceleration that we talked about: Here is the code for the linear acceleration: /* Linaer ( Constant ) Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. int timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins, OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer (EASY WAY) timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 /* Linaer ( Constant ) Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. int timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins[thisPin], OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer (EASY WAY) timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop Here is the code for the exponential acceleration: /* Exponential Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins, OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 /* Exponential Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins[thisPin], OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop Here is the code for messing around with the square root: /* square root The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins, OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 /* square root The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins[thisPin], OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop I hope the lesson was helpful. The idea of adding acceleration to a sketch can seem a bit intimidating at first, but as you can see, it turns out to be a rather simple addition of code. Try on Your Own Challenge: Can you make the fade amount of an LED accelerate/deccelerate? Can you add a potentiometer to the circuit above and find a way to control the amount of acceleration – either linear, exponential or otherwise. Arduino Tutorials | Free Arduino Course | Pricing | About | Member Access | Privacy Policy | Contact Copyright © 2016 Open Hardware Design Group LLC · All Rights Reserved (OK, maybe not a couple) · Log in

Arduino 3 phase induction motor variable frequency3 Ways to Use Acceleration in an Arduino Sketch 1Share 7Share Tweet 0Pin This lesson covers three easy ways to implement some form of acceleration in your Arduino sketches. It will cover the following: Linear Acceleration Exponential Acceleration Messing Around with the Square Root function What is Acceleration? Acceleration is the rate of change of something over time. Acceleration would help describe things like: Have fast can a stopped car get to 88mph? If I do a wing-suit jump from the top of Mount Everest, how fast will I be when I am gliding over base camp? How can I gently slow down the movement of a mechanical servo before it comes to rest? We can implement acceleration when programming Arduino quite easily with just a couple lines of code. The basic concept is that a variable will need to change – how it changes over the course of the sketch is what we are interested in. Below are three examples of how we can code change in variables so they display acceleration. Linear acceleration Linear acceleration is a constant rate of change. It can be represented by a sloped line on an x-y axis. Linear_accel_OP A simple way to use it is to increment or decrement a variable every time through a loop like below… for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel gets increasingly smaller as for loop continues accel = accel - 100; }//close for 1 2 3 4 5 6 for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel gets increasingly smaller as for loop continues accel = accel - 100; }//close for You can see in the code above, that each time through the ‘for loop’, the accel variable is decreasing by 100. If accel started at 1000, this is what accel would look like with respect to the number of iterations of the for loop. Accel Chart_OP You can see that the accel variable decreases at a set rate over time in a linear fashion. Exponential Acceleration Exponential acceleration changes over time too, but it does so more dramatically (It’s basically a drama queen). At first the rate of change in the variable is small, but once it begins to increase it really takes off! exp_accel_OP You can use the power function built into the Arduino IDE to make a variable change exponentially. The power function syntax is quite easy. pow( base, exponent ) 1 pow( base, exponent ) The parameter base is the number that get raised to the power of the exponent. Like 2 to the 5th power. Below is an example of how you might code it to change a variable exponentially over the course of a ‘for loop’. for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel grows exponentially as the for loop continues accel = pow(2, i); }//close for 1 2 3 4 5 6 for (int i = 0; i < 10; i++) { //accel grows exponentially as the for loop continues accel = pow(2, i); }//close for Looking at a chart of accel over the course of the ‘for loop’, we can see that the way it changes is much different than linear acceleration: Expo Chart_OP The theme for exponential growth is that is starts out slow, but once it starts going it really get’s going! Using the Square Root Function for Acceleration The square root function can also provide some flavor to the output from your Arduino. It’s syntax is simple: sqrt( x ) 1 sqrt( x ) It returns the square root of the number or variable that you put in the parenthesis. Below is an easy way to use it in a ‘for loop’: for (int i = 0; i < 6; i++) { //accel quickly decreases through the loop accel = sqrt(accel); }//close for 1 2 3 4 5 6 for (int i = 0; i < 6; i++) { //accel quickly decreases through the loop accel = sqrt(accel); }//close for Let’s look at how accel changes over the course of the for loop(let’s say it started at 10,000): sqrt Chart_OP You can see the a rapid deceleration in the value of the accel variable of the ‘for loop’. Practice With Acceleration: If you want to take a look at what these types of acceleration will do in “real” life, then set up the circuit below. You Will Need: (10) LEDs (10) 220 Ohm Resistors (1) Jumper Wire Arduino Board Bread Board Black Marker Set Up The Circuit: Start by by placing one resistor at pin 2 on your Arduino. Connect the other end of the resistor to the breadboard and then connect the long leg of the LED to the resistor. Place the short leg of the LED in the outer ground rail of the bread board. Circuit_1_bb_OP Then add 9 more resistors and LEDs across – you should stop at Pin 11 on the Arduino. Then add a jumper wire from GND on the Arduino to the shared ground on the breadboard. (All LEDs not pictured). Circuit_3_bb_OP That is pretty much it for the circuit. Below are the code examples for the different ways to program acceleration that we talked about: Here is the code for the linear acceleration: /* Linaer ( Constant ) Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. int timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins, OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer (EASY WAY) timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 /* Linaer ( Constant ) Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. int timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins[thisPin], OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer (EASY WAY) timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = timer - 100; //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop Here is the code for the exponential acceleration: /* Exponential Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins, OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 /* Exponential Acceleration The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins[thisPin], OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = pow(2, thisPin); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop Here is the code for messing around with the square root: /* square root The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins, OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins, HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins, LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 /* square root The circuit: * LEDs from pins 2 through 11 to ground created 2006 by David A. Mellis modified 30 Aug 2011 by Tom Igoe Modifeid 21 Jul 2014 by Michael James This example code is in the public domain. http://www.arduino.cc/en/Tutorial/Array */ //Declare and initialize variables // The higher the number, the slower the timing. float timer = 1000; // an array of pin numbers to which LEDs are attached int ledPins[] = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 }; // the number of pins (i.e. the length of the array) int pinCount = 10; void setup() { // the array elements are numbered from 0 to (pinCount - 1). // use a for loop to initialize each pin as an output: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { pinMode(ledPins[thisPin], OUTPUT); } //Start Serial Communication Serial.begin(9600); }//close setup void loop() { // loop from the lowest pin to the highest: for (int thisPin = 0; thisPin < pinCount; thisPin++) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Back ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; // loop from the highest pin to the lowest: for (int thisPin = pinCount - 1; thisPin >= 0; thisPin--) { // turn the pin on: digitalWrite(ledPins[thisPin], HIGH); delay(timer); // turn the pin off: digitalWrite(ledPins[thisPin], LOW); //decrement timer timer = sqrt(timer); //let's take a look at the numbers via the serial monitor window (Tools > Serial Monitor) Serial.print("Forth ... LED #"); Serial.print(thisPin); Serial.print(" = "); Serial.println(timer); }//close for //reset timer for next for loop timer = 1000; }//close loop I hope the lesson was helpful. The idea of adding acceleration to a sketch can seem a bit intimidating at first, but as you can see, it turns out to be a rather simple addition of code. Try on Your Own Challenge: Can you make the fade amount of an LED accelerate/deccelerate? Can you add a potentiometer to the circuit above and find a way to control the amount of acceleration – either linear, exponential or otherwise. Arduino Tutorials | Free Arduino Course | Pricing | About | Member Access | Privacy Policy | Contact Copyright © 2016 Open Hardware Design Group LLC · All Rights Reserved (OK, maybe not a couple) · Log in

แนวทาง การสร้างอินเวอร์เตอร์ https://www..com/user/MrSompongt/videos เลือกชมคลิป..ดี ดี ได้เลยครับ.รวมคลิปการเปลี่ยนพลังงานและประหยัดพลังงาน การสร้างเครื่อง ปรับรอบ ความเร็วมอเตอร์มอเตอร์ไฟฟ้า สามเฟส ใช้ไฟฟ้ากระแสลับ เฟสเดียว ใช้ไฟฟ้ากระแสตรง จากแบตเตอรี่ โดยใช้เทคโนโลยี ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATMEL Atmega และ Arduino จำหน่าย Power Module และ โปรแกรม Arduino ให้เป็น อินเวอร์เตอร์ สามเฟส ได้รับความอนุเคราะห์ โค๊ด จากท่าน Tomasz Drazek ประเทศโปแลนด์ 3 Phase Motor Control Code Arduino 328 P Thank you very much, sir โค๊ด และวงจร อยู่นี่ครับ https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 hank you very much, sir https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 รุ่นใหม่ ราคา1000 บาท ครับ นำไปบัดกรีและต่อเติมตามถนัดครับ..มี บอร์ด Arduino 1 บอร์ด ราคา 700 บาท และ PS21244 1 หรือ PS21963 หรือ PS219A2 ราคา ตัวละ 300 บาท ครับ ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2559 จำหน่าย POWER MODULE 6DI15s-050 MP6501A TM51 PS21244 PS21963 GT15J331 ใช้สำหรับ สร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ สามเฟส ที่ใช้ใน เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่มีมอเตอร์ ชนิดสามเฟส ติดต่อที่ LINE pornpimon 1411 Intelligent power module PS21244 มีจำหน่าย ราคาตัวละ 300 บาท NEW MODULE 6DI15S-050 FUJI LOCATION M in Business & Industrial, Electrical & Test Equipment, Industrial Automation, Control มีจำหน่ายราคาตัวละ 300 บาท TM52A สินค้าหมดแล้วครับ....https://www..com/watch?v=fpP69G42wok ดูรายละเอียดจากคลิป ง่ายกว่าครับ มีหลายคลิป เบื้องต้นทำสัญญาน 6 ตำแหน่งให้ ต่ำกว่า 0.5 Volt ครับ ค่า R PULL UP ใช้ 5.6 K-10K จะพอดีครับ ไฟเลี้ยง ต้องเรียบพอ ไม่ต่ำกว่า 15 Vdc ครับ รายละเอียดการต่อ PS21244 กับ MC3PHACแบบขนานและแบบธรรมดา...ชมการทดสอบจริงกับมอเตอร์ ห้าแรงไม่มีโหลด จากคลิปนี้ก็ได้ครับ...วงจรขนานที่ใช้ MOSFET STU 418 ยังใช้ไม่ได้..ไม่สมบูรณ์..ครับ...ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจhttps://www..com/watch?v=yXZhTqUhXqA TM52A...หมดแล้ว.ใช้ PS21244 ขนานกัน....ได้ครับ....ขาย ic หาง่าย ใช้ง่าย PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 D 6DI15S-050 C MP6501A TM52A TM51 ใช้ทำเครื่องอินเวอร์เตอร์ เครื่องปรับรอบมอเตอร์ เครื่องแปลงไฟฟ้า PS21244 ราคาตัวละ 300 บาท 4 ตัว 1000 บาท ครับค่าส่ง Ems 100 บาท ครับ Line:pornpimon 1411 มือถือ 081-803-6553 เบอร์บ้าน 02-951-1356 sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com https://www..com/watch?v=TYuLuP31QOw https://www..com/watch?v=yuMdz3fqhtg https://www..com/watch?v=ThGs-s99_J0 https://www..com/watch?v=bd97PM3v66A จำหน่าย ออกแบบ ซ่อม สร้าง อินเวอร์เตอร์ เครื่องควบคุมมอเตอร์ อินดัตชั่น สามเฟส รุ่นใหม่ ราคา1000 บาท ครับ นำไปบัดกรีและต่อเติมตามถนัดครับ..มี บอร์ด Arduino UNO ลงโปรแกรม VFD Variable Frequency Drive และทดสอบแล้ว 1 บอร์ด ราคา 800 บาท และ PS219A2 1 ตัว ราคา 200 บาท ครับ ลงวันที่ 30 กันยายน 2559 TM 51 รับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงตั้งแต่ 48 Voltsถึง 300 Volts ครับ รับกระแสได้ 10 ถึง 15 Amps แล้วจะทำหน้าที่ เปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสตรง -ทีแรงดัน 370-375 Volts เพื่อนำไปจ่ายให้กับ TM 52 A ครับ TM 52 A จะทำหน้าที่ขับมอเตอร์ สามเฟส 220/380 Volts สูงสุดที่ประมาณ 3- 5 แรงม้าแนะนำให้ใช้ที่..3 แรงม้าครับ..บอร์ด MC3PHAC ทำหน้าที่ สร้างและกำหนดค่าของสัญญาณ สามเฟส SINE WAVE แบบ PWM ครับ..มีจำหน่ายหลายที่ครับ ติดต่อกันเองก็แล้วกัน ถ้าหาไม่ได้ ลองโทรไปที่ 02 951 1356 และ 081-803-6553 นะครับ...หรือ ติดต่อที่ s o m p o n g i n d u s t r i a l @ g mail .com m r s o m p o n g t @h o t mail.comm ก็ได้ครับ จำหน่าย PS 21244 MITSUBISHI SEMICONDUCTOR TRANSFER-MOLD TYPE INSULATED TYPE 6 DI 15 S -050 C 6 DI 15 S-050 D TM 51 สำหรับท่านที่ซื้ออุปกรณ์นี้ไปแล้วหรือกำลังคิดจะซื้อ..ที่ยังหาวงจรสำหรับขับไม่ได้ ให้ใช้วงจรนี้ได้นะครับ.. 02-951-1356 ยินดีและขอบพระคุณทุกท่าน.มากครับ TOSHIBA GT15J331 ราคา ตัวละ 300 บาท 4 ตัว ราคา ตัวละ 250 บาทครับ บอร์ด drive l6569 บอร์ดละ 100 บาท แกนเฟอไรท์ มีหลาย ขนาด TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT GT15J331High Power Switching ApplicationsMotor

แนวทาง การสร้างอินเวอร์เตอร์ https://www..com/user/MrSompongt/videos เลือกชมคลิป..ดี ดี ได้เลยครับ.รวมคลิปการเปลี่ยนพลังงานและประหยัดพลังงาน การสร้างเครื่อง ปรับรอบ ความเร็วมอเตอร์มอเตอร์ไฟฟ้า สามเฟส ใช้ไฟฟ้ากระแสลับ เฟสเดียว ใช้ไฟฟ้ากระแสตรง จากแบตเตอรี่ โดยใช้เทคโนโลยี ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATMEL Atmega และ Arduino จำหน่าย Power Module และ โปรแกรม Arduino ให้เป็น อินเวอร์เตอร์ สามเฟส ได้รับความอนุเคราะห์ โค๊ด จากท่าน Tomasz Drazek ประเทศโปแลนด์ 3 Phase Motor Control Code Arduino 328 P Thank you very much, sir โค๊ด และวงจร อยู่นี่ครับ https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 hank you very much, sir https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 รุ่นใหม่ ราคา1000 บาท ครับ นำไปบัดกรีและต่อเติมตามถนัดครับ..มี บอร์ด Arduino 1 บอร์ด ราคา 700 บาท และ PS21244 1 หรือ PS21963 หรือ PS219A2 ราคา ตัวละ 300 บาท ครับ ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2559 จำหน่าย POWER MODULE 6DI15s-050 MP6501A TM51 PS21244 PS21963 GT15J331 ใช้สำหรับ สร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ สามเฟส ที่ใช้ใน เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่มีมอเตอร์ ชนิดสามเฟส ติดต่อที่ LINE pornpimon 1411 Intelligent power module PS21244 มีจำหน่าย ราคาตัวละ 300 บาท NEW MODULE 6DI15S-050 FUJI LOCATION M in Business & Industrial, Electrical & Test Equipment, Industrial Automation, Control มีจำหน่ายราคาตัวละ 300 บาท TM52A สินค้าหมดแล้วครับ....https://www..com/watch?v=fpP69G42wok ดูรายละเอียดจากคลิป ง่ายกว่าครับ มีหลายคลิป เบื้องต้นทำสัญญาน 6 ตำแหน่งให้ ต่ำกว่า 0.5 Volt ครับ ค่า R PULL UP ใช้ 5.6 K-10K จะพอดีครับ ไฟเลี้ยง ต้องเรียบพอ ไม่ต่ำกว่า 15 Vdc ครับ รายละเอียดการต่อ PS21244 กับ MC3PHACแบบขนานและแบบธรรมดา...ชมการทดสอบจริงกับมอเตอร์ ห้าแรงไม่มีโหลด จากคลิปนี้ก็ได้ครับ...วงจรขนานที่ใช้ MOSFET STU 418 ยังใช้ไม่ได้..ไม่สมบูรณ์..ครับ...ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจhttps://www..com/watch?v=yXZhTqUhXqA TM52A...หมดแล้ว.ใช้ PS21244 ขนานกัน....ได้ครับ....ขาย ic หาง่าย ใช้ง่าย PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 D 6DI15S-050 C MP6501A TM52A TM51 ใช้ทำเครื่องอินเวอร์เตอร์ เครื่องปรับรอบมอเตอร์ เครื่องแปลงไฟฟ้า PS21244 ราคาตัวละ 300 บาท 4 ตัว 1000 บาท ครับค่าส่ง Ems 100 บาท ครับ Line:pornpimon 1411 มือถือ 081-803-6553 เบอร์บ้าน 02-951-1356 sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com https://www..com/watch?v=TYuLuP31QOw https://www..com/watch?v=yuMdz3fqhtg https://www..com/watch?v=ThGs-s99_J0 https://www..com/watch?v=bd97PM3v66A จำหน่าย ออกแบบ ซ่อม สร้าง อินเวอร์เตอร์ เครื่องควบคุมมอเตอร์ อินดัตชั่น สามเฟส รุ่นใหม่ ราคา1000 บาท ครับ นำไปบัดกรีและต่อเติมตามถนัดครับ..มี บอร์ด Arduino UNO ลงโปรแกรม VFD Variable Frequency Drive และทดสอบแล้ว 1 บอร์ด ราคา 800 บาท และ PS219A2 1 ตัว ราคา 200 บาท ครับ ลงวันที่ 30 กันยายน 2559 TM 51 รับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงตั้งแต่ 48 Voltsถึง 300 Volts ครับ รับกระแสได้ 10 ถึง 15 Amps แล้วจะทำหน้าที่ เปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสตรง -ทีแรงดัน 370-375 Volts เพื่อนำไปจ่ายให้กับ TM 52 A ครับ TM 52 A จะทำหน้าที่ขับมอเตอร์ สามเฟส 220/380 Volts สูงสุดที่ประมาณ 3- 5 แรงม้าแนะนำให้ใช้ที่..3 แรงม้าครับ..บอร์ด MC3PHAC ทำหน้าที่ สร้างและกำหนดค่าของสัญญาณ สามเฟส SINE WAVE แบบ PWM ครับ..มีจำหน่ายหลายที่ครับ ติดต่อกันเองก็แล้วกัน ถ้าหาไม่ได้ ลองโทรไปที่ 02 951 1356 และ 081-803-6553 นะครับ...หรือ ติดต่อที่ s o m p o n g i n d u s t r i a l @ g mail .com m r s o m p o n g t @h o t mail.comm ก็ได้ครับ จำหน่าย PS 21244 MITSUBISHI SEMICONDUCTOR TRANSFER-MOLD TYPE INSULATED TYPE 6 DI 15 S -050 C 6 DI 15 S-050 D TM 51 สำหรับท่านที่ซื้ออุปกรณ์นี้ไปแล้วหรือกำลังคิดจะซื้อ..ที่ยังหาวงจรสำหรับขับไม่ได้ ให้ใช้วงจรนี้ได้นะครับ.. 02-951-1356 ยินดีและขอบพระคุณทุกท่าน.มากครับ TOSHIBA GT15J331 ราคา ตัวละ 300 บาท 4 ตัว ราคา ตัวละ 250 บาทครับ บอร์ด drive l6569 บอร์ดละ 100 บาท แกนเฟอไรท์ มีหลาย ขนาด TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT GT15J331High Power Switching ApplicationsMotor

วันศุกร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

รู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ถ้าพวกเราช่างสังเกต เราก็จะรู้ว่า จิตเรายังมีสองอย่างอยู่ มีจิตผู้รู้ที่มีความสุข กับจิตผู้หลงที่ไม่มีความสุข ตราบใดที่ยังมีสองยังไม่ใช่ของจริง จำไว้นะ ตราบใดที่ยังเป็นสองยังไม่ใช่ของจริงหรอก คอยรู้กายคอยรู้ใจไว้ พอรู้กายเต็มที่นะ มันจะปล่อยวางกาย มันจะย้อนทวนเข้าหาธาตุรู้ ตัวจิต พอรู้จิตเต็มที่เนี่ย ว่าเป็นอนิจจัง หรือเป็นทุกขัง หรือเป็นอนัตตา ในมุมใดมุมหนึ่งก็ปล่อยวางจิต พอปล่อยวางหมดทั้งกายหมดทั้งจิตนะ จิตใจก็จะพ้นจากความทุกข์จริงๆ พ้นจากขันธ์ นิพพานก็คือจิตมันพรากออกจากขันธ์ มันสำรอกออกจากขันธ์ หลุดออกจากขันธ์ได้ หมายเหตุ วิโมกข์ มี 3 อย่าง คือ สุญญตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนัตตา อนิมิตตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนิจจัง อัปปณิหิตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์ทุกขัง

รู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิตถ้าพวกเราช่างสังเกต เราก็จะรู้ว่า จิตเรายังมีสองอย่างอยู่ มีจิตผู้รู้ที่มีความสุข กับจิตผู้หลงที่ไม่มีความสุข ตราบใดที่ยังมีสองยังไม่ใช่ของจริง จำไว้นะ ตราบใดที่ยังเป็นสองยังไม่ใช่ของจริงหรอก คอยรู้กายคอยรู้ใจไว้ พอรู้กายเต็มที่นะ มันจะปล่อยวางกาย มันจะย้อนทวนเข้าหาธาตุรู้ ตัวจิต พอรู้จิตเต็มที่เนี่ย ว่าเป็นอนิจจัง หรือเป็นทุกขัง หรือเป็นอนัตตา ในมุมใดมุมหนึ่งก็ปล่อยวางจิต พอปล่อยวางหมดทั้งกายหมดทั้งจิตนะ จิตใจก็จะพ้นจากความทุกข์จริงๆ พ้นจากขันธ์ นิพพานก็คือจิตมันพรากออกจากขันธ์ มันสำรอกออกจากขันธ์ หลุดออกจากขันธ์ได้ หมายเหตุ วิโมกข์ มี 3 อย่าง คือ สุญญตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนัตตา อนิมิตตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนิจจัง อัปปณิหิตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์ทุกขัง

ถ้าเราไม่นิ่งนอนใจเราก็คอยรู้เท่าทันจิตใจของเราต่อไปเสร็จแล้วมันจะพ้นสติ...ถ้าพวกเราช่างสังเกต เราก็จะรู้ว่า จิตเรายังมีสองอย่างอยู่ มีจิตผู้รู้ที่มีความสุข กับจิตผู้หลงที่ไม่มีความสุข ตราบใดที่ยังมีสองยังไม่ใช่ของจริง จำไว้นะ ตราบใดที่ยังเป็นสองยังไม่ใช่ของจริงหรอก คอยรู้กายคอยรู้ใจไว้ พอรู้กายเต็มที่นะ มันจะปล่อยวางกาย มันจะย้อนทวนเข้าหาธาตุรู้ ตัวจิต พอรู้จิตเต็มที่เนี่ย ว่าเป็นอนิจจัง หรือเป็นทุกขัง หรือเป็นอนัตตา ในมุมใดมุมหนึ่งก็ปล่อยวางจิต พอปล่อยวางหมดทั้งกายหมดทั้งจิตนะ จิตใจก็จะพ้นจากความทุกข์จริงๆ พ้นจากขันธ์ นิพพานก็คือจิตมันพรากออกจากขันธ์ มันสำรอกออกจากขันธ์ หลุดออกจากขันธ์ได้ หมายเหตุ วิโมกข์ มี 3 อย่าง คือ สุญญตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนัตตา อนิมิตตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนิจจัง อัปปณิหิตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์ทุกขัง

ผู้ไม่มีร่องรอยกิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นด้วยเศียรเกล้าพระสังคิณี บาลี คำอ่าน กุสลา ธมฺมา อกุสลา ธมฺมา อพฺยากตา ธมฺมา, กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา, กตเม ธมฺมา กุสลา, ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ยัสมิง สะมะเย กามาวะจะรัง กุสลํ จิตฺตํ อุปฺปนฺนํ โหติ โสมนสฺสสหคตํ กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติ โสมะนัสสะสะหะคะตัง าณสมฺปยุตฺตํ รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา ญาณะสัมปะยุตตัง รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา คัณธารัมมะณัง วา ระสารัมมะนัง วา โผฏฺพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา โผฏฐัพพา รัมมะณัง วา ธัมมา รัมมะณัง วา ยํ ยํ วา ปนารพฺภ ตสฺมึ สมเย ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ ตัสมิง สะมะเย ผสฺโส โหติ อวิกฺเขโป โหติ เย วา ปน ตสฺมึ ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ เย วา ปะนะ ตัสมิง สมเย อญฺเปิ อตฺถิ ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนา สะมะเย อัญเญปิ อัตถิ ปฏิจจะสะมุปปันนา อรูปิโน ธมฺมา อิเม ธมฺมา กุสลา ฯ อรูปิโน ธัมมา อิเม ธัมมา กุสะลา. พระสังคิณี (แปล) ธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต ธรรมเหล่าไหนเป็นกุศล ในสมัยใด กามาวจรกุศลจิต ที่สหรคตด้วยโสมนัส สัมปยุคด้วยญาณ เกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใดๆ จะเป็นรุปารมณ์ก็ดี สัททารมณ์ก็ดี คันธารมณ์ก็ดี รสารมณ์ก็ดี โผฏฐัพพารมณ์ก็ดี ธรรมารมณ์ก็ดี ในสมัยนั้น ผัสสะ ความฟุ้งซ้านย่อมมี อีกอย่างหนึ่งในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใดแม้อื่น มีอยู่ เป็นธรรมที่ไม่มีรูป อาศัยกันและกันเกิดขึ้น ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล. พระวิภังค์ บาลี คำอ่าน ปญฺจกฺขนฺธา รูปกฺขนฺโธ เวทนากฺขนฺโธ สญฺากฺขนฺโธ ปัญจักขันธา รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญฺาณกฺขนฺโธ ฯ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ, ตตฺถ กตโม รูปกฺขนฺโธ ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ, ยงฺกิญฺจิ รูปํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะ ตะปัจจุปปันนัง อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา อัชฌัตตัง วา พะหิตธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยัง ทูเร สันติเก วา ตเทกชฺฌํ อภิสญฺูหิตฺวา อภิสงฺขิปิตฺวา ตะเทกัชฌัง อภิสัญญูหิตวา อภิสังขิปิตวา อยํ วุจฺจติ รูปกฺขนฺโธ ฯ อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ. พระวิภังค์ (แปล) ขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ บรรดาขันธ์ทั้งหมด รูปขันธ์เป็นอย่างไร รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุปัน ภายในก็ตาม หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม เลวก็ตาม ประณีตก็ตาม อยู่ไกลก็ตาม อยู่ใกล้ก็ตาม นั้นกล่าวรวมกันเรียกว่ารูปขันธ์ พระธาตุกถา บาลี คำอ่าน สงฺคโห อสงฺคโห , สังคะโห อะสังคะโห, สงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ อสงฺคหิเตน สงฺคหิตํ สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง สงฺคหิเตน สงฺคหิตํ อสงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง สมฺปโยโค วิปฺปโยโค สมฺปยุตฺเตน วิปฺปยุตฺตํ สัมปะโยโค วิปปะโยโค, สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง วิปฺปยุตฺเตน สมฺปยุตฺตํ อสงฺคหิตํ ฯ วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง อะสังคะหิตัง. พระธาตุกถา (แปล) การสงเคราะห์ การไม่สงเคราะห์ คือ สิ่งที่ไม่ให้สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ได้ สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ การอยู่ด้วยกัน การพลัดพรากคือ การพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน การอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากไปจัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้. พระปุคคะละปัญญัตติ บาลี คำอ่าน ฉ ปญฺตฺติโย ขนฺธปญฺตฺติ อายตนปญฺตฺติ ฉะ ปัญญัตติโย ขันธะปัญญัตติ อายะตะนะปัญญัตติ ธาตุปญฺตฺติ สจฺจปญฺตฺติ อินฺทฺริยปญฺตฺติ ธาตุปัญญัตติ สัจจะปัญญัตติ อินทริยะปัญญัตติ ปุคฺคลปญฺตฺติ ฯ ปุคคะละปัญญัตติ, กิตตาวะตา กิตฺตาวตา ปุคฺคลานํ ปุคฺคลปญฺตฺติ, ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติ, สมยวิมุตฺโต อสมยวิมุตฺโต สะมะยะวิมุตโต อะสะมะยะวิมุตโต กุปฺปธมฺโม อกุปฺปธมฺโม กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม ปริหานธมฺโม อปริหานธมฺโม ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม เจตนาภพฺโพ อนุรกฺขนาภพฺโพ เจตะนาภัพโพ อนุรักขะนาภัพโพ ปุถุชฺชโน โคตฺรภู ภยูปรโต อภยูปรโต ปุถุชชะโน โคตระภู ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต ภพฺพาคมโน อภพฺพาคมโน นิยโต อนิยโต ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน นิยะโต อะนิยะโต ปฏิปนฺนโก ผเลฏฺิโต อรหา อรหตฺตาย ปฏิปนฺโน ฯ ปฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต อะระหา อะระหัตตายะ ปฏิปันโน. พระปุคคะละปัญญัตติ (แปล) บัญญัติ ๖ คือ ขันธบัญญัติ อายตนบัญญัติ ธาตุบัญญัติ สัจจบัญญัติ อินทรีย์บัญญัติ บุคคลบัญญัติ บุคคลบัญญัติของบุคคลมีเท่าไร มีการพ้นจากสิ่งที่ควรรู้ การพ้นจากสิ่งที่ไม่ควรรู้ ผู้มีธรรมที่กำเริบได้ ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้ ผู้มีธรรมที่ควรแก่เจตนา ผู้มีธรรมที่ควรแก่การรักษา ผู้ที่เป็นปุถุชน ผู้รู้ตระกูลโคตร ผู้เข้าถึงภัย ผู้เข้าถึงอภัย ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ควร ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ไม่ควร ผู้เที่ยง ผู้ไม่เที่ยง ผู้ปฏิบัติ ผู้ตั้งอยู่ในผล ผู้เป็นพระอรหันต์ ผู้ปฏิบัติเพื่อพระอรหันต์. พระกถาวัตถุ บาลี คำอ่าน ปุคฺคโล อุปลพฺภติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ ฯ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัฏฐะปะระมัตเฐนาติ อามนฺตา ฯ อามันตา, โย สจฺฉิกฏฺโ ปรมฏฺโ ตโต โส โย สัจฉิกัฏโฐ ปะระมัฏโฐ ตะโต โส ปุคฺคโล อุปลพฺภติ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ ฯ สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนาติ, น เหวํ วตฺตพฺเพ ฯ นะ เหวัง วัตตัพเพ, อาชานาหิ นิคฺคหํ หญฺจิ ปุคฺคโล อุปลพฺภติ อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเน เตน วต เร สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนะ เตนะ วะตะ เร วตฺตพฺเพ โย สจฺฉิกฏฺโ ปรมฏฺโ ตโต โส วัตตัพเพ โย สัจฉิกัฏโฐ ปะระมัฏโฐ ตะโต โส ปุคฺคโล อุปลพฺภติ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ มิจฺฉา ฯ สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนาติ, มิจฉา. พระกถาวัตถุ (แปล) (ถาม) ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ ความหมายที่แท้จริงหรือ (ตอบ) ใช่... ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายที่แท้จริง (ถาม) ปรมัตถ์ คือ ความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ ค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงอันนั้นหรือ (ตอบ) ท่านไม่ควรกล่าวอย่างนี้ ท่านจงรู้นิคคะหะเถิด ว่าท่านค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายอันแท้จริงแล้ว ท่านก็ควรกล่าวด้วยเหตุนั้นว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงนั้น คำตอบของท่านที่ว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์คือ โดยความหมายอันแท้จริงนั้นจึงผิด. พระยะมะกะ บาลี คำอ่าน เยเกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูลา เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูลา, เย วา ปน กุสลมูลา สพฺเพ เต ธมฺมา กุสลา ฯ เย วา ปะนะ กุสะละมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา, เยเกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูเลน เอกมูลา เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, เย วา ปน กุสลมูเลน เอกมูลา สพฺเพ เต เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา สัพเพ เต ธมฺมา กุสลา ฯ ธัมมา กุสะลา. พระยะมะกะ (แปล) ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีกุศลเป็นมูล อีกอย่าง ธรรมเหล่าใดมีกุศลเป็นมูล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดก็เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีอันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล อีกอย่างหนึ่ง ธรรมเหล่าใดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล. พระมหาปัฏฐาน บาลี คำอ่าน เหตุปจฺจโย อารมฺมณปจฺจโย อธิปติปจฺจโย เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อธิปะติปัจจะโย อนนฺตรปจฺจโย สมนนฺตรปจฺจโย อนันตะระปัจจะโย สะมะนันตะระปัจจะโย สหชาตปจฺจโย อญฺมญฺปจฺจโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสฺสยปจฺจโย อุปนิสฺสยปจฺจโย ปุเรชาตปจฺจโย นิสสะยะปัจจะโย อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปจฺฉาชาตปจฺจโย อาเสวนปจฺจโย กมฺมปจฺจโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย กัมมะปัจจะโย วิปากปจฺจโย อาหารปจฺจโย อินฺทฺริยปจฺจโย วิปากะปัจจะโย อาหาระปัจจะโย อินทริยะปัจจะโย ฌานปจฺจโย มคฺคปจฺจโย ฌานะปัจจะโย มัคคะปัจจะโย สมฺปยุตฺตปจฺจโย วิปฺปยุตฺตปจฺจโย อตฺถิปจฺจโย สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นตฺถิปจฺจโย วิคตปจฺจโย อวิคตปจฺจโย ฯ นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย อะวิคะตะปัจจะโย. พระมหาปัฏฐาน (แปล) ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัยหาที่สุดมิได้ ธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน ธรรมที่เกิดพร้อมกับปัจจัย ธรรมที่เป็นปัจจัยของกันและกัน ธรรมที่มีนิสัยเป็นปัจจัย ธรรมที่มีธรรมเกิดก่อนเป็นปัจจัย ธรรมที่มีธรรมเกิดภายหลังเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย ธรรมทีมีฌานเป็นปัจจัย ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ไม่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัย ธรรมที่ไม่มีปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่ไม่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย. แสดงน้อยลง ตอบกลับ 1 Sompong Tungmepol เพิ่มการตอบกลับสาธารณะ... ยกเลิก ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 2 ปีที่ผ่านมา เราภาวนาไปแล้วเราจะไม่ได้อะไรมา และเราจะไม่ได้เสียอะไรไป เพราะเราไม่มีอะไรอยู่ตั้งแต่้แรกแล้ว จะไม่มีอะไรเลย จิตถัดจากนั้นจะเป็นอย่างไร จิตที่ปล่อยวางจิตไปแล้ว จะมีแต่ความสุขล้วนๆ ยืนเดินนั่งนอนมีแต่ความสุขล้วนๆเลย เกิดอะไรขึ้น จิตจะไม่มีกระเพื่อมไหวเลย กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกับธรรมชาติ ฉะนั้นจิตกับธรรมะก็เป็นอันเดียวกัน หลอมหลวมเข้าด้วยกัน จิตที่หลอมรวมเข้ากับธรรมแล้ว จิตกับธรรมะก็เป็นอันเดียวกัน จิตอันนั้นเรียกว่า “พระสงฆ์” จิตอันนั้นเป็น “พระพุทธ-พุทธะ” พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นอันเดียวกัน อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 2 ปีที่ผ่านมา สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำ ตอบกลับ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 2 ปีที่ผ่านมา สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ตอบกลับ 2 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol 2 ปีที่ผ่านมา ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นด้วยเศียรเกล้า ตอบกลับ 1

วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

วันนี้ ไม่รู้จะทำยังไงดี ทำไม่ได้สักทีสุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราวจิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะจะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มีมีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้นจิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนา

Arduino 3 phase motor speed control #ifndef __PGMSPACE_H_ #define __PGMSPACE_H_ 1 #include #define PROGMEM #define PGM_P const char * #define PSTR(str) (str) typedef void prog_void; typedef char prog_char; typedef unsigned char prog_uchar; typedef int8_t prog_int8_t; typedef uint8_t prog_uint8_t; typedef int16_t prog_int16_t; typedef uint16_t prog_uint16_t; typedef int32_t prog_int32_t; typedef uint32_t prog_uint32_t; #define strcpy_P(dest, src) strcpy((dest), (src)) #define strcat_P(dest, src) strcat((dest), (src)) #define strcmp_P(a, b) strcmp((a), (b)) #define pgm_read_byte(addr) (*(const unsigned char *)(addr)) #define pgm_read_word(addr) (*(const unsigned short *)(addr)) #define pgm_read_dword(addr) (*(const unsigned long *)(addr)) #define pgm_read_float(addr) (*(const float *)(addr)) #define pgm_read_byte_near(addr) pgm_read_byte(addr) #define pgm_read_word_near(addr) pgm_read_word(addr) #define pgm_read_dword_near(addr) pgm_read_dword(addr) #define pgm_read_float_near(addr) pgm_read_float(addr) #define pgm_read_byte_far(addr) pgm_read_byte(addr) #define pgm_read_word_far(addr) pgm_read_word(addr) #define pgm_read_dword_far(addr) pgm_read_dword(addr) #define pgm_read_float_far(addr) pgm_read_float(addr) #endif // Look Up table of a single sine period divied up into 256 values. Refer to PWM to sine.xls on how the values was calculated PROGMEM prog_uchar sine256[] = { 127,130,133,136,139,143,146,149,152,155,158,161,164,167,170,173,176,178,181,184,187,190,192,195,198,200,203,205,208,210,212,215,217,219,221,223,225,227,229,231,233,234,236,238,239,240, 242,243,244,245,247,248,249,249,250,251,252,252,253,253,253,254,254,254,254,254,254,254,253,253,253,252,252,251,250,249,249,248,247,245,244,243,242,240,239,238,236,234,233,231,229,227,225,223, 221,219,217,215,212,210,208,205,203,200,198,195,192,190,187,184,181,178,176,173,170,167,164,161,158,155,152,149,146,143,139,136,133,130,127,124,121,118,115,111,108,105,102,99,96,93,90,87,84,81,78, 76,73,70,67,64,62,59,56,54,51,49,46,44,42,39,37,35,33,31,29,27,25,23,21,20,18,16,15,14,12,11,10,9,7,6,5,5,4,3,2,2,1,1,1,0,0,0,0,0,0,0,1,1,1,2,2,3,4,5,5,6,7,9,10,11,12,14,15,16,18,20,21,23,25,27,29,31, 33,35,37,39,42,44,46,49,51,54,56,59,62,64,67,70,73,76,78,81,84,87,90,93,96,99,102,105,108,111,115,118,121,124 }; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) //define a bit to have the properties of a clear bit operator #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit))//define a bit to have the properties of a set bit operator int PWM1= 11;// PWM1 output, phase 1 int PWM2 = 3; //[WM2 ouput, phase 2 int PWM3 = 10; //PWM3 output, phase 3 int offset_1 = 85; //offset 1 is 120 degrees out of phase with previous phase, Refer to PWM to sine.xls int offset_2 = 170; //offset 2 is 120 degrees out of phase with offset 1. Refer to PWM to sine.xls int program_exec_time = 6; //monitor how quickly the interrupt trigger int ISR_exec_time = 7; //monitor how long the interrupt takes double dfreq; const double refclk=31376.6; // measured output frequency // variables used inside interrupt service declared as voilatile volatile byte current_count; // Keep track of where the current count is in sine 256 array volatile byte ms4_delay; //variable used to generate a 4ms delay volatile byte c4ms; // after every 4ms this variable is incremented, its used to create a delay of 1 second volatile unsigned long phase_accumulator; // pahse accumulator volatile unsigned long tword_m; // dds tuning word m, refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. void setup() { pinMode(PWM1, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM2, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM3, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(program_exec_time, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(9, OUTPUT); //sets the digital pin as output sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin Setup_timer1(); Setup_timer2(); //Disable Timer 1 interrupt to avoid any timing delays cbi (TIMSK0,TOIE0); //disable Timer0 !!! delay() is now not available sbi (TIMSK2,TOIE2); //enable Timer2 Interrupt dfreq=1000.0; //initial output frequency = 1000.o Hz tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //calulate DDS new tuning word } void loop() { while(1) { sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin if (c4ms > 250) // c4ms = 4ms, thus 4ms *250 = 1 second delay { c4ms=0; //Reset c4ms dfreq=analogRead(0); //Read voltage on analog 1 to see desired output frequency, 0V = 0Hz, 5V = 1.023kHz cbi (TIMSK2,TOIE2); //Disable Timer2 Interrupt tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //Calulate DDS new tuning word sbi (TIMSK2,TOIE2); //Enable Timer2 Interrupt } } } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer1(void) { // Timer1 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); cbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); cbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer2() { // Timer2 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Timer2 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match sbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); sbi (TCCR2A, COM2B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } //Timer2 Interrupt Service at 31372,550 KHz = 32uSec //This is the timebase REFCLOCK for the DDS generator //FOUT = (M (REFCLK)) / (2 exp 32) //Runtime : 8 microseconds ISR(TIMER2_OVF_vect) { cbi(PORTD,program_exec_time); //Clear the pin sbi(PORTD,ISR_exec_time); // Sets the pin phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; //Adds tuning M word to previoud phase accumulator. refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. current_count=phase_accumulator >> 24; // use upper 8 bits of phase_accumulator as frequency information OCR2A=pgm_read_byte_near(sine256 + current_count); // read value fron ROM sine table and send to PWM OCR2B=pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_1)); // read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM1 OCR1A = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 OCR1B = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 //increment variable ms4_delay every 4mS/125 = milliseconds 32uS if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count } cbi(PORTD,ISR_exec_time); //Clear the pin }

Arduino 3 phase motor speed control #ifndef __PGMSPACE_H_ #define __PGMSPACE_H_ 1 #include #define PROGMEM #define PGM_P const char * #define PSTR(str) (str) typedef void prog_void; typedef char prog_char; typedef unsigned char prog_uchar; typedef int8_t prog_int8_t; typedef uint8_t prog_uint8_t; typedef int16_t prog_int16_t; typedef uint16_t prog_uint16_t; typedef int32_t prog_int32_t; typedef uint32_t prog_uint32_t; #define strcpy_P(dest, src) strcpy((dest), (src)) #define strcat_P(dest, src) strcat((dest), (src)) #define strcmp_P(a, b) strcmp((a), (b)) #define pgm_read_byte(addr) (*(const unsigned char *)(addr)) #define pgm_read_word(addr) (*(const unsigned short *)(addr)) #define pgm_read_dword(addr) (*(const unsigned long *)(addr)) #define pgm_read_float(addr) (*(const float *)(addr)) #define pgm_read_byte_near(addr) pgm_read_byte(addr) #define pgm_read_word_near(addr) pgm_read_word(addr) #define pgm_read_dword_near(addr) pgm_read_dword(addr) #define pgm_read_float_near(addr) pgm_read_float(addr) #define pgm_read_byte_far(addr) pgm_read_byte(addr) #define pgm_read_word_far(addr) pgm_read_word(addr) #define pgm_read_dword_far(addr) pgm_read_dword(addr) #define pgm_read_float_far(addr) pgm_read_float(addr) #endif // Look Up table of a single sine period divied up into 256 values. Refer to PWM to sine.xls on how the values was calculated PROGMEM prog_uchar sine256[] = { 127,130,133,136,139,143,146,149,152,155,158,161,164,167,170,173,176,178,181,184,187,190,192,195,198,200,203,205,208,210,212,215,217,219,221,223,225,227,229,231,233,234,236,238,239,240, 242,243,244,245,247,248,249,249,250,251,252,252,253,253,253,254,254,254,254,254,254,254,253,253,253,252,252,251,250,249,249,248,247,245,244,243,242,240,239,238,236,234,233,231,229,227,225,223, 221,219,217,215,212,210,208,205,203,200,198,195,192,190,187,184,181,178,176,173,170,167,164,161,158,155,152,149,146,143,139,136,133,130,127,124,121,118,115,111,108,105,102,99,96,93,90,87,84,81,78, 76,73,70,67,64,62,59,56,54,51,49,46,44,42,39,37,35,33,31,29,27,25,23,21,20,18,16,15,14,12,11,10,9,7,6,5,5,4,3,2,2,1,1,1,0,0,0,0,0,0,0,1,1,1,2,2,3,4,5,5,6,7,9,10,11,12,14,15,16,18,20,21,23,25,27,29,31, 33,35,37,39,42,44,46,49,51,54,56,59,62,64,67,70,73,76,78,81,84,87,90,93,96,99,102,105,108,111,115,118,121,124 }; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) //define a bit to have the properties of a clear bit operator #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit))//define a bit to have the properties of a set bit operator int PWM1= 11;// PWM1 output, phase 1 int PWM2 = 3; //[WM2 ouput, phase 2 int PWM3 = 10; //PWM3 output, phase 3 int offset_1 = 85; //offset 1 is 120 degrees out of phase with previous phase, Refer to PWM to sine.xls int offset_2 = 170; //offset 2 is 120 degrees out of phase with offset 1. Refer to PWM to sine.xls int program_exec_time = 6; //monitor how quickly the interrupt trigger int ISR_exec_time = 7; //monitor how long the interrupt takes double dfreq; const double refclk=31376.6; // measured output frequency // variables used inside interrupt service declared as voilatile volatile byte current_count; // Keep track of where the current count is in sine 256 array volatile byte ms4_delay; //variable used to generate a 4ms delay volatile byte c4ms; // after every 4ms this variable is incremented, its used to create a delay of 1 second volatile unsigned long phase_accumulator; // pahse accumulator volatile unsigned long tword_m; // dds tuning word m, refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. void setup() { pinMode(PWM1, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM2, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM3, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(program_exec_time, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(9, OUTPUT); //sets the digital pin as output sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin Setup_timer1(); Setup_timer2(); //Disable Timer 1 interrupt to avoid any timing delays cbi (TIMSK0,TOIE0); //disable Timer0 !!! delay() is now not available sbi (TIMSK2,TOIE2); //enable Timer2 Interrupt dfreq=1000.0; //initial output frequency = 1000.o Hz tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //calulate DDS new tuning word } void loop() { while(1) { sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin if (c4ms > 250) // c4ms = 4ms, thus 4ms *250 = 1 second delay { c4ms=0; //Reset c4ms dfreq=analogRead(0); //Read voltage on analog 1 to see desired output frequency, 0V = 0Hz, 5V = 1.023kHz cbi (TIMSK2,TOIE2); //Disable Timer2 Interrupt tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //Calulate DDS new tuning word sbi (TIMSK2,TOIE2); //Enable Timer2 Interrupt } } } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer1(void) { // Timer1 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); cbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); cbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer2() { // Timer2 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Timer2 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match sbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); sbi (TCCR2A, COM2B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } //Timer2 Interrupt Service at 31372,550 KHz = 32uSec //This is the timebase REFCLOCK for the DDS generator //FOUT = (M (REFCLK)) / (2 exp 32) //Runtime : 8 microseconds ISR(TIMER2_OVF_vect) { cbi(PORTD,program_exec_time); //Clear the pin sbi(PORTD,ISR_exec_time); // Sets the pin phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; //Adds tuning M word to previoud phase accumulator. refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. current_count=phase_accumulator >> 24; // use upper 8 bits of phase_accumulator as frequency information OCR2A=pgm_read_byte_near(sine256 + current_count); // read value fron ROM sine table and send to PWM OCR2B=pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_1)); // read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM1 OCR1A = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 OCR1B = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 //increment variable ms4_delay every 4mS/125 = milliseconds 32uS if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count } cbi(PORTD,ISR_exec_time); //Clear the pin }

Arduino 3 phase motor speed control #ifndef __PGMSPACE_H_ #define __PGMSPACE_H_ 1 #include #define PROGMEM #define PGM_P const char * #define PSTR(str) (str) typedef void prog_void; typedef char prog_char; typedef unsigned char prog_uchar; typedef int8_t prog_int8_t; typedef uint8_t prog_uint8_t; typedef int16_t prog_int16_t; typedef uint16_t prog_uint16_t; typedef int32_t prog_int32_t; typedef uint32_t prog_uint32_t; #define strcpy_P(dest, src) strcpy((dest), (src)) #define strcat_P(dest, src) strcat((dest), (src)) #define strcmp_P(a, b) strcmp((a), (b)) #define pgm_read_byte(addr) (*(const unsigned char *)(addr)) #define pgm_read_word(addr) (*(const unsigned short *)(addr)) #define pgm_read_dword(addr) (*(const unsigned long *)(addr)) #define pgm_read_float(addr) (*(const float *)(addr)) #define pgm_read_byte_near(addr) pgm_read_byte(addr) #define pgm_read_word_near(addr) pgm_read_word(addr) #define pgm_read_dword_near(addr) pgm_read_dword(addr) #define pgm_read_float_near(addr) pgm_read_float(addr) #define pgm_read_byte_far(addr) pgm_read_byte(addr) #define pgm_read_word_far(addr) pgm_read_word(addr) #define pgm_read_dword_far(addr) pgm_read_dword(addr) #define pgm_read_float_far(addr) pgm_read_float(addr) #endif // Look Up table of a single sine period divied up into 256 values. Refer to PWM to sine.xls on how the values was calculated PROGMEM prog_uchar sine256[] = { 127,130,133,136,139,143,146,149,152,155,158,161,164,167,170,173,176,178,181,184,187,190,192,195,198,200,203,205,208,210,212,215,217,219,221,223,225,227,229,231,233,234,236,238,239,240, 242,243,244,245,247,248,249,249,250,251,252,252,253,253,253,254,254,254,254,254,254,254,253,253,253,252,252,251,250,249,249,248,247,245,244,243,242,240,239,238,236,234,233,231,229,227,225,223, 221,219,217,215,212,210,208,205,203,200,198,195,192,190,187,184,181,178,176,173,170,167,164,161,158,155,152,149,146,143,139,136,133,130,127,124,121,118,115,111,108,105,102,99,96,93,90,87,84,81,78, 76,73,70,67,64,62,59,56,54,51,49,46,44,42,39,37,35,33,31,29,27,25,23,21,20,18,16,15,14,12,11,10,9,7,6,5,5,4,3,2,2,1,1,1,0,0,0,0,0,0,0,1,1,1,2,2,3,4,5,5,6,7,9,10,11,12,14,15,16,18,20,21,23,25,27,29,31, 33,35,37,39,42,44,46,49,51,54,56,59,62,64,67,70,73,76,78,81,84,87,90,93,96,99,102,105,108,111,115,118,121,124 }; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) //define a bit to have the properties of a clear bit operator #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit))//define a bit to have the properties of a set bit operator int PWM1= 11;// PWM1 output, phase 1 int PWM2 = 3; //[WM2 ouput, phase 2 int PWM3 = 10; //PWM3 output, phase 3 int offset_1 = 85; //offset 1 is 120 degrees out of phase with previous phase, Refer to PWM to sine.xls int offset_2 = 170; //offset 2 is 120 degrees out of phase with offset 1. Refer to PWM to sine.xls int program_exec_time = 6; //monitor how quickly the interrupt trigger int ISR_exec_time = 7; //monitor how long the interrupt takes double dfreq; const double refclk=31376.6; // measured output frequency // variables used inside interrupt service declared as voilatile volatile byte current_count; // Keep track of where the current count is in sine 256 array volatile byte ms4_delay; //variable used to generate a 4ms delay volatile byte c4ms; // after every 4ms this variable is incremented, its used to create a delay of 1 second volatile unsigned long phase_accumulator; // pahse accumulator volatile unsigned long tword_m; // dds tuning word m, refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. void setup() { pinMode(PWM1, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM2, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(PWM3, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(program_exec_time, OUTPUT); //sets the digital pin as output pinMode(9, OUTPUT); //sets the digital pin as output sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin Setup_timer1(); Setup_timer2(); //Disable Timer 1 interrupt to avoid any timing delays cbi (TIMSK0,TOIE0); //disable Timer0 !!! delay() is now not available sbi (TIMSK2,TOIE2); //enable Timer2 Interrupt dfreq=1000.0; //initial output frequency = 1000.o Hz tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //calulate DDS new tuning word } void loop() { while(1) { sbi(PORTD,program_exec_time); //Sets the pin if (c4ms > 250) // c4ms = 4ms, thus 4ms *250 = 1 second delay { c4ms=0; //Reset c4ms dfreq=analogRead(0); //Read voltage on analog 1 to see desired output frequency, 0V = 0Hz, 5V = 1.023kHz cbi (TIMSK2,TOIE2); //Disable Timer2 Interrupt tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; //Calulate DDS new tuning word sbi (TIMSK2,TOIE2); //Enable Timer2 Interrupt } } } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer1(void) { // Timer1 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); cbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); cbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } //Timer 1 setup //Set prscaler to 1, PWM mode to phase correct PWM, 16000000/510 = 31372.55 Hz clock void Setup_timer2() { // Timer2 Clock Prescaler to : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Timer2 PWM Mode set to Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match sbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); sbi (TCCR2A, COM2B1); // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } //Timer2 Interrupt Service at 31372,550 KHz = 32uSec //This is the timebase REFCLOCK for the DDS generator //FOUT = (M (REFCLK)) / (2 exp 32) //Runtime : 8 microseconds ISR(TIMER2_OVF_vect) { cbi(PORTD,program_exec_time); //Clear the pin sbi(PORTD,ISR_exec_time); // Sets the pin phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; //Adds tuning M word to previoud phase accumulator. refer to DDS_calculator (from Martin Nawrath) for explination. current_count=phase_accumulator >> 24; // use upper 8 bits of phase_accumulator as frequency information OCR2A=pgm_read_byte_near(sine256 + current_count); // read value fron ROM sine table and send to PWM OCR2B=pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_1)); // read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM1 OCR1A = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 OCR1B = pgm_read_byte_near(sine256 + (uint8_t)(current_count + offset_2));// read value fron ROM sine table and send to PWM, 120 Degree out of phase of PWM2 //increment variable ms4_delay every 4mS/125 = milliseconds 32uS if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count } cbi(PORTD,ISR_exec_time); //Clear the pin }

Arduino analog digital pwm BY MARIOS ANDREOPOULOS — FEBRUARY 20, 2014 Fast PWM on ATmega328, up to 8MHz sacrificing duty cycle resolution to get higher frequency A couple of days earlier, a friend asked me how he could get fast PWM from an Atmel ATmega328 microcontroller —fast as in over 62.5KHz. Surpisingly I couldn't find a working code example, despite the fact there are many articles and forum posts about this. Of course one may always refer to the uC's datasheet, but the code part isn't always straightforward. So, without delay here is a sample code you can load to your Arduino Uno or directly to an AVR, which will give you a 250KHz, 6 bit resolution PWM on pin 3 (ATmega pin 5) and a 8MHz, 1 bit resolution —thus only 50% duty cycle— on pin 5 (ATmega pin 11). The duty cycle of the 250KHz PWM is rolling. // A sketch that creates an 8MHz, 50% duty cycle PWM and a 250KHz, // 6bit resolution PWM with varying duty cycle (changes every 5μs // or about every period. #include #include int main(void) { pinMode(3, OUTPUT); // output pin for OCR2B pinMode(5, OUTPUT); // output pin for OCR0B // Set up the 250KHz output TCCR2A = _BV(COM2A1) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM21) | _BV(WGM20); TCCR2B = _BV(WGM22) | _BV(CS20); OCR2A = 63; OCR2B = 0; // Set up the 8MHz output TCCR0A = _BV(COM0A1) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM01) | _BV(WGM00); TCCR0B = _BV(WGM02) | _BV(CS00); OCR0A = 1; OCR0B = 0; // Make the 250KHz rolling while (1) { _delay_us(5); if ( OCR2B < 63 ) OCR2B += 5; else OCR2B = 0; } } So how does this code work? Let's talk about the uC for a bit first. Fast PWM The ATmega328 has 3 counters and usually runs at 16MHz. We will focus on counters #0 and #2 —counter #1 is a bit different. A PWM waveform is generated from a counter by counting clock ticks, a register and a comparator. The counter's purpose is to create the duty cycle resolution. One complete cycle of the counter is one period of your PWM. In most tutorials this is referred as the second clock division during PWM generation. The counter's size (and thus the duty cycle resolution) is 8 bits, which equals to 256 values. So from the get-go, your 16MHz clock gets divided by 256 —because a cycle of the counter takes 256 ticks— and may give a maximum frequency of 62.5KHz. In order to get lower frequencies, you can divide your clock by another factor, known as the first clock division. This is also called pre-scaling, because it precedes the counter. The register and the comparator are used to set and create the duty cycle output. The register sets for how long during each period the output is high. For example for a 25% duty cycle, you would set the register to 256 * 0.25 - 1 = 63. The comparator compares the register's value with the current counter value and gives high in the output if the value of the former is equal or lower from the value of the latter and low otherwise. For each counter you actually get 2 registers and 2 comparators, so you can get 2 PWM waveforms with different duty cycles but with the same frequency. If you managed to read until here, you learnt how the normal fast PWM mode of the ATmega328 works. In the datasheet it is referred to as waveform generation mode 3. Faster than Fast It should be clear by now that in order to get above 62.5KHz you have to sacrifice something; duty cycle resolution. You also have to give up one PWM output per counter. Enter waveform generation mode 7. What happens in this mode, is that you use one register and one comparator to set the top value of the counter. By controlling when your 8bit counter resets, you effectively set the frequency —remember, one cycle of the counter is one period of your PWM. Also you lower your duty cycle resolution since it depends on how may discrete values your counter has in a period. The second register and comparator pair works as always, generating the PWM output. An obvious requisite, is that the second register should be lower or equal to the first register. Code Explained Here is how we got the 250KHz waveform from timer/counter #2. The counter has control registers TCCR2A and TCCR2B which hold flags that set its mode of operation. We show only the settings for fast PWM. Also it has registers OCR2A and OCR2B, the function of which we described in the previous section (remember registers and comparators). #include #include int main(void) { pinMode(3, OUTPUT); // output pin for OCR2B, this is Arduino pin number // In the next line of code, we: // 1. Set the compare output mode to clear OC2A and OC2B on compare match. // To achieve this, we set bits COM2A1 and COM2B1 to high. // 2. Set the waveform generation mode to fast PWM (mode 3 in datasheet). // To achieve this, we set bits WGM21 and WGM20 to high. TCCR2A = _BV(COM2A1) | _BV(COM2B1) | _BV(WGM21) | _BV(WGM20); // In the next line of code, we: // 1. Set the waveform generation mode to fast PWM mode 7 —reset counter on // OCR2A value instead of the default 255. To achieve this, we set bit // WGM22 to high. // 2. Set the prescaler divisor to 1, so that our counter will be fed with // the clock's full frequency (16MHz). To achieve this, we set CS20 to // high (and keep CS21 and CS22 to low by not setting them). TCCR2B = _BV(WGM22) | _BV(CS20); // OCR2A holds the top value of our counter, so it acts as a divisor to the // clock. When our counter reaches this, it resets. Counting starts from 0. // Thus 63 equals to 64 divs. OCR2A = 63; // This is the duty cycle. Think of it as the last value of the counter our // output will remain high for. Can't be greater than OCR2A of course. A // value of 0 means a duty cycle of 1/64 in this case. OCR2B = 0; // Just some code to change the duty cycle every 5 microseconds. while (1) { _delay_us(5); if ( OCR2B < 63 ) OCR2B += 5; else OCR2B = 0; } } Everyone loves images This is how our PWMs look on a logic analyzer. 250KHz with rolling duty cycle: 8MHz, logic analyzer samples at 24MHz, so it can't detect accurately the duty cycle: Attribution As stated there are many articles and forum posts about the subject. The one I found really useful and have to give credit is this. Of course do not forget to read your microcontroller's datasheet. That's all folks The reason my friend needed that fast PWM is interesting on its own and I hope he will find some time to write about it in the future. Written by Marios Andreopoulos engineering Here's how you programs must initialise themselves for Arduino. sei () ; // Set Enable Interrupts. timer0_overflow_count = 0; // set timer 0 prescale factor to 64 // enable timer 0 overflow interrupt #if defined(__AVR_ATmega168__) sbi(TCCR0A, WGM01); sbi(TCCR0A, WGM00); sbi(TCCR0B, CS01); sbi(TCCR0B, CS00); sbi(TIMSK0, TOIE0); #else sbi(TCCR0, CS01); sbi(TCCR0, CS00); sbi(TIMSK, TOIE0); #endif // set timer 1 prescale factor to 64 sbi(TCCR1B, CS11); sbi(TCCR1B, CS10); // put timer 1 in 8-bit phase correct pwm mode sbi(TCCR1A, WGM10); // set timer 2 prescale factor to 64 #if defined(__AVR_ATmega168__) sbi(TCCR2B, CS22); #else sbi(TCCR2, CS22); #endif // configure timer 2 for phase correct pwm (8-bit) #if defined(__AVR_ATmega168__) sbi(TCCR2A, WGM20); #else sbi(TCCR2, WGM20); #endif // set a2d prescale factor to 128 // 16 MHz / 128 = 125 KHz, inside the desired 50-200 KHz range. // XXX: this will not work properly for other clock speeds, and // this code should use F_CPU to determine the prescale factor. sbi(ADCSRA, ADPS2); sbi(ADCSRA, ADPS1); sbi(ADCSRA, ADPS0); // enable a2d conversions sbi(ADCSRA, ADEN); // the bootloader connects pins 0 and 1 to the USART; disconnect them // here so they can be used as normal digital i/o; they will be // reconnected in Serial.begin() #if defined(__AVR_ATmega168__) UCSR0B = 0; #else UCSRB = 0; #endif E:\Program Files\arduino-1.6.3\hardware\arduino\avr\cores\arduino>findstr TCCR * wiring.c:#if defined(TCCR0A) && defined(WGM01) wiring.c: sbi(TCCR0A, WGM01); wiring.c: sbi(TCCR0A, WGM00); wiring.c: sbi(TCCR0, CS02); wiring.c:#elif defined(TCCR0) && defined(CS01) && defined(CS00) wiring.c: sbi(TCCR0, CS01); wiring.c: sbi(TCCR0, CS00); wiring.c:#elif defined(TCCR0B) && defined(CS01) && defined(CS00) wiring.c: sbi(TCCR0B, CS01); wiring.c: sbi(TCCR0B, CS00); wiring.c:#elif defined(TCCR0A) && defined(CS01) && defined(CS00) wiring.c: sbi(TCCR0A, CS01); wiring.c: sbi(TCCR0A, CS00); wiring.c:#if defined(TCCR1B) && defined(CS11) && defined(CS10) wiring.c: TCCR1B = 0; wiring.c: sbi(TCCR1B, CS11); wiring.c: sbi(TCCR1B, CS10); wiring.c:#elif defined(TCCR1) && defined(CS11) && defined(CS10) wiring.c: sbi(TCCR1, CS11); wiring.c: sbi(TCCR1, CS10); wiring.c:#if defined(TCCR1A) && defined(WGM10) wiring.c: sbi(TCCR1A, WGM10); wiring.c:#elif defined(TCCR1) wiring.c:#if defined(TCCR2) && defined(CS22) wiring.c: sbi(TCCR2, CS22); wiring.c:#elif defined(TCCR2B) && defined(CS22) wiring.c: sbi(TCCR2B, CS22); wiring.c:#if defined(TCCR2) && defined(WGM20) wiring.c: sbi(TCCR2, WGM20); wiring.c:#elif defined(TCCR2A) && defined(WGM20) wiring.c: sbi(TCCR2A, WGM20); wiring.c:#if defined(TCCR3B) && defined(CS31) && defined(WGM30) wiring.c: sbi(TCCR3B, CS31); // set timer 3 prescale factor to 64 wiring.c: sbi(TCCR3B, CS30); wiring.c: sbi(TCCR3A, WGM30); // put timer 3 in 8-bit phase correct pwm mode wiring.c:#if defined(TCCR4A) && defined(TCCR4B) && defined(TCCR4D) /* beginning of timer4 block for 32U4 and similar */ wiring.c: sbi(TCCR4B, CS42); // set timer4 prescale factor to 64 wiring.c: sbi(TCCR4B, CS41); wiring.c: sbi(TCCR4B, CS40); wiring.c: sbi(TCCR4D, WGM40); // put timer 4 in phase- and frequency-correct PWM mode wiring.c: sbi(TCCR4A, PWM4A); // enable PWM mode for comparator OCR4A wiring.c: sbi(TCCR4C, PWM4D); // enable PWM mode for comparator OCR4D wiring.c:#if defined(TCCR4B) && defined(CS41) && defined(WGM40) wiring.c: sbi(TCCR4B, CS41); // set timer 4 prescale factor to 64 wiring.c: sbi(TCCR4B, CS40); wiring.c: sbi(TCCR4A, WGM40); // put timer 4 in 8-bit phase correct pwm mode wiring.c:#if defined(TCCR5B) && defined(CS51) && defined(WGM50) wiring.c: sbi(TCCR5B, CS51); // set timer 5 prescale factor to 64 wiring.c: sbi(TCCR5B, CS50); wiring.c: sbi(TCCR5A, WGM50); // put timer 5 in 8-bit phase correct pwm mode wiring_analog.c: #if defined(TCCR0) && defined(COM00) && !defined(__AVR_ATmega8__) wiring_analog.c: sbi(TCCR0, COM00); wiring_analog.c: #if defined(TCCR0A) && defined(COM0A1) wiring_analog.c: sbi(TCCR0A, COM0A1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR0A) && defined(COM0B1) wiring_analog.c: sbi(TCCR0A, COM0B1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR1A) && defined(COM1A1) wiring_analog.c: sbi(TCCR1A, COM1A1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR1A) && defined(COM1B1) wiring_analog.c: sbi(TCCR1A, COM1B1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR1A) && defined(COM1C1) wiring_analog.c: sbi(TCCR1A, COM1C1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR2) && defined(COM21) wiring_analog.c: sbi(TCCR2, COM21); wiring_analog.c: #if defined(TCCR2A) && defined(COM2A1) wiring_analog.c: sbi(TCCR2A, COM2A1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR2A) && defined(COM2B1) wiring_analog.c: sbi(TCCR2A, COM2B1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR3A) && defined(COM3A1) wiring_analog.c: sbi(TCCR3A, COM3A1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR3A) && defined(COM3B1) wiring_analog.c: sbi(TCCR3A, COM3B1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR3A) && defined(COM3C1) wiring_analog.c: sbi(TCCR3A, COM3C1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR4A) wiring_analog.c: sbi(TCCR4A, COM4A1); wiring_analog.c: cbi(TCCR4A, COM4A0); wiring_analog.c: #if defined(TCCR4A) && defined(COM4B1) wiring_analog.c: sbi(TCCR4A, COM4B1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR4A) && defined(COM4C1) wiring_analog.c: sbi(TCCR4A, COM4C1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR4C) && defined(COM4D1) wiring_analog.c: sbi(TCCR4C, COM4D1); wiring_analog.c: cbi(TCCR4C, COM4D0); wiring_analog.c: #if defined(TCCR5A) && defined(COM5A1) wiring_analog.c: sbi(TCCR5A, COM5A1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR5A) && defined(COM5B1) wiring_analog.c: sbi(TCCR5A, COM5B1); wiring_analog.c: #if defined(TCCR5A) && defined(COM5C1) wiring_analog.c: sbi(TCCR5A, COM5C1); Tone.cpp:#define TCCR2A TCCR2 Tone.cpp:#define TCCR2B TCCR2 Tone.cpp: #if defined(TCCR0A) && defined(TCCR0B) Tone.cpp: TCCR0A = 0; Tone.cpp: TCCR0B = 0; Tone.cpp: bitWrite(TCCR0A, WGM01, 1); Tone.cpp: bitWrite(TCCR0B, CS00, 1); Tone.cpp: #if defined(TCCR1A) && defined(TCCR1B) && defined(WGM12) Tone.cpp: TCCR1A = 0; Tone.cpp: TCCR1B = 0; Tone.cpp: bitWrite(TCCR1B, WGM12, 1); Tone.cpp: bitWrite(TCCR1B, CS10, 1); Tone.cpp: #if defined(TCCR2A) && defined(TCCR2B) Tone.cpp: TCCR2A = 0; Tone.cpp: TCCR2B = 0; Tone.cpp: bitWrite(TCCR2A, WGM21, 1); Tone.cpp: bitWrite(TCCR2B, CS20, 1); Tone.cpp: #if defined(TCCR3A) && defined(TCCR3B) && defined(TIMSK3) Tone.cpp: TCCR3A = 0; Tone.cpp: TCCR3B = 0; Tone.cpp: bitWrite(TCCR3B, WGM32, 1); Tone.cpp: bitWrite(TCCR3B, CS30, 1); Tone.cpp: #if defined(TCCR4A) && defined(TCCR4B) && defined(TIMSK4) Tone.cpp: TCCR4A = 0; Tone.cpp: TCCR4B = 0; Tone.cpp: bitWrite(TCCR4B, WGM42, 1); Tone.cpp: bitWrite(TCCR4B, CS43, 1); Tone.cpp: bitWrite(TCCR4B, CS40, 1); Tone.cpp: #if defined(TCCR5A) && defined(TCCR5B) && defined(TIMSK5) Tone.cpp: TCCR5A = 0; Tone.cpp: TCCR5B = 0; Tone.cpp: bitWrite(TCCR5B, WGM52, 1); Tone.cpp: bitWrite(TCCR5B, CS50, 1); Tone.cpp:#if defined(TCCR0B) Tone.cpp: TCCR0B = prescalarbits; Tone.cpp:#if defined(TCCR2B) Tone.cpp: TCCR2B = prescalarbits; Tone.cpp:#if defined(TCCR1B) Tone.cpp: TCCR1B = (TCCR1B & 0b11111000) | prescalarbits; Tone.cpp:#if defined(TCCR3B) Tone.cpp: TCCR3B = (TCCR3B & 0b11111000) | prescalarbits; Tone.cpp:#if defined(TCCR4B) Tone.cpp: TCCR4B = (TCCR4B & 0b11111000) | prescalarbits; Tone.cpp:#if defined(TCCR5B) Tone.cpp: TCCR5B = (TCCR5B & 0b11111000) | prescalarbits; Tone.cpp: #if defined(TCCR2A) && defined(WGM20) Tone.cpp: TCCR2A = (1 << WGM20); Tone.cpp: #if defined(TCCR2B) && defined(CS22) Tone.cpp: TCCR2B = (TCCR2B & 0b11111000) | (1 << CS22); wiring_digital.c: #if defined(TCCR1A) && defined(COM1A1) wiring_digital.c: case TIMER1A: cbi(TCCR1A, COM1A1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR1A) && defined(COM1B1) wiring_digital.c: case TIMER1B: cbi(TCCR1A, COM1B1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR1A) && defined(COM1C1) wiring_digital.c: case TIMER1C: cbi(TCCR1A, COM1C1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR2) && defined(COM21) wiring_digital.c: case TIMER2: cbi(TCCR2, COM21); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR0A) && defined(COM0A1) wiring_digital.c: case TIMER0A: cbi(TCCR0A, COM0A1); break; wiring_digital.c: case TIMER0B: cbi(TCCR0A, COM0B1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR2A) && defined(COM2A1) wiring_digital.c: case TIMER2A: cbi(TCCR2A, COM2A1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR2A) && defined(COM2B1) wiring_digital.c: case TIMER2B: cbi(TCCR2A, COM2B1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR3A) && defined(COM3A1) wiring_digital.c: case TIMER3A: cbi(TCCR3A, COM3A1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR3A) && defined(COM3B1) wiring_digital.c: case TIMER3B: cbi(TCCR3A, COM3B1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR3A) && defined(COM3C1) wiring_digital.c: case TIMER3C: cbi(TCCR3A, COM3C1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR4A) && defined(COM4A1) wiring_digital.c: case TIMER4A: cbi(TCCR4A, COM4A1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR4A) && defined(COM4B1) wiring_digital.c: case TIMER4B: cbi(TCCR4A, COM4B1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR4A) && defined(COM4C1) wiring_digital.c: case TIMER4C: cbi(TCCR4A, COM4C1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR4C) && defined(COM4D1) wiring_digital.c: case TIMER4D: cbi(TCCR4C, COM4D1); break; wiring_digital.c: #if defined(TCCR5A) wiring_digital.c: case TIMER5A: cbi(TCCR5A, COM5A1); break; wiring_digital.c: case TIMER5B: cbi(TCCR5A, COM5B1); break; wiring_digital.c: case TIMER5C: cbi(TCCR5A, COM5C1); break; Changing the Arduino PWM Frequency The default PWM frequency for PWM 3, 9, 10, & 11, at least for the Diecimila running at 16 MHz, is 488 Hz. That’s OK for dimming LEDs where you’re depending on persistence of vision, but it’s much too low when you must filter it down to DC. The relevant file is hardware/cores/arduino/wiring.c, which is buried wherever your installation put it. Turns out that the Arduino runtime setup configures the timer clock prescalers to 64, so the timers tick at 16 MHz / 64 = 250 kHz. You can fix that by setting the Clock Select bits in the appropriate Timer Control Register B to 0x01, which gets you no prescaling and a 62.5 ns tick period: TCCR0B = 0x01; // Timer 0: PWM 5 & 6 @ 16 kHz TCCR1B = 0x01; // Timer 1: PWM 9 & 10 @ 32 kHz TCCR2B = 0x01; // Timer 2: PWM 3 & 11 @ 32 kHz If you’re finicky, you’ll bit-bash the values rather than do broadside loads. However, it probably doesn’t matter, because Timer 0 runs in Fast PWM mode and Timers 1 & 2 run in Phase-Correct PWM mode, so WGMx2 = 0 in all cases. Fast PWM mode means Timer 0 produces PWM at 250 kHz / 256 = 976 Hz. However, the Arduino runtime runs the millis() function from the Timer 0 interrupt, so changing the Timer 0 prescaler pooches millis(), delay(), and any routines that depend on them. Phase-correct PWM mode means that Timers 1 & 2 count up to 0xff and down to 0x00 in each PWM cycle, so they run at 250 kHz / 512 = 488 Hz. Adroit TCCRxB setting can prescale by 1, 8, 64, 256, or 1024. Or stop the Timer stone cold dead, if you’re not careful. Before you fiddle with this stuff, you really This article is not fully compatible to Arduino Mega (or ATmega2560 microprocessor) For Arduino Mega: (tested on Arduino Mega 2560) timer 0 (controls pin 13, 4) timer 1 (controls pin 12, 11) timer 2 (controls pin 10, 9) timer 3 (controls pin 5, 3, 2) timer 4 (controls pin 8, 7, 6) TCCRnB, where 'n' is the number for the timer. TCCR2B for timer 2, TCCR3B for timer 3. Eg: TCCR2B = TCCR2B & 0b11111000 | 0x01; //sets Arduino Mega's pin 10 and 9 to frequency 31250. //code typically inserted in setup() Thanks to valerio_sperati (http://arduino.cc/forum/index.php/topic,72092.0.html) How to adjust Arduino PWM frequencies by macegr in this forum post http://forum.arduino.cc/index.php?topic=16612#msg121031 Pins 5 and 6: controlled by Timer 0 in fast PWM mode (cycle length = 256) Setting Divisor Frequency 0x01 1 62500 0x02 8 7812.5 0x03 64 976.5625 <--DEFAULT 0x04 256 244.140625 0x05 1024 61.03515625 TCCR0B = (TCCR0B & 0b11111000) | ; Pins 9 and 10: controlled by timer 1 in phase-correct PWM mode (cycle length = 510) Setting Divisor Frequency 0x01 1 31372.55 0x02 8 3921.16 0x03 64 490.20 <--DEFAULT 0x04 256 122.55 0x05 1024 30.64 TCCR1B = (TCCR1B & 0b11111000) | ; Pins 11 and 3: controlled by timer 2 in phase-correct PWM mode (cycle length = 510) Setting Divisor Frequency 0x01 1 31372.55 0x02 8 3921.16 0x03 32 980.39 0x04 64 490.20 <--DEFAULT 0x05 128 245.10 0x06 256 122.55 0x07 1024 30.64 TCCR2B = (TCCR2B & 0b11111000) | ; All frequencies are in Hz and assume a 16000000 Hz system clock. Issues from adjusting PWM frequencies and workarounds: from koyaanisqatsi in this forum post http://forum.arduino.cc/index.php?topic=16612.msg121040#msg121040 If you change TCCR0B, it affects millis() and delay(). They will count time faster or slower than normal if you change the TCCR0B settings. Below is the adjustment factor to maintain consistent behavior of these functions: Default: delay(1000) or 1000 millis() ~ 1 second 0x01: delay(64000) or 64000 millis() ~ 1 second 0x02: delay(8000) or 8000 millis() ~ 1 second 0x03: is the default 0x04: delay(250) or 250 millis() ~ 1 second 0x05: delay(62) or 62 millis() ~ 1 second (Or 63 if you need to round up. The number is actually 62.5) Also, the default settings for the other timers are: TCCR1B: 0x03 TCCR2B: 0x04 Any thought on the Arduino Mega? PWM frequencies on Timer 0, pins 5 and 6, Arduino Uno by yanngg, 02-15-2012 Timer 0 uses a prescale factor which is set to 64 by default To set the prescale factor use this line in the setup function Setting Prescale_factor TCCR0B = _BV(CS00); 1 TCCR0B = _BV(CS01); 8 TCCR0B = _BV(CS00) | _BV(CS01); 64 TCCR0B = _BV(CS02); 256 TCCR0B = _BV(CS00) | _BV(CS02); 1024 To use Fast PWM on Timer 0 Write this line in the setup function TCCR0A = _BV(COM0A1) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM01) | _BV(WGM00); And to calculate the PWM frequency, use Fast_PWM_frequency = (16 000 000)/(Prescale_factor*256); To use Phase-correct PWM on Timer 0 (half the frequency of Fast PWM) Write this line in the setup function TCCR0A = _BV(COM0A1) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00); And to calculate the PWM frequency, use Phase_correct_PWM_frequency = (16 000 000)/(Prescale_factor*510); Changing the prescale factor on Timer0 will affect functions millis(), micros(), delay(),... To adjust millis(), micros(), delay(),... accordingly, You can modify a line in the wiring.c function in the Arduino program files hardware\arduino\cores\arduino\wiring.c In the beginning of wiring.c you can find: // the prescaler is set so that timer0 ticks every 64 clock cycles, and the // the overflow handler is called every 256 ticks. #define MICROSECONDS_PER_TIMER0_OVERFLOW (clockCyclesToMicroseconds(64 * 256)) You need to modify the prescale factor in this function to the corresponding line For fast PWM (default): #define MICROSECONDS_PER_TIMER0_OVERFLOW (clockCyclesToMicroseconds(PRESCALE_FACTOR* 256)) For phase-correct PWM : #define MICROSECONDS_PER_TIMER0_OVERFLOW (clockCyclesToMicroseconds(PRESCALE_FACTOR * 510)) Example: DC motor drive on the Arduino UNO, pins 5 and 6 For Fast PWM of 62.500 kHz (prescale factor of 1) Use these two lines in the setup function: TCCR0A = _BV(COM0A1) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM01) | _BV(WGM00); TCCR0B = _BV(CS00); And modify the line in the wiring.c function in the Arduino program files hardware\arduino\cores\arduino\wiring.c : #define MICROSECONDS_PER_TIMER0_OVERFLOW (clockCyclesToMicroseconds(1 * 256)) For Phase-correct PWM of 31.250 kHz (prescale factor of 1) Use these two lines in the setup function: TCCR0A = _BV(COM0A1) | _BV(COM0B1) | _BV(WGM00); TCCR0B = _BV(CS00); And modify the line in the wiring.c function in the Arduino program files hardware\arduino\cores\arduino\wiring.c : #define MICROSECONDS_PER_TIMER0_OVERFLOW (clockCyclesToMicroseconds(1 * 510)) Share I will also copy the tables here to explain: Pins 5 and 6: controlled by Timer 0 Setting Divisor Frequency 0x01 1 62500 0x02 8 7812.5 0x03 64 976.5625 0x04 256 244.140625 0x05 1024 61.03515625 TCCR0B = TCCR0B & 0b11111000 | ; Pins 9 and 10: controlled by timer 1 Setting Divisor Frequency 0x01 1 31250 0x02 8 3906.25 0x03 64 488.28125 0x04 256 122.0703125 0x05 1024 30.517578125 TCCR1B = TCCR1B & 0b11111000 | ; Pins 11 and 3: controlled by timer 2 Setting Divisor Frequency 0x01 1 31250 0x02 8 3906.25 0x03 32 976.5625 0x04 64 488.28125 0x05 128 244.140625 0x06 256 122.0703125 0x07 1024 30.517578125 TCCR2B = TCCR2B & 0b11111000 | ; All frequencies are in Hz and assume a 16000000 Hz system clock. So you can see the possible frequencies available to use and on what pins. Notice that each set of pins has different frequencies available and each set is also controlled by a different Arduino system timer. There are 3 timers that run based on the main 16MHz oscillator chip - you can change the scaler value to make each one run at a different speed. You should be careful though when changing the timer on system timer 0 which controls the PWM on pins 5 and 6, because it is also what the Arduino depends on to calculate several core functions like delay(), millis(), micros(), pulseIn(), and might mess with other things like interrupts. As far as I can tell, you can change the PWM frequency on timers 1 and 2 all day long and it doesn't seem to mess with anything else - so I usually stick to pins 3, 9, 10, and 11 if I need to change the frequency for some reason. Pins 5 and 6 can just stay at 1000Hz to keep everyone happy. In order to change the frequency, you need to put the correct code in the correct place. For example, if you wanted to change the frequency of the PWM on pins 3 and 11 to run at 32kHz, you would place the following line in your setup() function: void setup(){ TCCR2B = TCCR2B & 0b11111000 | 0x01; } The TCCR2B means that it is changing timer 2 for pins 3 and 11, not sure what the 8bit code does, but then you add the pipe character and the setting for the speed you want to use. If you refer back to the last table I pasted above, you will notice that for a frequency of 31250 Hz you must use a divisor of 1 which requires the setting "0x01". I often use this setting on these pins, because 32kHz is above the audible frequency range for humans, so you can operate your motors at this frequency without any whining noises. You might recall me saying that pins 3 and 11 have a default PWM frequency of 500 Hz - well it is actually 488 Hz and according to the chart is a divisor of 64 and uses the setting "0x04". You can also change multiple timers in the setup() function without problems. How To Apply This Code For Arduino Uno Atmega 328P SIR.. THANK YOU VERY MUCH FOR HELPING ME.. #include #include PROGMEM const uint16_t sine512[] = {250,256,262,269,275,281,288,294,301,308,314,319,326,332,339,344,350,356,362,367,374,379,384,389,395,400,404,410,414,419,423,428,433,436,440,445,449,452,455,458,463,466,468,471,474,476,478,481,483,485,487,488,490,491,493,494,495,496,496,498,499,499,499,500,500,499,499,499,498,498,496,496,495,494,493,493,492,491,489,488,487,486,484,483,481,480,478,476,474,473,471,470,468,466,465,463,460,459,457,455,453,452,450,449,447,446,445,443,442,440,439,438,436,435,434,433,432,432,431,430,430,429,428,428,428,428,427,427,427,427,427,428,428,428,428,429,430,430,431,432,432,433,434,435,436,438,439,440,442,443,445,446,447,449,450,452,453,455,457,459,460,463,465,466,468,470,471,473,474,476,478,480,481,483,484,486,487,488,489,491,492,493,493,494,495,496,496,498,498,499,499,499,500,500,499,499,499,498,496,496,495,494,493,491,490,488,487,485,483,481,478,476,474,471,468,466,463,458,455,452,449,445,440,436,433,428,423,419,414,410,404,400,395,389,384,379,374,367,362,356,350,344,339,332,326,319,314,308,301,294,288,281,275,269,262,256,250,244,238,231,225,219,212,206,199,192,186,181,174,168,161,156,150,144,138,133,126,121,116,111,105,100,96,90,86,81,77,72,67,64,60,55,51,48,45,42,37,34,32,29,26,24,22,19,17,15,13,12,10,9,7,6,5,4,4,2,1,1,1,0,0,1,1,1,2,2,4,4,5,6,7,7,8,9,11,12,13,14,16,17,19,20,22,24,26,27,29,30,32,34,35,37,40,41,43,45,47,48,50,51,53,54,55,57,58,60,61,62,64,65,66,67,68,68,69,70,70,71,72,72,72,72,73,73,73,73,73,72,72,72,72,71,70,70,69,68,68,67,66,65,64,62,61,60,58,57,55,54,53,51,50,48,47,45,43,41,40,37,35,34,32,30,29,27,26,24,22,20,19,17,16,14,13,12,11,9,8,7,7,6,5,4,4,2,2,1,1,1,0,0,1,1,1,2,4,4,5,6,7,9,10,12,13,15,17,19,22,24,26,29,32,34,37,42,45,48,51,55,60,64,67,72,77,81,86,90,96,100,105,111,116,121,126,133,138,144,150,156,161,168,174,181,186,192,199,206,212,219,225,231,238,244}; #define cbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) &= ~_BV(bit)) #define sbi(sfr, bit) (_SFR_BYTE(sfr) |= _BV(bit)) //vyssi refclk == vyssi frekout const unsigned long refclk=1562960; const unsigned long refclk=781480; volatile int current_count; volatile unsigned long phase_accumulator; volatile unsigned long tword_m; volatile unsigned long stepm; volatile word count = 0; volatile byte DT = 10; volatile byte ampl = 13; volatile word offset_1 = 171; volatile word offset_2 = 341; word fnom = 5000; word fzad = 0; word boost = 600; word readpot; word calc; boolean ISR_exec_time = 1; boolean RUN = 0; byte bufclr = 0; void setup() { pinMode(6, OUTPUT); //OC4A pinMode(7, OUTPUT); //OC4B pinMode(8, OUTPUT); //OC4C pinMode(11, OUTPUT); //OC1A pinMode(12, OUTPUT); //OC1B pinMode(13, OUTPUT); //OC1C //pinMode(5, OUTPUT); //OC3A //pinMode(2, OUTPUT); //OC3B //pinMode(3, OUTPUT); //OC3C pinMode(52, OUTPUT); pinMode(53, OUTPUT); pinMode(22, INPUT_PULLUP); pinMode(23, INPUT_PULLUP); sbi (GTCCR, TSM); sbi (GTCCR, PSRASY); sbi (GTCCR, PSRSYNC); Setup_timer1(); Setup_timer2(); Setup_timer4(); //Setup_timer3(); //Setup_timer5(); TCNT1 = 0; //TCNT3 = 0; TCNT4 = 0; //TCNT5 = 0; GTCCR = 0; //Disable Timer 0 cbi (TIMSK0,TOIE0); tword_m=pow(2,32)*fzad/refclk; sbi (TIMSK4,TOIE4); Serial.begin(9600); } void loop() { while(1) { readpot = 0; for (int i=0; i <= 9; i++) { readpot = readpot + analogRead(0); } if (digitalRead(22)==0 && fzad==0) { offset_1 = 341; offset_2 = 171; } if (digitalRead(22)==1 && fzad==0 ) { offset_1 = 171; offset_2 = 341; } //=============================================== if (digitalRead(23)==1 && fzad!=readpot) { //================================================ if (fzad>readpot && TCNT2 > 10) { fzad = fzad-1; TCNT2=0; } if (fzad 10) { fzad = fzad+1; TCNT2=0; } //================================================ stepm = pow(2,32)*fzad/refclk; calc = ((1280/(fnom/100))*(fzad/100))/10; if (fzad > fnom) //*500 { calc = 128; } if (fzad < boost) { calc = 14; } cbi (TIMSK4,TOIE4); ampl = calc; //*5 tword_m = stepm; sbi (TIMSK4,TOIE4); } //=============================================== /* */ if (count > 7000) { bufclr = bufclr+1; count = 0; Serial.println(bufclr); Serial.println(fzad); Serial.println(ampl); } } } ISR(TIMER4_OVF_vect) { sbi(PORTB,ISR_exec_time); phase_accumulator=phase_accumulator+tword_m; current_count=phase_accumulator >> 23; word offs; word offs1; word offs2; offs= current_count + offset_1; offs2 = current_count + offset_2; if (offs > 511) { offs = offs - 512; } if (offs2 > 511) { offs2 = offs2 - 512; } offs = (pgm_read_word_near(sine512 + offs)*ampl) >> 6; offs1 = (pgm_read_word_near(sine512 + current_count)*ampl) >> 6; offs2 = (pgm_read_word_near(sine512 + offs2)*ampl) >> 6; if (tword_m > 0) { OCR4B = offs + DT; OCR1B = offs; OCR4A = offs1 + DT; OCR1A = offs1; OCR4C = offs2 + DT; OCR1C = offs2; } else { OCR4B = 1023; OCR1B = 0; OCR4A = 1023; OCR1A = 0; OCR4C = 1023; OCR1C = 0; } cbi(PORTB,ISR_exec_time); count = count+1; /* */ } void Setup_timer1(void) { //Clock Prescaler : 1 sbi (TCCR1B, CS10); cbi (TCCR1B, CS11); cbi (TCCR1B, CS12); // Timer1 Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, COM1A0); sbi (TCCR1A, COM1A1); sbi (TCCR1A, COM1B0); sbi (TCCR1A, COM1B1); sbi (TCCR1A, COM1C0); //tretireg sbi (TCCR1A, COM1C1); //tretireg // Mode 1 / Phase Correct PWM sbi (TCCR1A, WGM10); sbi (TCCR1A, WGM11); cbi (TCCR1B, WGM12); cbi (TCCR1B, WGM13); } void Setup_timer4(void) { sbi (TCCR4B, CS40); cbi (TCCR4B, CS41); cbi (TCCR4B, CS42); cbi (TCCR4A, COM4A0); sbi (TCCR4A, COM4A1); cbi (TCCR4A, COM4B0); sbi (TCCR4A, COM4B1); cbi (TCCR4A, COM4C0); sbi (TCCR4A, COM4C1); sbi (TCCR4A, WGM40); sbi (TCCR4A, WGM41); cbi (TCCR4B, WGM42); cbi (TCCR4B, WGM43); } void Setup_timer2(void) { //Prescaler : 1 cbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); sbi (TCCR2B, CS22); // Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match cbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); cbi (TCCR2A, COM2B1); //Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } /* void Setup_timer3(void) { sbi (TCCR3B, CS30); cbi (TCCR3B, CS31); cbi (TCCR3B, CS32); cbi (TCCR3A, COM3A0); sbi (TCCR3A, COM3A1); cbi (TCCR3A, COM3B0); sbi (TCCR3A, COM3B1); cbi (TCCR3A, COM3C0); sbi (TCCR3A, COM3C1); sbi (TCCR3A, WGM30); sbi (TCCR3A, WGM31); cbi (TCCR3B, WGM32); cbi (TCCR3B, WGM33); } void Setup_timer5(void) { sbi (TCCR5B, CS50); cbi (TCCR5B, CS51); cbi (TCCR5B, CS52); cbi (TCCR5A, COM5A0); sbi (TCCR5A, COM5A1); cbi (TCCR5A, COM5B0); sbi (TCCR5A, COM5B1); cbi (TCCR5A, COM5C0); sbi (TCCR5A, COM5C1); sbi (TCCR5A, WGM50); sbi (TCCR5A, WGM51); cbi (TCCR5B, WGM52); cbi (TCCR5B, WGM53); } Setup_timer2(); void Setup_timer2() { //Prescaler : 1 sbi (TCCR2B, CS20); cbi (TCCR2B, CS21); cbi (TCCR2B, CS22); // Phase Correct PWM cbi (TCCR2A, COM2A0); // clear Compare Match cbi (TCCR2A, COM2A1); cbi (TCCR2A, COM2B0); cbi (TCCR2A, COM2B1); //Phase Correct PWM sbi (TCCR2A, WGM20); cbi (TCCR2A, WGM21); cbi (TCCR2B, WGM22); } volatile byte ms4_delay; volatile byte c4ms; if (c4ms > 25) { c4ms=0; offset_3=analogRead(0)/4; dfreq=50.0; cbi (TIMSK2,TOIE2); tword_m=pow(2,32)*dfreq/refclk; sbi (TIMSK2,TOIE2); } */ /* if(ms4_delay++ == 125) { c4ms++; ms4_delay=0; //reset count } coffs = pgm_read_word_near(sine512 + coffs2 - 1); OCR1B = ((word)coffs*99)/100; // +1 korekce */ /* */?

เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมป...ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยัง พระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อภัคควะยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่ง เถิด นายภัคควะทูลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ใน โรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตาม สบายเถิด ฯ [๖๗๔] ก็สมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อปุกกุสาติ ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตอุทิศพระผู้มีพระภาคด้วยศรัทธา ปุกกุสาติกุลบุตรนั้นเข้าไปพักอยู่ในโรง ของนายช่างหม้อนั้นก่อนแล้ว ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่าน ปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความ หนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูกร ท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด ฯ [๖๗๕] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรง ลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรง พระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่าน ปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรง พระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่า ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ฯ [๖๗๖] ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาค พระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุดังนี้ๆ พระผู้มี- *พระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและ จรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ ข้าพเจ้า บวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดา ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่ไหน ฯ ปุ. ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือ เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่าน เห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ ปุ. ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ [๖๗๗] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้บวช อุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจัก กล่าวต่อไป ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ ฯ [๖๗๘] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็น ธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียก เขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นี้อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก ฯ [๖๗๙] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั่น เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ อย่าง คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มี ธาตุ ๖ นั่น เราอาศัยธาตุดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๐] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดน สัมผัส ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั่น เราอาศัย อายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ย่อมหน่วงนึก รูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้ง แห่งอุเบกขา ฟังเสียงด้วยโสตแล้ว ... ดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ... ลิ้มรสด้วยชิวหา แล้ว ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ... รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึก ธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วง นึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึก โทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีความ หน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยความหน่วงนึกดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ มีปัญญาเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มี สัจจะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีจาคะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีอุปสมะเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา ดูกรภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ ฯ [๖๘๔] ดูกรภิกษุ ก็ปฐวีธาตุเป็นไฉน คือ ปฐวีธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็ปฐวีธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่แค่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ผม ขนเล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า หรือแม้ สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่แค่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า ปฐวีธาตุภายใน ก็ปฐวีธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นปฐวีธาตุทั้งนั้น พึงเห็นปฐวีธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายปฐวีธาตุ และจะให้จิต คลายกำหนัดปฐวีธาตุได้ ฯ [๖๘๕] ดูกรภิกษุ ก็อาโปธาตุเป็นไฉน คืออาโปธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็อาโปธาตุภายใน เป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ดี เสลด น้ำเหลือง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อาโปธาตุภายใน ก็อาโป ธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอาโปธาตุทั้งนั้น พึงเห็นอาโปธาตุนั้นด้วย ปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตา ของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอาโปธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอาโปธาตุ ได้ ฯ [๖๘๖] ดูกรภิกษุ ก็เตโชธาตุเป็นไฉน คือ เตโชธาตุภายในก็มี ภาย นอกก็มี ก็เตโชธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อน กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ธาตุที่เป็นเครื่องยังกายให้อบอุ่น ยังกายให้ทรุดโทรม ยังกายให้กระวนกระวาย และธาตุที่เป็นเหตุให้ของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้ว ถึงความย่อยไปด้วยดี หรือแม้ สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อน กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า เตโชธาตุภายใน ก็เตโชธาตุทั้งภายใน และภายนอก นี้แล เป็นเตโชธาตุทั้งนั้น พึงเห็นเตโชธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตาม ความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็น แล้ว จะเบื่อหน่ายเตโชธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดเตโชธาตุได้ ฯ [๖๘๗] ดูกรภิกษุ ก็วาโยธาตุเป็นไฉน คือ วาโยธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็วาโยธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในลำไส้ ลมแล่นไป ตามอวัยวะน้อยใหญ่ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้า หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าวาโยธาตุภายใน ก็วาโยธาตุ ทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นวาโยธาตุทั้งนั้น พึงเห็นวาโยธาตุนั้นด้วยปัญญา ชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายวาโยธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดวาโยธาตุได้ ฯ [๖๘๘] ดูกรภิกษุ ก็อากาสธาตุเป็นไฉน คือ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็อากาสธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปากซึ่งเป็นทางให้กลืนของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม เป็นที่ตั้งของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และเป็นทางระบาย ของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วออกทางเบื้องล่าง หรือแม้สิ่งอื่น ไม่ว่าชนิด ไรๆ ที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อากาสธาตุ ภายใน ก็อากาสธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอากาสธาตุทั้งนั้น พึงเห็น อากาสธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเราไม่ ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอากาสธาตุ และจะให้ จิตคลายกำหนัดอากาสธาตุได้ ฯ [๖๘๙] ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง บุคคล ย่อมรู้อะไรๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุข บ้าง ดูกรภิกษุ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะ นั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ ผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อม เกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลัง เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่าความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ ฯ [๖๙๐] ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนเกิดความร้อน เกิดไฟได้ เพราะไม้ สองท่อนประชุมสีกัน ความร้อนที่เกิดแต่ไม้สองท่อนนั้น ย่อมดับ ย่อมเข้าไป สงบ เพราะไม้สองท่อนนั้นเองแยกกันไปเสียคนละทาง แม้ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะ นั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ ผัสสะนั้น คือ ตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อม เกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลัง เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ ต่อนั้น สิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว ฯ [๖๙๑] ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนนายช่างทอง หรือลูกมือของนายช่างทอง ผู้ฉลาด ติดเตาสุมเบ้าแล้ว เอาคีมคีบทองใส่เบ้า หลอมไป ซัดน้ำไป สังเกตดู ไปเป็นระยะๆ ทองนั้นจะเป็นของถูกไล่ขี้แล้ว หมดฝ้า เป็นเนื้ออ่อน สลวย และผ่องแผ้ว เขาประสงค์ชนิดเครื่องประดับใดๆ จะเป็นแหวน ตุ้มหู เครื่อง ประดับ มาลัยทองก็ตาม ย่อมสำเร็จความประสงค์อันนั้นแต่ทองนั้นได้ ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อม อุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และ เจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขา อาศัยอากาสานัญจายตนฌานนั้น ยึดอากาสานัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาล ยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญ- *จายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ยึดวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขา ของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยอากิญจัญญายตนฌานนั้น ยึดอากิญจัญญายตนฌาน นั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อ เป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน นั้น ยึดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน บุคคลนั้น ย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรม ควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่ หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า ทุกขเวทนา นั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า อทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้แล จักเป็น ของสงบ ฯ [๖๙๒] ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่น ย่อมเป็น ประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล บุคคลนั้นเมื่อ เสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อ เสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และ รู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดี กันแล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ เพราะเหตุนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึก อย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ทั้งปวง เป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความ หลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ ดูกรภิกษุ เพราะสิ่ง ที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย สัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความ ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง อนึ่ง บุคคลนั้นแล ยังไม่ ทราบในกาลก่อน จึงเป็นอันพรั่งพร้อม สมาทานอุปธิเข้าไว้ อุปธิเหล่านั้นเป็นอัน เขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีก ไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละ อย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็จาคะนี้ คือความสละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง อนึ่ง บุคคล นั้นแล ยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรม นั้นๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วย ความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ อย่างยิ่งประการนี้ ก็อุปสมะนี้ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เป็น อุปสมะอันประเสริฐอย่างยิ่ง ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตาม รักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๙๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็น ธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะ เรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ความสำคัญ ตนมีอยู่ดังนี้ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็น- *สัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็น สัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ดูกรภิกษุ ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนี ผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร ข้อที่เรากล่าว ดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลส เครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและ กิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ท่านจงทรงจำธาตุวิภังค์ ๖ โดยย่อนี้ ของเราไว้เถิด ฯ [๖๙๔] ลำดับนั้นแล ท่านปุกกุสาติทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้วโดยลำดับ จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูล พระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้า แล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มี- *พระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด ฯ [๖๙๕] พ. ดูกรภิกษุ เอาเถอะ โทษล่วงเกินได้ต้องเธอผู้มีอาการโง่ เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งเธอได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกเราด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ แต่เพราะเธอเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษแล้วกระทำคืนตามธรรม เราขอ รับอดโทษนั้นแก่เธอ ดูกรภิกษุ ก็ข้อที่บุคคลเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษ แล้วกระทำคืนตามธรรม ถึงความสำรวมต่อไปได้ นั่นเป็นความเจริญในอริยวินัย ฯ ปุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์พึงได้อุปสมบทในสำนักของ พระผู้มีพระภาคเถิด ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ ปุ. ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ พ. ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบ อุปสมบทไม่ได้เลย ฯ [๖๙๖] ลำดับนั้น ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้- *มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้ว หลีกไปหาบาตรจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหา บาตรจีวรอยู่ ต่อนั้น ภิกษุมากรูปด้วยกัน ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ แล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กุลบุตรชื่อปุกกุสาติที่พระผู้มี- *พระภาคตรัสสอนด้วยพระโอวาทย่อๆ คนนั้น ทำกาละเสียแล้ว เขาจะมีคติ อย่างไร มีสัมปรายภพอย่างไร ฯ [๖๙๗] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเป็นบัณฑิต ได้บรรลุ ธรรมสมควรแก่ธรรมแล้ว ทั้งไม่ให้เราลำบากเพราะเหตุแห่งธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เป็นผู้เข้าถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชน์อันเป็นส่วน เบื้องต่ำ ๕ เป็นอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็น ธรรมดา ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ

ปรินิพพานเฉพาะตนข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยัง พระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อภัคควะยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่ง เถิด นายภัคควะทูลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ใน โรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตาม สบายเถิด ฯ [๖๗๔] ก็สมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อปุกกุสาติ ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตอุทิศพระผู้มีพระภาคด้วยศรัทธา ปุกกุสาติกุลบุตรนั้นเข้าไปพักอยู่ในโรง ของนายช่างหม้อนั้นก่อนแล้ว ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่าน ปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความ หนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูกร ท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด ฯ [๖๗๕] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรง ลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรง พระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่าน ปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรง พระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่า ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ฯ [๖๗๖] ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาค พระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุดังนี้ๆ พระผู้มี- *พระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและ จรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ ข้าพเจ้า บวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดา ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่ไหน ฯ ปุ. ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือ เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่าน เห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ ปุ. ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ [๖๗๗] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้บวช อุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจัก กล่าวต่อไป ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ ฯ [๖๗๘] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็น ธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียก เขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นี้อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก ฯ [๖๗๙] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั่น เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ อย่าง คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มี ธาตุ ๖ นั่น เราอาศัยธาตุดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๐] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดน สัมผัส ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั่น เราอาศัย อายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ย่อมหน่วงนึก รูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้ง แห่งอุเบกขา ฟังเสียงด้วยโสตแล้ว ... ดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ... ลิ้มรสด้วยชิวหา แล้ว ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ... รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึก ธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วง นึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึก โทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีความ หน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยความหน่วงนึกดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ มีปัญญาเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มี สัจจะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีจาคะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีอุปสมะเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา ดูกรภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ ฯ [๖๘๔] ดูกรภิกษุ ก็ปฐวีธาตุเป็นไฉน คือ ปฐวีธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็ปฐวีธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่แค่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ผม ขนเล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า หรือแม้ สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่แค่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า ปฐวีธาตุภายใน ก็ปฐวีธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นปฐวีธาตุทั้งนั้น พึงเห็นปฐวีธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายปฐวีธาตุ และจะให้จิต คลายกำหนัดปฐวีธาตุได้ ฯ [๖๘๕] ดูกรภิกษุ ก็อาโปธาตุเป็นไฉน คืออาโปธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็อาโปธาตุภายใน เป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ดี เสลด น้ำเหลือง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อาโปธาตุภายใน ก็อาโป ธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอาโปธาตุทั้งนั้น พึงเห็นอาโปธาตุนั้นด้วย ปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตา ของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอาโปธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอาโปธาตุ ได้ ฯ [๖๘๖] ดูกรภิกษุ ก็เตโชธาตุเป็นไฉน คือ เตโชธาตุภายในก็มี ภาย นอกก็มี ก็เตโชธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อน กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ธาตุที่เป็นเครื่องยังกายให้อบอุ่น ยังกายให้ทรุดโทรม ยังกายให้กระวนกระวาย และธาตุที่เป็นเหตุให้ของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้ว ถึงความย่อยไปด้วยดี หรือแม้ สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อน กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า เตโชธาตุภายใน ก็เตโชธาตุทั้งภายใน และภายนอก นี้แล เป็นเตโชธาตุทั้งนั้น พึงเห็นเตโชธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตาม ความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็น แล้ว จะเบื่อหน่ายเตโชธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดเตโชธาตุได้ ฯ [๖๘๗] ดูกรภิกษุ ก็วาโยธาตุเป็นไฉน คือ วาโยธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็วาโยธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในลำไส้ ลมแล่นไป ตามอวัยวะน้อยใหญ่ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้า หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าวาโยธาตุภายใน ก็วาโยธาตุ ทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นวาโยธาตุทั้งนั้น พึงเห็นวาโยธาตุนั้นด้วยปัญญา ชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายวาโยธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดวาโยธาตุได้ ฯ [๖๘๘] ดูกรภิกษุ ก็อากาสธาตุเป็นไฉน คือ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็อากาสธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปากซึ่งเป็นทางให้กลืนของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม เป็นที่ตั้งของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และเป็นทางระบาย ของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วออกทางเบื้องล่าง หรือแม้สิ่งอื่น ไม่ว่าชนิด ไรๆ ที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อากาสธาตุ ภายใน ก็อากาสธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอากาสธาตุทั้งนั้น พึงเห็น อากาสธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเราไม่ ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอากาสธาตุ และจะให้ จิตคลายกำหนัดอากาสธาตุได้ ฯ [๖๘๙] ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง บุคคล ย่อมรู้อะไรๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุข บ้าง ดูกรภิกษุ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะ นั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ ผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อม เกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลัง เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่าความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ ฯ [๖๙๐] ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนเกิดความร้อน เกิดไฟได้ เพราะไม้ สองท่อนประชุมสีกัน ความร้อนที่เกิดแต่ไม้สองท่อนนั้น ย่อมดับ ย่อมเข้าไป สงบ เพราะไม้สองท่อนนั้นเองแยกกันไปเสียคนละทาง แม้ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะ นั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ ผัสสะนั้น คือ ตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อม เกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลัง เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ ต่อนั้น สิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว ฯ [๖๙๑] ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนนายช่างทอง หรือลูกมือของนายช่างทอง ผู้ฉลาด ติดเตาสุมเบ้าแล้ว เอาคีมคีบทองใส่เบ้า หลอมไป ซัดน้ำไป สังเกตดู ไปเป็นระยะๆ ทองนั้นจะเป็นของถูกไล่ขี้แล้ว หมดฝ้า เป็นเนื้ออ่อน สลวย และผ่องแผ้ว เขาประสงค์ชนิดเครื่องประดับใดๆ จะเป็นแหวน ตุ้มหู เครื่อง ประดับ มาลัยทองก็ตาม ย่อมสำเร็จความประสงค์อันนั้นแต่ทองนั้นได้ ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อม อุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และ เจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขา อาศัยอากาสานัญจายตนฌานนั้น ยึดอากาสานัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาล ยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญ- *จายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ยึดวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขา ของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยอากิญจัญญายตนฌานนั้น ยึดอากิญจัญญายตนฌาน นั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อ เป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน นั้น ยึดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน บุคคลนั้น ย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรม ควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่ หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า ทุกขเวทนา นั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า อทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้แล จักเป็น ของสงบ ฯ [๖๙๒] ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่น ย่อมเป็น ประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล บุคคลนั้นเมื่อ เสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อ เสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และ รู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดี กันแล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ เพราะเหตุนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึก อย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ทั้งปวง เป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความ หลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ ดูกรภิกษุ เพราะสิ่ง ที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย สัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความ ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง อนึ่ง บุคคลนั้นแล ยังไม่ ทราบในกาลก่อน จึงเป็นอันพรั่งพร้อม สมาทานอุปธิเข้าไว้ อุปธิเหล่านั้นเป็นอัน เขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีก ไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละ อย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็จาคะนี้ คือความสละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง อนึ่ง บุคคล นั้นแล ยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรม นั้นๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วย ความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ อย่างยิ่งประการนี้ ก็อุปสมะนี้ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เป็น อุปสมะอันประเสริฐอย่างยิ่ง ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตาม รักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๙๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็น ธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะ เรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ความสำคัญ ตนมีอยู่ดังนี้ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็น- *สัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็น สัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ดูกรภิกษุ ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนี ผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร ข้อที่เรากล่าว ดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลส เครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและ กิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ท่านจงทรงจำธาตุวิภังค์ ๖ โดยย่อนี้ ของเราไว้เถิด ฯ [๖๙๔] ลำดับนั้นแล ท่านปุกกุสาติทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้วโดยลำดับ จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูล พระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้า แล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มี- *พระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด ฯ [๖๙๕] พ. ดูกรภิกษุ เอาเถอะ โทษล่วงเกินได้ต้องเธอผู้มีอาการโง่ เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งเธอได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกเราด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ แต่เพราะเธอเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษแล้วกระทำคืนตามธรรม เราขอ รับอดโทษนั้นแก่เธอ ดูกรภิกษุ ก็ข้อที่บุคคลเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษ แล้วกระทำคืนตามธรรม ถึงความสำรวมต่อไปได้ นั่นเป็นความเจริญในอริยวินัย ฯ ปุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์พึงได้อุปสมบทในสำนักของ พระผู้มีพระภาคเถิด ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ ปุ. ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ พ. ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบ อุปสมบทไม่ได้เลย ฯ [๖๙๖] ลำดับนั้น ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้- *มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้ว หลีกไปหาบาตรจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหา บาตรจีวรอยู่ ต่อนั้น ภิกษุมากรูปด้วยกัน ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ แล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กุลบุตรชื่อปุกกุสาติที่พระผู้มี- *พระภาคตรัสสอนด้วยพระโอวาทย่อๆ คนนั้น ทำกาละเสียแล้ว เขาจะมีคติ อย่างไร มีสัมปรายภพอย่างไร ฯ [๖๙๗] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเป็นบัณฑิต ได้บรรลุ ธรรมสมควรแก่ธรรมแล้ว ทั้งไม่ให้เราลำบากเพราะเหตุแห่งธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เป็นผู้เข้าถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชน์อันเป็นส่วน เบื้องต่ำ ๕ เป็นอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็น ธรรมดา ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ

วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ผู้ถึงฝั่งแห่งภพ

แนวทางการสร้างเครื่องอินเวอร์เตอร์

สูงสุดคืนสู่สามัญ

เราจะดำรงค์ไว้ซึ่งพระศาสนาของพระศาสดา

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

รับออกแบบหลอดไฟประดับไฟกระพริบไฟโฆษณา ด้วยโปรแกรม Arduino

รับออกแบบหลอดไฟประดับไฟกระพริบไฟโฆษณา ด้วยโปรแกรม Arduino

วงจรอินเวอร์เตอร์สามเฟสแบบใหม่ รุ่นนี้CODEมาจากรัสเซียครับใช้มือหมุนคล้าย MC3PHAC

รุ่นนี้มาจากรัสเซียครับใช้มือหมุนคล้าย MC3PHAC

อินเวอร์เตอร์สามเฟสรุ่นใหม่

อินเวอร์เตอร์สามเฟสรุ่นใหม่

อินเวอร์เตอร์สามเฟสแบบใหม่

การนั่งสมาธิให้จิตนิ่ง กับการบรรลุธรรม เป็นคนละเรื่องกัน

การนั่งสมาธิให้จิตนิ่ง กับการบรรลุธรรม เป็นคนละเรื่องกัน

ก้าวข้ามวันเวลา

สร้าง เครื่อง จักรกล และ ยานยนต์ ไฟฟ้า หนึ่งแรงม้า ด้วย ราคา หนึ่งพันบาทรวมคลิปการเปลี่ยนพลังงานและประหยัดพลังงาน การสร้างเครื่อง ปรับรอบ ความเร็วมอเตอร์มอเตอร์ไฟฟ้า สามเฟส ใช้ไฟฟ้ากระแสลับ เฟสเดียว ใช้ไฟฟ้ากระแสตรง จากแบตเตอรี่ โดยใช้เทคโนโลยี ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATMEL Atmega และ Arduino จำหน่าย Power Module และ โปรแกรม Arduino ให้เป็น อินเวอร์เตอร์ สามเฟส ได้รับความอนุเคราะห์ โค๊ด จากท่าน Tomasz Drazek ประเทศโปแลนด์ 3 Phase Motor Control Code Arduino 328 P Thank you very much, sir โค๊ด และวงจร อยู่นี่ครับ https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 Thank you very much, sir https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 รุ่นใหม่ ราคา1000 บาท ครับ นำไปบัดกรีและต่อเติมตามถนัดครับ..มี บอร์ด Arduino 1 บอร์ด ราคา 700 บาท และ PS21244 1 หรือ PS21963 หรือ PS219A2 ราคา ตัวละ 300 บาท ครับ ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2559 จำหน่าย POWER MODULE 6DI15s-050 MP6501A TM51 PS21244 PS21963 GT15J331 ใช้สำหรับ สร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ สามเฟส ที่ใช้ใน เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่มีมอเตอร์ ชนิดสามเฟส ติดต่อที่ LINE pornpimon 1411 Intelligent power module PS21244 มีจำหน่าย ราคาตัวละ 300 บาท NEW MODULE 6DI15S-050 FUJI LOCATION M in Business & Industrial, Electrical & Test Equipment, Industrial Automation, Control มีจำหน่ายราคาตัวละ 300 บาท TM52A สินค้าหมดแล้วครับ....https://www..com/watch?v=fpP69G42wok ดูรายละเอียดจากคลิป ง่ายกว่าครับ มีหลายคลิป เบื้องต้นทำสัญญาน 6 ตำแหน่งให้ ต่ำกว่า 0.5 Volt ครับ ค่า R PULL UP ใช้ 5.6 K-10K จะพอดีครับ ไฟเลี้ยง ต้องเรียบพอ ไม่ต่ำกว่า 15 Vdc ครับ รายละเอียดการต่อ PS21244 กับ MC3PHACแบบขนานและแบบธรรมดา...ชมการทดสอบจริงกับมอเตอร์ ห้าแรงไม่มีโหลด จากคลิปนี้ก็ได้ครับ...วงจรขนานที่ใช้ MOSFET STU 418 ยังใช้ไม่ได้..ไม่สมบูรณ์..ครับ...ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจhttps://www..com/watch?v=yXZhTqUhXqA TM52A...หมดแล้ว.ใช้ PS21244 ขนานกัน....ได้ครับ....ขาย ic หาง่าย ใช้ง่าย PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 D 6DI15S-050 C MP6501A TM52A TM51 ใช้ทำเครื่องอินเวอร์เตอร์ เครื่องปรับรอบมอเตอร์ เครื่องแปลงไฟฟ้า PS21244 ราคาตัวละ 300 บาท 4 ตัว 1000 บาท ครับค่าส่ง Ems 100 บาท ครับ Line:pornpimon 1411 มือถือ 081-803-6553 เบอร์บ้าน 02-951-1356 sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com https://www.youtube.com/watch?v=TYuLuP31QOw https://www.youtube.com/watch?v=yuMdz3fqhtg https://www.youtube.com/watch?v=ThGs-s99_J0 https://www.youtube.com/watch?v=bd97PM3v66A จำหน่าย ออกแบบ ซ่อม สร้าง อินเวอร์เตอร์ เครื่องควบคุมมอเตอร์ อินดัตชั่น สามเฟส

สร้าง เครื่อง จักรกล และ ยานยนต์ ไฟฟ้า หนึ่งแรงม้า ด้วย ราคา หนึ่งพันบาทรวมคลิปการเปลี่ยนพลังงานและประหยัดพลังงาน การสร้างเครื่อง ปรับรอบ ความเร็วมอเตอร์มอเตอร์ไฟฟ้า สามเฟส ใช้ไฟฟ้ากระแสลับ เฟสเดียว ใช้ไฟฟ้ากระแสตรง จากแบตเตอรี่ โดยใช้เทคโนโลยี ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATMEL Atmega และ Arduino จำหน่าย Power Module และ โปรแกรม Arduino ให้เป็น อินเวอร์เตอร์ สามเฟส ได้รับความอนุเคราะห์ โค๊ด จากท่าน Tomasz Drazek ประเทศโปแลนด์ 3 Phase Motor Control Code Arduino 328 P Thank you very much, sir โค๊ด และวงจร อยู่นี่ครับ https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 Thank you very much, sir https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 รุ่นใหม่ ราคา1000 บาท ครับ นำไปบัดกรีและต่อเติมตามถนัดครับ..มี บอร์ด Arduino 1 บอร์ด ราคา 700 บาท และ PS21244 1 หรือ PS21963 หรือ PS219A2 ราคา ตัวละ 300 บาท ครับ ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2559 จำหน่าย POWER MODULE 6DI15s-050 MP6501A TM51 PS21244 PS21963 GT15J331 ใช้สำหรับ สร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ สามเฟส ที่ใช้ใน เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่มีมอเตอร์ ชนิดสามเฟส ติดต่อที่ LINE pornpimon 1411 Intelligent power module PS21244 มีจำหน่าย ราคาตัวละ 300 บาท NEW MODULE 6DI15S-050 FUJI LOCATION M in Business & Industrial, Electrical & Test Equipment, Industrial Automation, Control มีจำหน่ายราคาตัวละ 300 บาท TM52A สินค้าหมดแล้วครับ....https://www..com/watch?v=fpP69G42wok ดูรายละเอียดจากคลิป ง่ายกว่าครับ มีหลายคลิป เบื้องต้นทำสัญญาน 6 ตำแหน่งให้ ต่ำกว่า 0.5 Volt ครับ ค่า R PULL UP ใช้ 5.6 K-10K จะพอดีครับ ไฟเลี้ยง ต้องเรียบพอ ไม่ต่ำกว่า 15 Vdc ครับ รายละเอียดการต่อ PS21244 กับ MC3PHACแบบขนานและแบบธรรมดา...ชมการทดสอบจริงกับมอเตอร์ ห้าแรงไม่มีโหลด จากคลิปนี้ก็ได้ครับ...วงจรขนานที่ใช้ MOSFET STU 418 ยังใช้ไม่ได้..ไม่สมบูรณ์..ครับ...ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจhttps://www..com/watch?v=yXZhTqUhXqA TM52A...หมดแล้ว.ใช้ PS21244 ขนานกัน....ได้ครับ....ขาย ic หาง่าย ใช้ง่าย PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 D 6DI15S-050 C MP6501A TM52A TM51 ใช้ทำเครื่องอินเวอร์เตอร์ เครื่องปรับรอบมอเตอร์ เครื่องแปลงไฟฟ้า PS21244 ราคาตัวละ 300 บาท 4 ตัว 1000 บาท ครับค่าส่ง Ems 100 บาท ครับ Line:pornpimon 1411 มือถือ 081-803-6553 เบอร์บ้าน 02-951-1356 sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com https://www.youtube.com/watch?v=TYuLuP31QOw https://www.youtube.com/watch?v=yuMdz3fqhtg https://www.youtube.com/watch?v=ThGs-s99_J0 https://www.youtube.com/watch?v=bd97PM3v66A จำหน่าย ออกแบบ ซ่อม สร้าง อินเวอร์เตอร์ เครื่องควบคุมมอเตอร์ อินดัตชั่น สามเฟส

สร้าง เครื่อง จักรกล และ ยานยนต์ ไฟฟ้า หนึ่งแรงม้า ด้วย ราคา หนึ่งพันบาทรวมคลิปการเปลี่ยนพลังงานและประหยัดพลังงาน การสร้างเครื่อง ปรับรอบ ความเร็วมอเตอร์มอเตอร์ไฟฟ้า สามเฟส ใช้ไฟฟ้ากระแสลับ เฟสเดียว ใช้ไฟฟ้ากระแสตรง จากแบตเตอรี่ โดยใช้เทคโนโลยี ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATMEL Atmega และ Arduino จำหน่าย Power Module และ โปรแกรม Arduino ให้เป็น อินเวอร์เตอร์ สามเฟส ได้รับความอนุเคราะห์ โค๊ด จากท่าน Tomasz Drazek ประเทศโปแลนด์ 3 Phase Motor Control Code Arduino 328 P Thank you very much, sir โค๊ด และวงจร อยู่นี่ครับ https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 Thank you very much, sir https://onedrive.live.com/?authkey=%21AGul_y3NOhiUL68&id=5D7E6463F144D1A1%2174036&cid=5D7E6463F144D1A1 รุ่นใหม่ ราคา1000 บาท ครับ นำไปบัดกรีและต่อเติมตามถนัดครับ..มี บอร์ด Arduino 1 บอร์ด ราคา 700 บาท และ PS21244 1 หรือ PS21963 หรือ PS219A2 ราคา ตัวละ 300 บาท ครับ ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2559 จำหน่าย POWER MODULE 6DI15s-050 MP6501A TM51 PS21244 PS21963 GT15J331 ใช้สำหรับ สร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ สามเฟส ที่ใช้ใน เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่มีมอเตอร์ ชนิดสามเฟส ติดต่อที่ LINE pornpimon 1411 Intelligent power module PS21244 มีจำหน่าย ราคาตัวละ 300 บาท NEW MODULE 6DI15S-050 FUJI LOCATION M in Business & Industrial, Electrical & Test Equipment, Industrial Automation, Control มีจำหน่ายราคาตัวละ 300 บาท TM52A สินค้าหมดแล้วครับ....https://www..com/watch?v=fpP69G42wok ดูรายละเอียดจากคลิป ง่ายกว่าครับ มีหลายคลิป เบื้องต้นทำสัญญาน 6 ตำแหน่งให้ ต่ำกว่า 0.5 Volt ครับ ค่า R PULL UP ใช้ 5.6 K-10K จะพอดีครับ ไฟเลี้ยง ต้องเรียบพอ ไม่ต่ำกว่า 15 Vdc ครับ รายละเอียดการต่อ PS21244 กับ MC3PHACแบบขนานและแบบธรรมดา...ชมการทดสอบจริงกับมอเตอร์ ห้าแรงไม่มีโหลด จากคลิปนี้ก็ได้ครับ...วงจรขนานที่ใช้ MOSFET STU 418 ยังใช้ไม่ได้..ไม่สมบูรณ์..ครับ...ยังไม่ได้ผลที่น่าพอใจhttps://www..com/watch?v=yXZhTqUhXqA TM52A...หมดแล้ว.ใช้ PS21244 ขนานกัน....ได้ครับ....ขาย ic หาง่าย ใช้ง่าย PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 D 6DI15S-050 C MP6501A TM52A TM51 ใช้ทำเครื่องอินเวอร์เตอร์ เครื่องปรับรอบมอเตอร์ เครื่องแปลงไฟฟ้า PS21244 ราคาตัวละ 300 บาท 4 ตัว 1000 บาท ครับค่าส่ง Ems 100 บาท ครับ Line:pornpimon 1411 มือถือ 081-803-6553 เบอร์บ้าน 02-951-1356 sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com https://www.youtube.com/watch?v=TYuLuP31QOw https://www.youtube.com/watch?v=yuMdz3fqhtg https://www.youtube.com/watch?v=ThGs-s99_J0 https://www.youtube.com/watch?v=bd97PM3v66A จำหน่าย ออกแบบ ซ่อม สร้าง อินเวอร์เตอร์ เครื่องควบคุมมอเตอร์ อินดัตชั่น สามเฟส

มรรคผลนิพพานไม่ไกลนะ มันไกลสำหรับคนซึ่งไม่รู้จักวิธีเราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

สภาวะที่สิ้นตัณหา

การจุดระเบิดหัวเทียนThe program structure. The program consists of 5 sections: Declaration, Setup, Interrupt actions, Interrupt Service Routine and Loop. Declaration This is where all the variables are declared and deciding what data types they are and which pins to use. In this case we are manipulating the AVR processor built in Timers, so here is also where we include the AVR codes. Setup Here we setup all the variables in the terms of resetting, pointing out the pins and deciding if they are inputs or outputs. Her w also setup the interrupt functions to be used later in the program. The AVR timer no2 are set now and the correct type of interrupt service routine to be used with the timer are set. Interrupt actions This actions will happen when the hall sensors are exposed to the magnets on the crank. Interrupts are always interrupting the loop. There is one interrupt action for the rising trigger signal and on for the falling trigger signal. When magnet no 1 that has the north facing towards the sensor, flies by, the hall latches on and triggers the interrupt “SensorOn”. Deepening on the current rpm, the different things will happen. If the rpm is below 300, the Arduino will start the ignition system 2 straight away and start charging coil no 2 . If the rpm is over 300, ignition system 1 will start after the right amount of crank time has elapsed. The timer will be initiated to be able to count up to 1 millisecond and automatically start over again. Also the RPM calculations will happen here. The second Interrupt

การละสักกายทิฐิเมื่อเดินปัญญาแก่รอบเต็มที่แล้ว จิตจะรวมเข้าอัปปนาเอง ในนาทีที่จะตัดสินความรู้บรรลุ อริยมรรค อริยผล ... เจริญปัญญาให้มาก มีแค่ขณิกสมาธินะ ทุกวันพยายามไหว้พระสวดมนต์ไว้ ทำในรูปแบบ จิตหนีไปคิดแล้วรู้ทัน ฝึกให้มันมีขณิกสมาธิ แล้วมาเดินปัญญา รู้กาย รู้ใจ ในชีวิตประจำวัน ...สิ่งใดเกิดขึ้นแล้ว แล้วสิ่งนั้นดับไป อย่างนี้ก็ใช้ได้ ถ้าถึงขนาดเห็นองค์ฌานเกิดดับอย่างนี้มีน้อยเต็มที ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่­­อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไป ด้วยกำล­­ัง ของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมา ให้เรารู้สึก­­ได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเ­­ห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณ­­าว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกัน­­นะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือป...เราอย่าประมาท เราเดินอยู่บนขอบเหวแท้ๆเลย เหมือนเราไต่เชือกไต่อะไรอยู่ พลาดพลั่งไม่ได้นะ ต้องสู้นะ ประมาทไม่ได้เลยนะสังสารวัฎเนี่ย พลาดแวบเดียวเนี่ยไปยาวมากเลยเหมือนเราไต่­ภูเขา พลัดตกเหวลงมานะไม่ใช่ง่ายที่จะขึ้นไปทุลั­กทุเลนะ ต้องเข้มแข็งนะสู้กับกิเลสถอยไม่ได้แต่สู้­ต้องมีสติปัญญาเหมือนเราไต่เขาต้องมีสติปั­ญญาไม่ใช่ไต่โง่ๆ ขึ้นไปนะ ตอนนี้เหนื่อยแล้วต้องหยุดพักหาชะง่อนหิน พักก่อน มีเรี่ยวมีแรงค่อยไต่ใหม่เราภาวนาไปแล้วช่­วงนี้เหน็ดเหนื่อยแล้วก็ให้ทำสมถะ ทำความสงบสงบแล้วจิตใจมีเรี่ยวแรงแล้วมาเจ­ริญปัญญารู้กายรู้ใจอีกกระดึ๊บๆๆ ไปเรื่อยไม่ท้อถอยนะจะยากลำบากแค่ไหนก็ถอย­ไม่ได้นะเป็นโอกาสดีมากๆของพวกเราแล้วที่ไ­ด้เจอศาสนาพุทธนะมีโอกาสแล้วต้องทำ ทิ้งโอกาสผ่านไปแล้วก็คือหมดโอกาสหนทางยัง­มีอยู่ ผู้เดินทางไม่ขาดสาย ให้ลงมือเดินทางเสียตั้งแต่วันนี้ก่อนที่เ­ส้นทางนี้ หรือรอยเท้าของท่านเหล่านี้จะหายไป ปัญญาเบื้องต้นมันจะเห็นเลยว่า ทุกอย่างเกิดแล้วดับ ปัญญาเบื้องปลายจะเห็นว่า ทุกอย่างนั้นแหละทุกข์ ถ้าเห็นแจ้งทุกข์ จิตจะสลัดคืนกองทุกข์ให้โลก คืนกายคืนใจให้โลกไป ถ้าจิตเราไม่ยึดถือในรูปนามกายใจนะ จะไม่ยึดถืออะไรในโลกอีกแล้ว จะเป็นอิสระ ใจจะโปร่งโล่งเบา มีความสุขอยู่อย่างนั้นแหละทั้งวันทั้งคืน เข้าถึงความสุขอีกชนิดหนึ่งแล้ว ความสุขที่มหาศาลเลย คือความสุขของพระนิพพาน จิตซึ่งไปสัมผัสพระนิพพาน ก็ได้สัมผัสความสุขของพระนิพพานมา มีความสุขมหาศาล จิตที่สัมผัสพระนิพพานมีความสุข ท่านบอกว่า “นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ” นิพพานเป็นบรมสุข สุขจริงๆ สุขที่พวกเรารู้จักในวันนี้นะ เล็กน้อยมากเลยนะ ถ้าเทียบกับสุขในธรรมะที่ปราณีตขึ้นเป็นลำดับๆ สุขของเราอย่างนี้เรียกว่า “กามสุข” กินของอร่อยมีความสุข เห็นของสวยๆมีความสุข ได้ยินเสียงไพเราะๆ เสียงชมเสียงอะไรเหล่านี้ มีความสุข นี้เป็นกามสุข กามสุขที่โลกเขาใฝ่หาเนี่ย เล็กน้อยเหลือเกินเมื่อเทียบกับฌานสุข ถ้าเราทำฌานทำสมาธิได้ เราจะรู้เลยว่า กามสุขเป็นเรื่องเล็กน้อย สกปรกโสโครก ความสุขของกามเนี่ย คล้ายๆเด็กที่ไร้เดียงสาไปเล่นไส้เดือนกิ้งกือ เล่นของขยะสกปรก เล่นได้หมดเลย ก็มีความสุข เด็กไปเล่นดินเล่นทรายสกปรกนะ ตัวมอมแมมหน้ามอมแมมไปหมด มันมีความสุข เนี่ยกามสุขมันเป็นแบบนั้น ฌานสุขมันสูงกว่านั้นนะ ฌานสุขมันเป็นสุขที่มันอิ่มมันเต็มมากขึ้น แต่ว่าความสุขในโลกุตตระ ความสุขในพระนิพพานนั้นน่ะ ฌานสุขเทียบไม่ติดเลย ฌานนั้นแหละกลายเป็นตัวทุกข์เลย คนที่ทรงฌานก็จะเห็นว่ากามสุขนั้นเป็นตัวทุกข์ แต่ว่าคนซึ่งเข้าถึงโลกุตตระแล้ว ก็ยังเห็นอีกว่าฌานนั้นแหละเป็นตัวทุกข์ จะเห็นกันเป็นลำดับๆไปนะ คล้ายๆพัฒนาขึ้นไปๆตามสติปัญญาที่แก่กล้าขึ้นไปๆ ถ้าเราสัมผัสพระนิพพานแล้ว เราจะรู้เลยว่าโลกนี้หาสาระแก่นสารไม่ได้ โลกนี้เหมือนฝัน ความสุขเหมือนกับฝันอยู่เท่านั้นแหละ ไม่ใช่มีของจริงอะไรให้เราดูเลย ความสุขของพระนิพพานนั้นเหมือนกับของจริง มันเหมือนว่าเรากลับบ้านเราได้แล้ว เราเป็นเด็กหลงทางหาทางกลับบ้านไม่เจอ วันนี้เรากลับถึงบ้านได้แล้ว มันมีความสุขนะ เจอพ่อเจอแม่ของเรา คือเจอพระพุทธเจ้า จิตของเรานั้นแหละ กับพระพุทธเจ้า จะหลอมรวมเป็นสิ่งเดียวกัน จิตของเรากับพระธรรมจะหลอมรวมเข้าเป็นสิ่งเดียวกัน จิตนั้นแหละก็คือตัวพระสงฆ์ พระรัตนตรัยรวมเข้าเป็นหนึ่งที่จิตนั้นเอง ที่จิตที่บริสุทธิ์จิตที่สะอาด จะมีความสุขที่ไม่มีอะไรเหมือน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าเราอย่าประมาท เราเดินอยู่บนขอบเหวแท้ๆเลย เหมือนเราไต่เชือกไต่อะไรอยู่ พลาดพลั่งไม่ได้นะ ต้องสู้นะ ประมาทไม่ได้เลยนะสังสารวัฎเนี่ย พลาดแวบเดียวเนี่ยไปยาวมากเลยเหมือนเราไต่­ภูเขา พลัดตกเหวลงมานะไม่ใช่ง่ายที่จะขึ้นไปทุลั­กทุเลนะ ต้องเข้มแข็งนะสู้กับกิเลสถอยไม่ได้แต่สู้­ต้องมีสติปัญญาเหมือนเราไต่เขาต้องมีสติปั­ญญาไม่ใช่ไต่โง่ๆ ขึ้นไปนะ ตอนนี้เหนื่อยแล้วต้องหยุดพักหาชะง่อนหิน พักก่อน มีเรี่ยวมีแรงค่อยไต่ใหม่เราภาวนาไปแล้วช่­วงนี้เหน็ดเหนื่อยแล้วก็ให้ทำสมถะ ทำความสงบสงบแล้วจิตใจมีเรี่ยวแรงแล้วมาเจ­ริญปัญญารู้กายรู้ใจอีกกระดึ๊บๆๆ ไปเรื่อยไม่ท้อถอยนะจะยากลำบากแค่ไหนก็ถอย­ไม่ได้นะเป็นโอกาสดีมากๆของพวกเราแล้วที่ไ­ด้เจอศาสนาพุทธนะมีโอกาสแล้วต้องทำ ทิ้งโอกาสผ่านไปแล้วก็คือหมดโอกาสหนทางยัง­มีอยู่ ผู้เดินทางไม่ขาดสาย ให้ลงมือเดินทางเสียตั้งแต่วันนี้ก่อนที่เ­ส้นทางนี้ หรือรอยเท้าของท่านเหล่านี้จะหายไป ปัญญาเบื้องต้นมันจะเห็นเลยว่า ทุกอย่างเกิดแล้วดับ ปัญญาเบื้องปลายจะเห็นว่า ทุกอย่างนั้นแหละทุกข์ ถ้าเห็นแจ้งทุกข์ จิตจะสลัดคืนกองทุกข์ให้โลก คืนกายคืนใจให้โลกไป ถ้าจิตเราไม่ยึดถือในรูปนามกายใจนะ จะไม่ยึดถืออะไรในโลกอีกแล้ว จะเป็นอิสระ ใจจะโปร่งโล่งเบา มีความสุขอยู่อย่างนั้นแหละทั้งวันทั้งคืน เข้าถึงความสุขอีกชนิดหนึ่งแล้ว ความสุขที่มหาศาลเลย คือความสุขของพระนิพพาน จิตซึ่งไปสัมผัสพระนิพพาน ก็ได้สัมผัสความสุขของพระนิพพานมา มีความสุขมหาศาล จิตที่สัมผัสพระนิพพานมีความสุข ท่านบอกว่า “นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ” นิพพานเป็นบรมสุข สุขจริงๆ สุขที่พวกเรารู้จักในวันนี้นะ เล็กน้อยมากเลยนะ ถ้าเทียบกับสุขในธรรมะที่ปราณีตขึ้นเป็นลำดับๆ สุขของเราอย่างนี้เรียกว่า “กามสุข” กินของอร่อยมีความสุข เห็นของสวยๆมีความสุข ได้ยินเสียงไพเราะๆ เสียงชมเสียงอะไรเหล่านี้ มีความสุข นี้เป็นกามสุข กามสุขที่โลกเขาใฝ่หาเนี่ย เล็กน้อยเหลือเกินเมื่อเทียบกับฌานสุข ถ้าเราทำฌานทำสมาธิได้ เราจะรู้เลยว่า กามสุขเป็นเรื่องเล็กน้อย สกปรกโสโครก ความสุขของกามเนี่ย คล้ายๆเด็กที่ไร้เดียงสาไปเล่นไส้เดือนกิ้งกือ เล่นของขยะสกปรก เล่นได้หมดเลย ก็มีความสุข เด็กไปเล่นดินเล่นทรายสกปรกนะ ตัวมอมแมมหน้ามอมแมมไปหมด มันมีความสุข เนี่ยกามสุขมันเป็นแบบนั้น ฌานสุขมันสูงกว่านั้นนะ ฌานสุขมันเป็นสุขที่มันอิ่มมันเต็มมากขึ้น แต่ว่าความสุขในโลกุตตระ ความสุขในพระนิพพานนั้นน่ะ ฌานสุขเทียบไม่ติดเลย ฌานนั้นแหละกลายเป็นตัวทุกข์เลย คนที่ทรงฌานก็จะเห็นว่ากามสุขนั้นเป็นตัวทุกข์ แต่ว่าคนซึ่งเข้าถึงโลกุตตระแล้ว ก็ยังเห็นอีกว่าฌานนั้นแหละเป็นตัวทุกข์ จะเห็นกันเป็นลำดับๆไปนะ คล้ายๆพัฒนาขึ้นไปๆตามสติปัญญาที่แก่กล้าขึ้นไปๆ ถ้าเราสัมผัสพระนิพพานแล้ว เราจะรู้เลยว่าโลกนี้หาสาระแก่นสารไม่ได้ โลกนี้เหมือนฝัน ความสุขเหมือนกับฝันอยู่เท่านั้นแหละ ไม่ใช่มีของจริงอะไรให้เราดูเลย ความสุขของพระนิพพานนั้นเหมือนกับของจริง มันเหมือนว่าเรากลับบ้านเราได้แล้ว เราเป็นเด็กหลงทางหาทางกลับบ้านไม่เจอ วันนี้เรากลับถึงบ้านได้แล้ว มันมีความสุขนะ เจอพ่อเจอแม่ของเรา คือเจอพระพุทธเจ้า จิตของเรานั้นแหละ กับพระพุทธเจ้า จะหลอมรวมเป็นสิ่งเดียวกัน จิตของเรากับพระธรรมจะหลอมรวมเข้าเป็นสิ่งเดียวกัน จิตนั้นแหละก็คือตัวพระสงฆ์ พระรัตนตรัยรวมเข้าเป็นหนึ่งที่จิตนั้นเอง ที่จิตที่บริสุทธิ์จิตที่สะอาด จะมีความสุขที่ไม่มีอะไรเหมือน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า การปฏิบัติธรรมนี่ พอกิเลสผุดขึ้นมาเรามีสติรู้ทัน กิเลสก็ดับไป ทันทีที่เกิดสติไม่มีกิเลส เพราะฉะนั้นในการปฏิบัติธรรมนี่ไม่ได้ปฏิบัติเพื่อละกิเลส แต่แค่มีสติกิเลสก็ดับ ทีนี้พอกิเลสดับไปเราก็ไม่ทำตามความเคยชินเก่าๆ ที่กิเลสสอนให้ทำ ความเคยชินของเราก็ค่อยๆ เปลี่ยน อนุสัยก็จะค่อยๆ เปลี่ยนไป อย่างแต่เดิมเราด่าไวมากเลย ใครมากระทบนะ เราโมโห เราด่าเลยนี่ พอกิเลสเกิดขึ้นมา โทสะเกิด เราก็ด่า อนุสัยนี่มันปรุงกิเลสหยาบขึ้นมา พอมันปรุงกิเลสหยาบขึ้นมาแล้วครอบงำใจเราได้ เราทำกรรมใหม่ มันจะสะสมอนุสัยให้มากขึ้น หลวงพ่อยกตัวอย่างนะ สมมติสาวๆ คนหนึ่งนี่บ่นไม่เป็นนะ พอแต่งงานแล้วจะบ่นเก่งขึ้นเรื่อยๆ ใช่ไหม เพราะต้องดูแลบ้าน ดูแลสามี ดูแลลูก ทีแรกก็อบรมสั่งสอนนะ ในที่สุดกลายเป็นยายแก่ขี้บ่น มันเคยชิน มันเคยชินไปเรื่อย เพราะฉะนั้น ถ้าหากอนุสัยมันทำงานขึ้นมา แล้วเราก็ตอบสนองกิเลสไป อนุสัยจะยิ่งตัวใหญ่ขึ้น แต่ถ้าอนุสัยปรุงกิเลสขึ้นมา เรามีสติรู้ทันปั๊บ กิเลสดับไป อนุสัยลงทุนแล้วขาดทุน มันจะค่อยๆ ฝ่อไป เพราะฉะนั้นเราเจริญสตินี่ อนุสัยจะค่อยๆ เหี่ยวแห้งไปเรื่อยๆ

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าการปฏิบัติธรรมนี่ พอกิเลสผุดขึ้นมาเรามีสติรู้ทัน กิเลสก็ดับไป ทันทีที่เกิดสติไม่มีกิเลส เพราะฉะนั้นในการปฏิบัติธรรมนี่ไม่ได้ปฏิบัติเพื่อละกิเลส แต่แค่มีสติกิเลสก็ดับ ทีนี้พอกิเลสดับไปเราก็ไม่ทำตามความเคยชินเก่าๆ ที่กิเลสสอนให้ทำ ความเคยชินของเราก็ค่อยๆ เปลี่ยน อนุสัยก็จะค่อยๆ เปลี่ยนไป อย่างแต่เดิมเราด่าไวมากเลย ใครมากระทบนะ เราโมโห เราด่าเลยนี่ พอกิเลสเกิดขึ้นมา โทสะเกิด เราก็ด่า อนุสัยนี่มันปรุงกิเลสหยาบขึ้นมา พอมันปรุงกิเลสหยาบขึ้นมาแล้วครอบงำใจเราได้ เราทำกรรมใหม่ มันจะสะสมอนุสัยให้มากขึ้น หลวงพ่อยกตัวอย่างนะ สมมติสาวๆ คนหนึ่งนี่บ่นไม่เป็นนะ พอแต่งงานแล้วจะบ่นเก่งขึ้นเรื่อยๆ ใช่ไหม เพราะต้องดูแลบ้าน ดูแลสามี ดูแลลูก ทีแรกก็อบรมสั่งสอนนะ ในที่สุดกลายเป็นยายแก่ขี้บ่น มันเคยชิน มันเคยชินไปเรื่อย เพราะฉะนั้น ถ้าหากอนุสัยมันทำงานขึ้นมา แล้วเราก็ตอบสนองกิเลสไป อนุสัยจะยิ่งตัวใหญ่ขึ้น แต่ถ้าอนุสัยปรุงกิเลสขึ้นมา เรามีสติรู้ทันปั๊บ กิเลสดับไป อนุสัยลงทุนแล้วขาดทุน มันจะค่อยๆ ฝ่อไป เพราะฉะนั้นเราเจริญสตินี่ อนุสัยจะค่อยๆ เหี่ยวแห้งไปเรื่อยๆ

จิตถอดถอนตัวออกจากสังสารวัฎ ฆราวาสต้องทำงานนะเข้าใจหลักของการปฏิบัตินะ ลงมือทำ ยิ่งเราปฎิบัติ แรงของเราก็จะค่อยๆมากขึ้นๆ กำลัง จรวดมันจะออกจากโลกได้มันก็ต้องใช้แรง กำลังมากๆก็หลุดออกไปได้ จิตจะต้องมีพลังมาก ในการที่จะถอนตัวออกจากสังสารวัฏฏ์ได้ แต่ก่อนเขาไม่ค่อยสอนกันนะ แต่ก่อนเวลาสอนฆราวาส ก็สอนทำทานถือศีล อย่างเก่งก็นั่งสมาธิ ฆราวาสน่ะ ถ้าเห็นทุกข์เห็นโทษของการมีชีวิตอยู่ทุกวันๆ มีแต่ทุกข์อะไรอย่างนี้ (ฆราวาส)ก็อยากพ้นเหมือนกัน เราบอกทางให้ ร้อยคนจะหลุดไปได้สักกึ่งหนึ่ง ไม่บอกเลยก็ไปไม่ได้สักคน หลวงพ่อถึงสอนพวกเราด้วยสิ่งที่ครูบาอาจารย์แต่ก่อนสอนกับพระ แต่ตัวหลวงพ่อ (สมัยฆราวาส)ภาวนาจริงจัง เข้าหาครูบาอาจารย์ ท่านสอนอย่างนี้ ท่านไม่ได้มาสอน ทำทาน รักษาศีล นั่งสมาธิ ท่านสอนเรื่องเจริญปัญญา เรื่องมรรคผลนิพพาน เรื่องอะไรเหล่านี้ ฆราวาสก็ทำได้นะ ฆราวาสสมัยพุทธกาลทำไมเขาก็ทำได้ ฆราวาสยุคนี้มันจะโง่ปานนั้น(จนทำไม่ได้)เชียวรึ ทำไม่ได้เลย ลองคน(ฆราวาส)ได้ฟัง ก็น่าจะได้สักครึ่งกว่าๆ ถ้าได้ฟัง เกินครึ่ง จะทำได้ ถ้าสนใจจะทำนะ แต่ถ้าคนไม่สนใจทำ เราไปเทศน์ร้อยคน มันก็ไม่ฟัง ฟังคนเดียว สองคน แล้วก็ไม่ค่อยทำ นี่ถ้าคนสนใจนะ ตั้งใจฟัง แล้วลงมือทำนะ น่าจะได้เกินครึ่ง หลวงพ่อสอนละเอียดนะ ควรจะทำได้ มันไม่เหลือวิสัยหรอกที่มนุษย์ธรรมดาจะทำได้

วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ARDUINO PWM IGBT ARDUINO PWM IGBT

IGBT สำหรับ ARDUINO PWM

How to generate a sine wave from arduino or atmega 328

ขณะจิตเดียวสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ โดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แหละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแล้ว

จิตหมดแรงดิ้นเราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

กิตติวุฑโฒภิกขุ 648 สามัญผลสูตรพระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่ามะม่วง ของหมอชีวก ใกล้กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ คืนวันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ อันเป็นวันอุโบสถ เดือน ๑๒ พระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จไปเฝ้า ทูลถามถึงผลดีของความเป็น สมณะ ที่เห็นได้ในปัจจุบัน และตรัสเล่าว่าเคยไปถามครูทั้ง ๖ มาแล้ว แต่ตอบไม่ตรงคำถาม เปรียบเหมือนถามถึงเรื่องมะม่วง แต่ไปตอบเรื่องขนุน จึงต้องกลับ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นข้อ ๆ ดังนี้ ๑. ผู้เคยเป็นทาส หรือกรรมกรของพระเจ้าอชาตศัตรู เมื่อออกบวชประพฤติตนดีงามแล้ว จะทรงเรียกร้องให้กลับไปเป็นทาสหรือกรรมกรตามเดิมหรือไม่ พระเจ้าอชาตศัตรูตรัสตอบว่าไม่เรียกกลับ แต่จะแสดงความเคารพถวายปัจจัย ๔ และถวายความคุ้มครองอันเป็นธรรม ตรัสสรุปว่า นี่เป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๒. คนทำนาของพระเจ้าอชาตศัตรู เมื่ออกบวชประพฤติตนดีงามแล้ว จะทรงเรียกร้องให้กลับไปทำนาให้ตามเดิมหรือไม่ ตรัสตอบเหมือนข้อแรก จึงนับเป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๓. คฤหบดีหรือบุตรคฤหบดี ฟังธรรมเลื่อมในแล้วออกบวชประพฤติพรหมจรรย์ สมบูรณ์ด้วยศีล สำรวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิให้บาปอกุศลเกิดขึ้นท่วมทับจิต มีสติสัมปชัญญะ มีความสันโดษ ยินดีด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ ออกป่าบำเพ็ญสมาธิ ละกิเลสที่เรียกว่านิวรณ์ ๕ เสียได้ จึงได้บรรลุ ฌานที่ ๑ นี่ก็เป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๔. ได้บรรลุฌานที่ ๒ ๕. ได้บรรลุฌานที่ ๓ ๖. ได้บรรลุฌานที่ ๔ ๗. น้อมจิตไปเพื่อเกิดความรู้เป็นด้วยปัญญา (ญาณทัสสนะ) ว่า กายมีความแตกทำลายไปเป็นธรรมดา วิญญาณก็อาศัยและเนื่องในกายนี้ ( วิปัสสนาญาณ ญาณอันทำให้เป็นแจ้ง) ๘. นิรมิตร่างกายอื่นจากการนี้ได้ (มโนมยิทธิ คือฤทธิ์ทางใจ) ๙. แสดงฤทธิ์ได้ เช่น น้อยคนทำให้เป็นมากคน มากคนทำให้เป็นน้อยคน เดินน้ำ ดำดินเป็นต้น ( อิทธิวิธิ) ๑๐.มีหูทิพย์ได้ยินเสียงใกล้ไกล ที่เกินวิสัยหูของมนุษย์ธรรมดา (ทิพยโสต) ๑๒.ระลึกชาติในอดีตได้ (ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ) ๑๓. เห็นสัตว์อื่นตายเกิดด้วยตาทิพย์ (เรียกว่าทิพยจักษุ หรือ จุตูปปาตญาณ คือ ญาณรู้ความตายและความเกิดของสัตว์) ๑๔.รู้จักทำอาสวะคือ กิเลสที่หมักหมม หรือ หมักดองในสันดานให้สิ้นไป (อาสาวักขยญาณ) แล้วตรัสสรุปในที่สุดแห่งทุกข้อแม้ว่า เป็นผลแห่งความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบันสูงกว่ากันเป็นลำดับ (เมื่อจะย่อผลแห่งความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบันทั้ง ๑๔ ข้อนี้เป็นหมวด ๆ ก็อาจย่อได้ ๓ หมวด คือ หมวดที่ ๑ ทำให้พ้นจากฐานะเดิม คือ พ้นจากความเป็นทาส เป็นกรรมกร พ้นจากความเป็นชาวนา ได้รับการปฏิบัติด้วยดี แม้จากพระมหากษัตริย์ คือ ผลข้อ ๑ กับข้อ ๒ หมวดที่ ๒ เมื่ออบรมจิตใจจนเป็นสมาธิ ก็เป็นเหตุให้ได้ฌานที่ ๑ ถึง ๔ อันทำให้ละกิเลสอย่างกลางได้ คือ ผลข้อ ๓, ๔, ๕, ๖. หมวดที่ ๓ ทำให้ได้วิชชา ๘ อันเริ่มแต่ข้อ ๗ ได้วิปัสสนาญาณ จนถึงข้อ ๑๔ ได้ อาสาวักขยญาณ พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงเลื่อมใส ปฏิญญาพระองค์เป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต แล้วกราบทูลขอขมาในการที่ทรงปลงพระชนม์ชีพพระราชบิดา (คือพระเจ้าพิมพิสาร) ซึ่งพระผู้มีพระภาคก็ตรัสรับขมา เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จกลับแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ถ้าพระเจ้าอชาตศัตรูไม่ปลงพระชนม์พระราชบิดา ก็จะได้ดวงตาเห็นธรรม (เป็นพระโสดาบัน) สรุปหลักธรรมในสามัญญผลสูตร ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การละกิเลสคือนิวรณ์ ๕ คือ ๑. กามฉันท์ ความอยากได้อยากเอา (แปลตามศัพท์ว่าความพอใจในกาม) หรืออภิชฌา ความเพ่งเล็งอยากได้ หมายถึงความอยากได้ในกามคุณทั้ง ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฐฐัพพะ ที่น่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ เป็นกิเลสพวกโลภะ จิตที่ถูกล่อด้วยอารมณืต่าง ๆ คิดอยากได้โน่นอยากได้นี่ ติดใจโน่นติดใจนี่ คอยเขวออกไปหาอารมณ์อื่น ครุ่นข้องอยู่ ย่อมไม่ตั้งมั่น ไม่เดินเรียบไป ไม่อาจเป็นสมาธิได้ ๒. พยาบาท คือ ความขัดเคืองแค้นใจ ได้แก่ ความขัดใจ แค้นเคือง เกลียดชัง ความผูก ใจเจ็บ การมองในแง่ร้าย การคิดร้าย มองเห็นคนอื่นเป็นศัตรู ตลอดจนความโกรธ ความหงุดหงิด ฉุนเฉียว ความรู้สึกขัดใจ ไม่พอใจต่าง ๆ จิตที่มัวกระทบนั่นกระทบนี่ สะดุดนั่นสะดุดนี่ เดินไม่เรียบ ไม่ไหลเนื่อง ย่อมไม่อาจเป็นสมาธิ ๓. ถีนมิทธะ คือ ความหดหู่และเซื่องซึม หรือเซ็งและซึม แยกเป็นถีนะ ความหดหู่ ห่อเหี่ยว ถดถอย ระย่อ ท้อแท้ ความซบเซา เหงาหงอย ละเหี่ย ที่เป็นอาการของจิตใจ กับมิทธะ ความเซื่องซึม เฉื่อยชา ง่วงเหงาหาวนอน โงกง่วง อืดอาด มึนมัว ตื้อตัน อาการซึม ๆ เฉา ๆ ที่เป็นไปทางกาย จิตที่ถูกอาการทางกายและทางใจอย่างนี้ครอบงำย่อมไม่เข้มแข็ง ไม่คล่องตัว ไม่เหมาะแก่การใช้งาน จึงไม่อาจเป็นสมาธิได้ ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและเดือดร้อนใจ แยกเป็นอุทธัจจะ ความที่จิตฟุ้งซ่าน ไม่สงบ ส่าย พร่า พล่านไป กับกุกกุจจะ ความวุ่นวายใจ รำคาญใจ ระแวง เดือดร้อนใจ ยุ่งใจ กลุ้มใจ กังวลใจ จิตที่ถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบงำ ย่อมพล่าน ย่อมคว้างไป ไม่อาจสงบลงได้ จึงไม่เป็นสมาธิ ๕. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ได้แก่ ความเคลือบแคลง ไม่แน่ใจสงสัย เกี่ยวกับพระศาสดา พระธรรม พระสงฆ์ เกี่ยวกับสิกขา เป็นต้น พูดสั้น ๆ ว่าคลางแคลงในกุศลธรรมทั้งหลาย ตัดสินไม่ได้ เช่นว่า ธรรมนี้มีคุณค่า มีประโยชน์ควรแก่การปฏิบัติหรือไม่ จะได้ผลจริงหรือไม่ คิดแยกไปสองทาง กำหนดไม่ลง จิตที่ถูกวิจิกิจฉาขัดไว้กวนไว้ให้ค้างให้พร่าลังเลอยู่ ย่อมไม่อาจแน่วแน่เป็นสมาธิ การบรรลุฌาน ๘ ๑.รูปฌาน ๔ ได้แก่ ปฐมฌาน มีองค์ประกอบ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ทุติยฌาน มีองค์ประกอบ ๓ คือ ปีติ สุข เอกัคคตา ตติยฌาน มีองค์ประกอบ ๒ คือ สุข เอกัคคตา ๒. อรูปฌาน ๔ อากาสานัญจายตนะ คือ ฌานที่กำหนดอากาศ วิญญาณัญจายตนะ คือ ฌานที่กำหนดวิญญาณ อากิญจัญญายตนะ คือ กำหดภาวะที่ไม่มีสิ่งใด ๆ เนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ เลิกกำหนดสิ่งใด ๆ โดยประการทั้งปวง ..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/244510

กิตติวุฑโฒภิกขุ 648 สามัญผลสูตรพระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่ามะม่วง ของหมอชีวก ใกล้กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ คืนวันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ อันเป็นวันอุโบสถ เดือน ๑๒ พระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จไปเฝ้า ทูลถามถึงผลดีของความเป็น สมณะ ที่เห็นได้ในปัจจุบัน และตรัสเล่าว่าเคยไปถามครูทั้ง ๖ มาแล้ว แต่ตอบไม่ตรงคำถาม เปรียบเหมือนถามถึงเรื่องมะม่วง แต่ไปตอบเรื่องขนุน จึงต้องกลับ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นข้อ ๆ ดังนี้ ๑. ผู้เคยเป็นทาส หรือกรรมกรของพระเจ้าอชาตศัตรู เมื่อออกบวชประพฤติตนดีงามแล้ว จะทรงเรียกร้องให้กลับไปเป็นทาสหรือกรรมกรตามเดิมหรือไม่ พระเจ้าอชาตศัตรูตรัสตอบว่าไม่เรียกกลับ แต่จะแสดงความเคารพถวายปัจจัย ๔ และถวายความคุ้มครองอันเป็นธรรม ตรัสสรุปว่า นี่เป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๒. คนทำนาของพระเจ้าอชาตศัตรู เมื่ออกบวชประพฤติตนดีงามแล้ว จะทรงเรียกร้องให้กลับไปทำนาให้ตามเดิมหรือไม่ ตรัสตอบเหมือนข้อแรก จึงนับเป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๓. คฤหบดีหรือบุตรคฤหบดี ฟังธรรมเลื่อมในแล้วออกบวชประพฤติพรหมจรรย์ สมบูรณ์ด้วยศีล สำรวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิให้บาปอกุศลเกิดขึ้นท่วมทับจิต มีสติสัมปชัญญะ มีความสันโดษ ยินดีด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ ออกป่าบำเพ็ญสมาธิ ละกิเลสที่เรียกว่านิวรณ์ ๕ เสียได้ จึงได้บรรลุ ฌานที่ ๑ นี่ก็เป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๔. ได้บรรลุฌานที่ ๒ ๕. ได้บรรลุฌานที่ ๓ ๖. ได้บรรลุฌานที่ ๔ ๗. น้อมจิตไปเพื่อเกิดความรู้เป็นด้วยปัญญา (ญาณทัสสนะ) ว่า กายมีความแตกทำลายไปเป็นธรรมดา วิญญาณก็อาศัยและเนื่องในกายนี้ ( วิปัสสนาญาณ ญาณอันทำให้เป็นแจ้ง) ๘. นิรมิตร่างกายอื่นจากการนี้ได้ (มโนมยิทธิ คือฤทธิ์ทางใจ) ๙. แสดงฤทธิ์ได้ เช่น น้อยคนทำให้เป็นมากคน มากคนทำให้เป็นน้อยคน เดินน้ำ ดำดินเป็นต้น ( อิทธิวิธิ) ๑๐.มีหูทิพย์ได้ยินเสียงใกล้ไกล ที่เกินวิสัยหูของมนุษย์ธรรมดา (ทิพยโสต) ๑๒.ระลึกชาติในอดีตได้ (ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ) ๑๓. เห็นสัตว์อื่นตายเกิดด้วยตาทิพย์ (เรียกว่าทิพยจักษุ หรือ จุตูปปาตญาณ คือ ญาณรู้ความตายและความเกิดของสัตว์) ๑๔.รู้จักทำอาสวะคือ กิเลสที่หมักหมม หรือ หมักดองในสันดานให้สิ้นไป (อาสาวักขยญาณ) แล้วตรัสสรุปในที่สุดแห่งทุกข้อแม้ว่า เป็นผลแห่งความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบันสูงกว่ากันเป็นลำดับ (เมื่อจะย่อผลแห่งความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบันทั้ง ๑๔ ข้อนี้เป็นหมวด ๆ ก็อาจย่อได้ ๓ หมวด คือ หมวดที่ ๑ ทำให้พ้นจากฐานะเดิม คือ พ้นจากความเป็นทาส เป็นกรรมกร พ้นจากความเป็นชาวนา ได้รับการปฏิบัติด้วยดี แม้จากพระมหากษัตริย์ คือ ผลข้อ ๑ กับข้อ ๒ หมวดที่ ๒ เมื่ออบรมจิตใจจนเป็นสมาธิ ก็เป็นเหตุให้ได้ฌานที่ ๑ ถึง ๔ อันทำให้ละกิเลสอย่างกลางได้ คือ ผลข้อ ๓, ๔, ๕, ๖. หมวดที่ ๓ ทำให้ได้วิชชา ๘ อันเริ่มแต่ข้อ ๗ ได้วิปัสสนาญาณ จนถึงข้อ ๑๔ ได้ อาสาวักขยญาณ พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงเลื่อมใส ปฏิญญาพระองค์เป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต แล้วกราบทูลขอขมาในการที่ทรงปลงพระชนม์ชีพพระราชบิดา (คือพระเจ้าพิมพิสาร) ซึ่งพระผู้มีพระภาคก็ตรัสรับขมา เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จกลับแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ถ้าพระเจ้าอชาตศัตรูไม่ปลงพระชนม์พระราชบิดา ก็จะได้ดวงตาเห็นธรรม (เป็นพระโสดาบัน) สรุปหลักธรรมในสามัญญผลสูตร ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การละกิเลสคือนิวรณ์ ๕ คือ ๑. กามฉันท์ ความอยากได้อยากเอา (แปลตามศัพท์ว่าความพอใจในกาม) หรืออภิชฌา ความเพ่งเล็งอยากได้ หมายถึงความอยากได้ในกามคุณทั้ง ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฐฐัพพะ ที่น่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ เป็นกิเลสพวกโลภะ จิตที่ถูกล่อด้วยอารมณืต่าง ๆ คิดอยากได้โน่นอยากได้นี่ ติดใจโน่นติดใจนี่ คอยเขวออกไปหาอารมณ์อื่น ครุ่นข้องอยู่ ย่อมไม่ตั้งมั่น ไม่เดินเรียบไป ไม่อาจเป็นสมาธิได้ ๒. พยาบาท คือ ความขัดเคืองแค้นใจ ได้แก่ ความขัดใจ แค้นเคือง เกลียดชัง ความผูก ใจเจ็บ การมองในแง่ร้าย การคิดร้าย มองเห็นคนอื่นเป็นศัตรู ตลอดจนความโกรธ ความหงุดหงิด ฉุนเฉียว ความรู้สึกขัดใจ ไม่พอใจต่าง ๆ จิตที่มัวกระทบนั่นกระทบนี่ สะดุดนั่นสะดุดนี่ เดินไม่เรียบ ไม่ไหลเนื่อง ย่อมไม่อาจเป็นสมาธิ ๓. ถีนมิทธะ คือ ความหดหู่และเซื่องซึม หรือเซ็งและซึม แยกเป็นถีนะ ความหดหู่ ห่อเหี่ยว ถดถอย ระย่อ ท้อแท้ ความซบเซา เหงาหงอย ละเหี่ย ที่เป็นอาการของจิตใจ กับมิทธะ ความเซื่องซึม เฉื่อยชา ง่วงเหงาหาวนอน โงกง่วง อืดอาด มึนมัว ตื้อตัน อาการซึม ๆ เฉา ๆ ที่เป็นไปทางกาย จิตที่ถูกอาการทางกายและทางใจอย่างนี้ครอบงำย่อมไม่เข้มแข็ง ไม่คล่องตัว ไม่เหมาะแก่การใช้งาน จึงไม่อาจเป็นสมาธิได้ ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและเดือดร้อนใจ แยกเป็นอุทธัจจะ ความที่จิตฟุ้งซ่าน ไม่สงบ ส่าย พร่า พล่านไป กับกุกกุจจะ ความวุ่นวายใจ รำคาญใจ ระแวง เดือดร้อนใจ ยุ่งใจ กลุ้มใจ กังวลใจ จิตที่ถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบงำ ย่อมพล่าน ย่อมคว้างไป ไม่อาจสงบลงได้ จึงไม่เป็นสมาธิ ๕. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ได้แก่ ความเคลือบแคลง ไม่แน่ใจสงสัย เกี่ยวกับพระศาสดา พระธรรม พระสงฆ์ เกี่ยวกับสิกขา เป็นต้น พูดสั้น ๆ ว่าคลางแคลงในกุศลธรรมทั้งหลาย ตัดสินไม่ได้ เช่นว่า ธรรมนี้มีคุณค่า มีประโยชน์ควรแก่การปฏิบัติหรือไม่ จะได้ผลจริงหรือไม่ คิดแยกไปสองทาง กำหนดไม่ลง จิตที่ถูกวิจิกิจฉาขัดไว้กวนไว้ให้ค้างให้พร่าลังเลอยู่ ย่อมไม่อาจแน่วแน่เป็นสมาธิ การบรรลุฌาน ๘ ๑.รูปฌาน ๔ ได้แก่ ปฐมฌาน มีองค์ประกอบ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ทุติยฌาน มีองค์ประกอบ ๓ คือ ปีติ สุข เอกัคคตา ตติยฌาน มีองค์ประกอบ ๒ คือ สุข เอกัคคตา ๒. อรูปฌาน ๔ อากาสานัญจายตนะ คือ ฌานที่กำหนดอากาศ วิญญาณัญจายตนะ คือ ฌานที่กำหนดวิญญาณ อากิญจัญญายตนะ คือ กำหดภาวะที่ไม่มีสิ่งใด ๆ เนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ เลิกกำหนดสิ่งใด ๆ โดยประการทั้งปวง ..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/244510

คำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าเรามีศีลแล้วนะใจเราจะอยู่กับเนื้อกับตัวง่าย ใจตั้งมั่นง่าย ถ้าเราไม่มีศีลนะ วอกแวกๆ คิดกลุ้มใจไปโน่นไปนี่เรื่อยๆ ถ้ามีศีลอยู่ ใจก็อยู่กับเนื้อกับตัวไปนะ พอใจอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว เราก็คอยตามรู้กายรู้ใจไป บางคนก็ดูกาย เห็นร่างกายเคลื่อนไหว ใจเป็นคนดู บางคนก็ดูจิตดูใจไป วิธีดูจิตก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กระทบอารมณ์ ความรู้สึกใดแปลกปลอมขึ้นมารู้มัน แต่รู้ด้วยความเป็นกลางนะ มีเงื่อนไขสำคัญมาก รู้ด้วยความเป็นกลาง เช่นกิเลสเกิดขึ้นมา รู้ว่ามีกิเลส เช่น ความโกรธเกิดขึ้นรู้ว่าโกรธ พอความโกรธเกิดขึ้น ใจเราไม่ชอบ ให้รู้ทันใจที่ไม่ชอบนี่นะ ความไม่ชอบนี่คือความไม่เป็นกลาง ถ้าเมื่อไหร่ เราสามารถ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตใจที่ตั้งมั่น ด้วยจิตใจที่เป็นกลางได้นะ ปัญญาแท้ๆมันจะเกิด เห็นกายไม่ใช่เรา ใจไม่ใช่เรา มันจะเห็นว่า ทุกสิ่งนี้เป็นของชั่วคราว ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศล ทั้งหลายนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมด เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอกเรามีศีลแล้วนะใจเราจะอยู่กับเนื้อกับตัวง่าย ใจตั้งมั่นง่าย ถ้าเราไม่มีศีลนะ วอกแวกๆ คิดกลุ้มใจไปโน่นไปนี่เรื่อยๆ ถ้ามีศีลอยู่ ใจก็อยู่กับเนื้อกับตัวไปนะ พอใจอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว เราก็คอยตามรู้กายรู้ใจไป บางคนก็ดูกาย เห็นร่างกายเคลื่อนไหว ใจเป็นคนดู บางคนก็ดูจิตดูใจไป วิธีดูจิตก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กระทบอารมณ์ ความรู้สึกใดแปลกปลอมขึ้นมารู้มัน แต่รู้ด้วยความเป็นกลางนะ มีเงื่อนไขสำคัญมาก รู้ด้วยความเป็นกลาง เช่นกิเลสเกิดขึ้นมา รู้ว่ามีกิเลส เช่น ความโกรธเกิดขึ้นรู้ว่าโกรธ พอความโกรธเกิดขึ้น ใจเราไม่ชอบ ให้รู้ทันใจที่ไม่ชอบนี่นะ ความไม่ชอบนี่คือความไม่เป็นกลาง ถ้าเมื่อไหร่ เราสามารถ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตใจที่ตั้งมั่น ด้วยจิตใจที่เป็นกลางได้นะ ปัญญาแท้ๆมันจะเกิด เห็นกายไม่ใช่เรา ใจไม่ใช่เรา มันจะเห็นว่า ทุกสิ่งนี้เป็นของชั่วคราว ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศล ทั้งหลายนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมด เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

คำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าเรามีศีลแล้วนะใจเราจะอยู่กับเนื้อกับตัวง่าย ใจตั้งมั่นง่าย ถ้าเราไม่มีศีลนะ วอกแวกๆ คิดกลุ้มใจไปโน่นไปนี่เรื่อยๆ ถ้ามีศีลอยู่ ใจก็อยู่กับเนื้อกับตัวไปนะ พอใจอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว เราก็คอยตามรู้กายรู้ใจไป บางคนก็ดูกาย เห็นร่างกายเคลื่อนไหว ใจเป็นคนดู บางคนก็ดูจิตดูใจไป วิธีดูจิตก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กระทบอารมณ์ ความรู้สึกใดแปลกปลอมขึ้นมารู้มัน แต่รู้ด้วยความเป็นกลางนะ มีเงื่อนไขสำคัญมาก รู้ด้วยความเป็นกลาง เช่นกิเลสเกิดขึ้นมา รู้ว่ามีกิเลส เช่น ความโกรธเกิดขึ้นรู้ว่าโกรธ พอความโกรธเกิดขึ้น ใจเราไม่ชอบ ให้รู้ทันใจที่ไม่ชอบนี่นะ ความไม่ชอบนี่คือความไม่เป็นกลาง ถ้าเมื่อไหร่ เราสามารถ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตใจที่ตั้งมั่น ด้วยจิตใจที่เป็นกลางได้นะ ปัญญาแท้ๆมันจะเกิด เห็นกายไม่ใช่เรา ใจไม่ใช่เรา มันจะเห็นว่า ทุกสิ่งนี้เป็นของชั่วคราว ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศล ทั้งหลายนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมด เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอกเรามีศีลแล้วนะใจเราจะอยู่กับเนื้อกับตัวง่าย ใจตั้งมั่นง่าย ถ้าเราไม่มีศีลนะ วอกแวกๆ คิดกลุ้มใจไปโน่นไปนี่เรื่อยๆ ถ้ามีศีลอยู่ ใจก็อยู่กับเนื้อกับตัวไปนะ พอใจอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว เราก็คอยตามรู้กายรู้ใจไป บางคนก็ดูกาย เห็นร่างกายเคลื่อนไหว ใจเป็นคนดู บางคนก็ดูจิตดูใจไป วิธีดูจิตก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กระทบอารมณ์ ความรู้สึกใดแปลกปลอมขึ้นมารู้มัน แต่รู้ด้วยความเป็นกลางนะ มีเงื่อนไขสำคัญมาก รู้ด้วยความเป็นกลาง เช่นกิเลสเกิดขึ้นมา รู้ว่ามีกิเลส เช่น ความโกรธเกิดขึ้นรู้ว่าโกรธ พอความโกรธเกิดขึ้น ใจเราไม่ชอบ ให้รู้ทันใจที่ไม่ชอบนี่นะ ความไม่ชอบนี่คือความไม่เป็นกลาง ถ้าเมื่อไหร่ เราสามารถ รู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตใจที่ตั้งมั่น ด้วยจิตใจที่เป็นกลางได้นะ ปัญญาแท้ๆมันจะเกิด เห็นกายไม่ใช่เรา ใจไม่ใช่เรา มันจะเห็นว่า ทุกสิ่งนี้เป็นของชั่วคราว ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศล ทั้งหลายนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมด เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่ จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ เนี่ยจาก ฮ นกฮูก ไปหา ก ไก่ จาก ก ไก่ กลับมา ฮ นกฮูกล่ะ เราจะเรียนได้แค่ไหน ป ปลาได้มั้ย หึๆๆ เอ้าชั่วโมงนึงพอดีๆนะ ให้หลวงพ่อเทศน์เรื่องนี้ยาวมากนะ เนื้อหามันยาวมากเลย เทศน์รอบเดียวไม่จบหรอก

ทุกอย่างในชีวิตเราผ่านไปหมดแล้วนะ เราก็เหลือแต่ความสุขความสงบของเราอยู่มันเป็นเรื่องคนอื่น เวลาเราเข้าไปคลุกวงในก็ไปตะลุมบอน ทีนี้ทั้งหมัด ทั้งเท้า ทั้งศอก ทั้งเข่านะ ตะลุมบอนเข้าไป พอไปตีกับเขาเสร็จ ถอยออกมานะ ผ่านไป ไม่รู้ไปตีกับเขาทำไม มันเหมือนเรื่องของคนอื่นทั้งหมดเลย อันนี้กระทั่งความรู้สึกทั่วๆ ไปก็จะรู้สึกนะ เวลาพวกเด็กๆ น่ะ บางคนอกหัก บางคนมีปัญหาชีวิตอะไรอย่างนี้ บางคนกลุ้มใจแฟนเป็นอย่างโน้นอย่างนี้ มันเหมือนเผชิญอยู่กับปัญหา เหมือนคลุกวงในอยู่ มองปัญหาไม่ออก หาทางออกไม่ได้ พวก advisor เขาเรียกว่าอะไร พวก consultant พวกนี้เลยหากินได้ พวกนี้ไม่ได้คลุกวงใน แต่พอเราออกห่างจากปัญหามา ปัญหามันผ่านไปแล้วนะ เราจะดูๆ มันเหมือนเรื่องของคนอื่นทั้งหมดเลย พอผ่านไปแล้วก็เหมือนเรื่องของคนอื่น ปัญหาที่เคยยิ่งใหญ่ไม่ยิ่งใหญ่อีกต่อไปแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิตผ่านไปหมด แต่ถ้าเราเคยฝึกภาวนา ทุกอย่างในชีวิตเราผ่านไปหมดแล้วนะ เราก็เหลือแต่ความสุขความสงบของเราอยู่ แต่คนที่ไม่มีการภาวนาพอหมดเรื่องนี้มันก็จะดิ้นหาเรื่องอื่นไปอีก เขาเรียกว่าแส่หาเรื่อง สังเกตไหม ใครยอมรับไหมว่ามีนิสัยแส่หาเรื่อง ใครไม่เป็นลองยกมือ มีไหมใครไม่เป็น ไม่มี จิตใจของเรานี่แส่ทั้งวัน มันเลยมีศัพท์คำหนึ่ง คำว่า “ส่ายแส่” รู้สึกมั้ย ส่ายไปแล้วก็แส่หาเรื่อง ส่ายไปแล้วก็แส่หาเรื่อง จิตมีธรรมชาติส่ายแส่ ส่ายไปส่ายมา ส่ายไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อะไรผลักให้ส่าย ตัณหาผลักให้ส่าย ส่ายไปแล้วก็ไปแส่ หาเรื่องมาใส่ตัวเอง วิ่งไปทางตาก็วิ่งไปเอาความทุกข์มาใส่ตัวเอง วิ่งไปทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย วิ่งไปคิดไปนึกนะ ก็วิ่งไปเอาความทุกข์มาใส่ตัวเองล้วนๆเลย ตอนตะลุมบอนมองไม่ออกนะ คนวงนอกมองออก ทีนี้ทำอย่างไรเราจะสามารถฝึกจนเกิดคนวงนอกอยู่ในนี้ การเจริญสติปัฏฐานจะทำให้เรากลายเป็นคนวงนอกสำหรับกายนี้และใจนี้ เราจะมาอยู่วงนอกนะ เราจะเห็นกายเห็นใจมันทำงานไป เราไม่เกี่ยวหรอก เราเห็นมันทำงานไปเรื่อยๆเลย เพราะฉะนั้นมันจะทำผิด ทำถูก ทำดี ทำไม่ดี มันเห็นได้ชัดเพราะเราไม่ได้คลุกวงใน ถ้าคลุกวงในแล้วมันเกิดอคติขึ้นมา โยม: หลวงพ่อคะ แล้วในกรณีที่เรารู้สึกว่า ถ้าเราไม่ไปคลุก มันเหมือนกับเราละเลยหน้าที่อะไรบางอย่าง หลวงพ่อปราโมทย์: นั่นแหละ กิเลสมันหลอก เราสามารถทำหน้าที่โดยไม่คลุกวงในได้ เพราะฉะนั้นเวลามีปัญหา เราต้องแก้ปัญหาด้วยใจที่ตั้งมั่น เป็นกลาง เราจะมองปัญหาได้ชัด ที่นี้กิเลสมันจะหลอกให้ต้องทุ่มให้สุดเนื้อสุดตัว กระโดดเข้าไปคลุกวงใน แก้ปัญหาได้ไม่ดี เพราะมองอะไรก็ไม่ชัด มองอย่างคนนอก จะมองง่าย แก้ปัญหาง่าย เพราะฉะนั้นพวกที่ปรึกษาเลยหากินง่ายนะ ไม่ได้ฉลาดกว่าเรานะ ที่พวกเราต้องจ้างบริษัทฯที่ปรึกษามาทำโน่นทำนี่ พวกนี้ไม่ได้รู้งานของเรามากกว่าเรา พวกนี้ไม่ได้มีไอเดียหรือฉลาดอะไรมากกว่าเรา แต่พวกนี้ไม่มีผลประโยชน์กับเรา เราจะเจ๊งก็ไม่ว่าอะไร ขอให้จ่ายเงินก็แล้วกัน เพราะฉะนั้นเขามองอะไรได้ง่ายกว่าเรา ทำอย่างไรเราจะเป็นคนวงนอกสำหรับตัวเองโดยไม่ต้องจ้างใครมาช่วยมอง เป็นคนวงนอกก็ได้เห็นเลย กายไม่ใช่เรา รู้สึกมั้ย กายอยู่ห่างๆ จะรู้สึกทันทีเลย กายอยู่ห่างๆ เวทนา ความสุข ความทุกข์ อยู่ห่างๆ กุศล อกุศล อยู่ห่างๆ เหมือนคนเดินผ่านหน้าบ้าน เราไม่เข้าไปคลุกกับเขา ดูอย่างนี้นะ แล้วทุกอย่างจะผ่านมาแล้วก็ผ่านไปให้ดู โอ้..ภาวนาแล้วจะมีแต่ความสุข โยม: ตอนนี้มันเป็นลักษณะที่ รู้ทฤษฎี แต่พอเวลาถึงจังหวะจริงๆ.. หลวงพ่อปราโมทย์: นั่นแหละ นั่นแหละ มันยังเมาหมัดอยู่ เพราะว่ามันชกมานาน มันชกมานับภพนับชาติไม่ถ้วน มันไม่เคยทำตัวเป็นแค่ ผู้รู้ ผู้ดู ผู้สังเกตการณ์ เพราะเราเข้าวงในตลอด พระพุทธเจ้าสอนเรา ให้ฝึกจิตฝึกใจของเรานะ จนจิตใจของเราตั้งมั่นขึ้นมา เป็นผู้รู้ผู้ดูนะ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่คลุกวงใน พอพระพุทธเจ้าสอนเรา จนใจของเราตั้งมั่นขึ้นมา บทเรียนที่ทำให้จิตตั้งมั่นขึ้นมาอย่างนี้เรียกว่า “จิตตสิกขา” จิตตสิกขา เราจะศึกษาไปจนจิตของเราตั้งมั่นขึ้นมา เป็นแค่คนดู เป็นแค่ผู้สังเกตการณ์ ไม่ใช่นักประพันธ์ ไม่ใช่นักวิจารณ์ ไม่ใช่นักแสดง เป็นแ่ค่คนดู พอดูแล้วคราวนี้ล่ะเห็นชัดเลย ว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่ทำงานนี้ไม่ใช่เราสักอันหนึ่ง ร่างกายที่ทำงานอยู่ไม่ใช่เรา เวทนา สุข ทุกข์ เฉยๆ ไม่ใช่เรา สังขารที่เป็นกุศล อกุศล ไม่ใช่เรา จิตที่เกิดดับทางทวารทั้งหก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ใช่เรา ดูอย่างนี้นะ มันถอนเอาความเป็นเราออกมาแล้วมาคอยรู้คอยดูไปเรื่อยๆ ทำตัวเป็นแค่คนดู ถ้าคลุกวงในจะไม่เห็น เหมือนเขาเตะฟุตบอลกันนะ เราอยากดูให้ชัดนะ กระโดดลงไปยืนกลางสนามนะ เราจะเจอเท้า ๔๔ ข้าง นะ ใช่มั้ย ๔๖ มีกรรมการอีกคน ดีไม่ดีโดนเหยียบ หลบคนนี้ เจออีกคนนี้ อะไรอย่างนี้ ถ้าเรานั่งบนอัฒจรรย์ดู เราเห็นหมดเลย เห็นภาพชัด หรือเหมือนกับคนชกมวยกับคนดูมวยนะ คนชกมวยนะ มันเก่งแสนเก่ง เวลาชกนะ สังเกตมั้ย พวกที่ยืนข้างเวทีเป็นคนสอน ชกตรงนั้นสิ ชกตรงนี้สิ เพราะมันไม่มีส่วนได้เสีย มันดูง่าย เนี่ย บอก “เอ็งเซ่อ เอาหน้าไปให้เขาชกอยู่เรื่อย หลบสักนิดหนึ่งก็พ้นแล้ว” แต่ตอนเมาหมัดน่ะมันไม่รู้ เพราะฉะนั้นอย่าเมาหมัดนะ เวลาภาวนาห้ามเมาหมัด จำไว้นะ อย่าคลุกวงใน อย่าตะลุมบอนกับกิเลส ดูอยู่ห่างๆ ไม่ว่าอะไรเกิดขึ้น ดูห่างๆไว้นะ คำว่าดูห่างๆนี้เป็นสภาวะนะ ถ้าภาวนาเป็นถึงจะรู้ัจัก ถ้าภาวนาไม่เป็น ดูห่างๆไม่เป็น ไม่เข้าใจหรอกว่าห่างอย่างไร ได้ยินหลวงพ่อพูดแล้วก็งงๆ แต่ถ้าภาวนาเป็นจะรู้เลย กายกับจิตนี้มีระยะทางนะ มีช่องว่าง มีระยะห่าง จิตกับเวทนาก็มีระยะห่าง จิตกับสังขารก็มีระยะห่าง แถมจิตที่ว่ามีระยะห่างนั้นยังเกิดดับเสียอีก ไปๆมาๆหาตัวเราไม่ได้สักตัวเดียว

ทุกอย่างในชีวิตเราผ่านไปหมดแล้วนะ เราก็เหลือแต่ความสุขความสงบของเราอยู่



มันเป็นเรื่องคนอื่น เวลาเราเข้าไปคลุกวงในก็ไปตะลุมบอน ทีนี้ทั้งหมัด ทั้งเท้า ทั้งศอก ทั้งเข่านะ ตะลุมบอนเข้าไป พอไปตีกับเขาเสร็จ ถอยออกมานะ ผ่านไป ไม่รู้ไปตีกับเขาทำไม มันเหมือนเรื่องของคนอื่นทั้งหมดเลย อันนี้กระทั่งความรู้สึกทั่วๆ ไปก็จะรู้สึกนะ เวลาพวกเด็กๆ น่ะ บางคนอกหัก บางคนมีปัญหาชีวิตอะไรอย่างนี้ บางคนกลุ้มใจแฟนเป็นอย่างโน้นอย่างนี้ มันเหมือนเผชิญอยู่กับปัญหา เหมือนคลุกวงในอยู่ มองปัญหาไม่ออก หาทางออกไม่ได้ พวก advisor เขาเรียกว่าอะไร พวก consultant พวกนี้เลยหากินได้ พวกนี้ไม่ได้คลุกวงใน

แต่พอเราออกห่างจากปัญหามา ปัญหามันผ่านไปแล้วนะ เราจะดูๆ มันเหมือนเรื่องของคนอื่นทั้งหมดเลย พอผ่านไปแล้วก็เหมือนเรื่องของคนอื่น ปัญหาที่เคยยิ่งใหญ่ไม่ยิ่งใหญ่อีกต่อไปแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิตผ่านไปหมด แต่ถ้าเราเคยฝึกภาวนา ทุกอย่างในชีวิตเราผ่านไปหมดแล้วนะ เราก็เหลือแต่ความสุขความสงบของเราอยู่ แต่คนที่ไม่มีการภาวนาพอหมดเรื่องนี้มันก็จะดิ้นหาเรื่องอื่นไปอีก เขาเรียกว่าแส่หาเรื่อง สังเกตไหม ใครยอมรับไหมว่ามีนิสัยแส่หาเรื่อง ใครไม่เป็นลองยกมือ มีไหมใครไม่เป็น ไม่มี

จิตใจของเรานี่แส่ทั้งวัน มันเลยมีศัพท์คำหนึ่ง คำว่า “ส่ายแส่” รู้สึกมั้ย ส่ายไปแล้วก็แส่หาเรื่อง ส่ายไปแล้วก็แส่หาเรื่อง จิตมีธรรมชาติส่ายแส่ ส่ายไปส่ายมา ส่ายไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อะไรผลักให้ส่าย ตัณหาผลักให้ส่าย ส่ายไปแล้วก็ไปแส่ หาเรื่องมาใส่ตัวเอง วิ่งไปทางตาก็วิ่งไปเอาความทุกข์มาใส่ตัวเอง วิ่งไปทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย วิ่งไปคิดไปนึกนะ ก็วิ่งไปเอาความทุกข์มาใส่ตัวเองล้วนๆเลย

ตอนตะลุมบอนมองไม่ออกนะ คนวงนอกมองออก ทีนี้ทำอย่างไรเราจะสามารถฝึกจนเกิดคนวงนอกอยู่ในนี้ การเจริญสติปัฏฐานจะทำให้เรากลายเป็นคนวงนอกสำหรับกายนี้และใจนี้ เราจะมาอยู่วงนอกนะ เราจะเห็นกายเห็นใจมันทำงานไป เราไม่เกี่ยวหรอก เราเห็นมันทำงานไปเรื่อยๆเลย เพราะฉะนั้นมันจะทำผิด ทำถูก ทำดี ทำไม่ดี มันเห็นได้ชัดเพราะเราไม่ได้คลุกวงใน ถ้าคลุกวงในแล้วมันเกิดอคติขึ้นมา

โยม: หลวงพ่อคะ แล้วในกรณีที่เรารู้สึกว่า ถ้าเราไม่ไปคลุก มันเหมือนกับเราละเลยหน้าที่อะไรบางอย่าง

หลวงพ่อปราโมทย์: นั่นแหละ กิเลสมันหลอก เราสามารถทำหน้าที่โดยไม่คลุกวงในได้ เพราะฉะนั้นเวลามีปัญหา เราต้องแก้ปัญหาด้วยใจที่ตั้งมั่น เป็นกลาง เราจะมองปัญหาได้ชัด ที่นี้กิเลสมันจะหลอกให้ต้องทุ่มให้สุดเนื้อสุดตัว กระโดดเข้าไปคลุกวงใน แก้ปัญหาได้ไม่ดี เพราะมองอะไรก็ไม่ชัด มองอย่างคนนอก จะมองง่าย แก้ปัญหาง่าย เพราะฉะนั้นพวกที่ปรึกษาเลยหากินง่ายนะ ไม่ได้ฉลาดกว่าเรานะ ที่พวกเราต้องจ้างบริษัทฯที่ปรึกษามาทำโน่นทำนี่ พวกนี้ไม่ได้รู้งานของเรามากกว่าเรา พวกนี้ไม่ได้มีไอเดียหรือฉลาดอะไรมากกว่าเรา แต่พวกนี้ไม่มีผลประโยชน์กับเรา เราจะเจ๊งก็ไม่ว่าอะไร ขอให้จ่ายเงินก็แล้วกัน เพราะฉะนั้นเขามองอะไรได้ง่ายกว่าเรา

ทำอย่างไรเราจะเป็นคนวงนอกสำหรับตัวเองโดยไม่ต้องจ้างใครมาช่วยมอง เป็นคนวงนอกก็ได้เห็นเลย กายไม่ใช่เรา รู้สึกมั้ย กายอยู่ห่างๆ จะรู้สึกทันทีเลย กายอยู่ห่างๆ เวทนา ความสุข ความทุกข์ อยู่ห่างๆ กุศล อกุศล อยู่ห่างๆ เหมือนคนเดินผ่านหน้าบ้าน เราไม่เข้าไปคลุกกับเขา ดูอย่างนี้นะ แล้วทุกอย่างจะผ่านมาแล้วก็ผ่านไปให้ดู โอ้..ภาวนาแล้วจะมีแต่ความสุข

โยม: ตอนนี้มันเป็นลักษณะที่ รู้ทฤษฎี แต่พอเวลาถึงจังหวะจริงๆ..

หลวงพ่อปราโมทย์: นั่นแหละ นั่นแหละ มันยังเมาหมัดอยู่ เพราะว่ามันชกมานาน มันชกมานับภพนับชาติไม่ถ้วน มันไม่เคยทำตัวเป็นแค่ ผู้รู้ ผู้ดู ผู้สังเกตการณ์ เพราะเราเข้าวงในตลอด

พระพุทธเจ้าสอนเรา ให้ฝึกจิตฝึกใจของเรานะ จนจิตใจของเราตั้งมั่นขึ้นมา เป็นผู้รู้ผู้ดูนะ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่คลุกวงใน พอพระพุทธเจ้าสอนเรา จนใจของเราตั้งมั่นขึ้นมา บทเรียนที่ทำให้จิตตั้งมั่นขึ้นมาอย่างนี้เรียกว่า “จิตตสิกขา” จิตตสิกขา เราจะศึกษาไปจนจิตของเราตั้งมั่นขึ้นมา เป็นแค่คนดู เป็นแค่ผู้สังเกตการณ์ ไม่ใช่นักประพันธ์ ไม่ใช่นักวิจารณ์ ไม่ใช่นักแสดง เป็นแ่ค่คนดู พอดูแล้วคราวนี้ล่ะเห็นชัดเลย ว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่ทำงานนี้ไม่ใช่เราสักอันหนึ่ง ร่างกายที่ทำงานอยู่ไม่ใช่เรา เวทนา สุข ทุกข์ เฉยๆ ไม่ใช่เรา สังขารที่เป็นกุศล อกุศล ไม่ใช่เรา จิตที่เกิดดับทางทวารทั้งหก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ใช่เรา ดูอย่างนี้นะ มันถอนเอาความเป็นเราออกมาแล้วมาคอยรู้คอยดูไปเรื่อยๆ ทำตัวเป็นแค่คนดู ถ้าคลุกวงในจะไม่เห็น

เหมือนเขาเตะฟุตบอลกันนะ เราอยากดูให้ชัดนะ กระโดดลงไปยืนกลางสนามนะ เราจะเจอเท้า ๔๔ ข้าง นะ ใช่มั้ย ๔๖ มีกรรมการอีกคน ดีไม่ดีโดนเหยียบ หลบคนนี้ เจออีกคนนี้ อะไรอย่างนี้ ถ้าเรานั่งบนอัฒจรรย์ดู เราเห็นหมดเลย เห็นภาพชัด

หรือเหมือนกับคนชกมวยกับคนดูมวยนะ คนชกมวยนะ มันเก่งแสนเก่ง เวลาชกนะ สังเกตมั้ย พวกที่ยืนข้างเวทีเป็นคนสอน ชกตรงนั้นสิ ชกตรงนี้สิ เพราะมันไม่มีส่วนได้เสีย มันดูง่าย เนี่ย บอก “เอ็งเซ่อ เอาหน้าไปให้เขาชกอยู่เรื่อย หลบสักนิดหนึ่งก็พ้นแล้ว” แต่ตอนเมาหมัดน่ะมันไม่รู้ เพราะฉะนั้นอย่าเมาหมัดนะ เวลาภาวนาห้ามเมาหมัด จำไว้นะ อย่าคลุกวงใน อย่าตะลุมบอนกับกิเลส ดูอยู่ห่างๆ ไม่ว่าอะไรเกิดขึ้น ดูห่างๆไว้นะ

คำว่าดูห่างๆนี้เป็นสภาวะนะ ถ้าภาวนาเป็นถึงจะรู้ัจัก ถ้าภาวนาไม่เป็น ดูห่างๆไม่เป็น ไม่เข้าใจหรอกว่าห่างอย่างไร ได้ยินหลวงพ่อพูดแล้วก็งงๆ แต่ถ้าภาวนาเป็นจะรู้เลย กายกับจิตนี้มีระยะทางนะ มีช่องว่าง มีระยะห่าง จิตกับเวทนาก็มีระยะห่าง จิตกับสังขารก็มีระยะห่าง แถมจิตที่ว่ามีระยะห่างนั้นยังเกิดดับเสียอีก ไปๆมาๆหาตัวเราไม่ได้สักตัวเดียว

Three phase sine wave inverter using Arduino arduino mega 1280 2560 3 ph...

การสร้าง Pure Sine Inverter// Arduino code Pure Sine Wave Inverter int i=0; int x=0; int OK=0; float sinPWM[]={1,2,5,7,10,12,15,17,19,22,24,27,30,32,34,37,39,42, 44,47,49,52,54,57,59,61,64,66,69,71,73,76,78,80,83,85,88,90,92,94,97,99, 101,103,106,108,110,113,115,117,119,121,124,126,128,130,132,134,136,138,140,142,144,146, 148,150,152,154,156,158,160,162,164,166,168,169,171,173,175,177,178,180,182,184,185,187,188,190,192,193, 195,196,198,199,201,202,204,205,207,208,209,211,212,213,215,216,217,219,220,221,222,223,224,225,226,227, 228,229,230,231,232,233,234,235,236,237,237,238,239,240,240,241,242,242,243,243,244,244,245,245,246,246, 247,247,247,248,248,248,248,249,249,249,249,249,255,255,255,255,249,249,249,249,249,248, 248,248,248,247,247,247,246,246,245,245,244,244,243,243,242,242,241,240,240,239,238,237,237,236,235,234, 233,232,231,230,229,228,227,226,225,224,223,222,221,220,219,217,216,215,213,212,211,209,208,207,205,204, 202,201,199,198,196,195,193,192,190,188,187,185,184,182,180,178,177,175,173,171,169,168,166,164,162,160, 158,156,154,152,150,148,146,144,142,140,138,136,134,132,130,128,126,124,121,119,117,115,113,110,108,106, 103,101,99,97,94,92,90,88,85,83,80,78,76,73,71,69,66,64,61,59,57,54,52,49,47,44,42,39,37,34,32,30, 27,24,22,19,17,15,12,10,7,5,2,1}; void setup() { Serial.begin(9600); pinMode(5, OUTPUT); pinMode(6,OUTPUT); cli();// stop interrupts TCCR0A=0;//reset the value TCCR0B=0;//reset the value TCNT0=0;//reset the value //0b allow me to write bits in binary TCCR0A=0b10100001;//phase correct pwm mode TCCR0B=0b00000001; //no prescaler TCCR1A=0;//reset the value TCCR1B=0;//reset the value TCNT1=0;//reset the value OCR1A=509;// compare match value TCCR1B=0b00001001; //WGM12 bit is 1 and no prescaler TIMSK1 |=(1 << OCIE1A);// enable interrupts sei();//stop interrupts } ISR(TIMER1_COMPA_vect){// interrupt when timer 1 match with OCR1A value if(i>313 && OK==0){// final value from vector for pin 6 i=0;// go to first value of vector OK=1;//enable pin 5 } if(i>313 && OK==1){// final value from vector for pin 5 i=0;//go to firs value of vector OK=0;//enable pin 6 } x=sinPWM[i];// x take the value from vector corresponding to position i(i is zero indexed) i=i+1;// go to the next position if(OK==0){ OCR0B=0;//make pin 5 0 OCR0A=128;//enable pin 6 to corresponding duty cycle } if(OK==1){ OCR0A=0;//make pin 6 0 OCR0B=128;//enable pin 5 to corresponding duty cycle } } void loop() { }

การสร้าง Pure Sine Inverter// Arduino code Pure Sine Wave Inverter int i=0; int x=0; int OK=0; float sinPWM[]={1,2,5,7,10,12,15,17,19,22,24,27,30,32,34,37,39,42, 44,47,49,52,54,57,59,61,64,66,69,71,73,76,78,80,83,85,88,90,92,94,97,99, 101,103,106,108,110,113,115,117,119,121,124,126,128,130,132,134,136,138,140,142,144,146, 148,150,152,154,156,158,160,162,164,166,168,169,171,173,175,177,178,180,182,184,185,187,188,190,192,193, 195,196,198,199,201,202,204,205,207,208,209,211,212,213,215,216,217,219,220,221,222,223,224,225,226,227, 228,229,230,231,232,233,234,235,236,237,237,238,239,240,240,241,242,242,243,243,244,244,245,245,246,246, 247,247,247,248,248,248,248,249,249,249,249,249,255,255,255,255,249,249,249,249,249,248, 248,248,248,247,247,247,246,246,245,245,244,244,243,243,242,242,241,240,240,239,238,237,237,236,235,234, 233,232,231,230,229,228,227,226,225,224,223,222,221,220,219,217,216,215,213,212,211,209,208,207,205,204, 202,201,199,198,196,195,193,192,190,188,187,185,184,182,180,178,177,175,173,171,169,168,166,164,162,160, 158,156,154,152,150,148,146,144,142,140,138,136,134,132,130,128,126,124,121,119,117,115,113,110,108,106, 103,101,99,97,94,92,90,88,85,83,80,78,76,73,71,69,66,64,61,59,57,54,52,49,47,44,42,39,37,34,32,30, 27,24,22,19,17,15,12,10,7,5,2,1}; void setup() { Serial.begin(9600); pinMode(5, OUTPUT); pinMode(6,OUTPUT); cli();// stop interrupts TCCR0A=0;//reset the value TCCR0B=0;//reset the value TCNT0=0;//reset the value //0b allow me to write bits in binary TCCR0A=0b10100001;//phase correct pwm mode TCCR0B=0b00000001; //no prescaler TCCR1A=0;//reset the value TCCR1B=0;//reset the value TCNT1=0;//reset the value OCR1A=509;// compare match value TCCR1B=0b00001001; //WGM12 bit is 1 and no prescaler TIMSK1 |=(1 << OCIE1A);// enable interrupts sei();//stop interrupts } ISR(TIMER1_COMPA_vect){// interrupt when timer 1 match with OCR1A value if(i>313 && OK==0){// final value from vector for pin 6 i=0;// go to first value of vector OK=1;//enable pin 5 } if(i>313 && OK==1){// final value from vector for pin 5 i=0;//go to firs value of vector OK=0;//enable pin 6 } x=sinPWM[i];// x take the value from vector corresponding to position i(i is zero indexed) i=i+1;// go to the next position if(OK==0){ OCR0B=0;//make pin 5 0 OCR0A=128;//enable pin 6 to corresponding duty cycle } if(OK==1){ OCR0A=0;//make pin 6 0 OCR0B=128;//enable pin 5 to corresponding duty cycle } } void loop() { }

ท่านอาจารย์วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี สัมมา ทิฏฐิ ความเห็นถูก ความเห็นชอบอย่าเอาธรรมะไปซื้อขายกัน พระพุทธเจ้าท่านให้เราด้วยความบริสุทธิ์

วิปัสสนา ภาคปฏิบัติ (อ.วรรณสิทธิ์ ไวทยะเสวี)วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

ท่านอาจารย์ แนบ มหานีรานนท์ ไปนิพพานชาตินี้วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

การละสักกายทิฐิ,วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

ทุกข์สัจ

การละสักกายทิฐิ



วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖


สักกายทิฐิ

วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖


สักกายทิฐิ

วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖