วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2564

การสำเร็จมรรคผล#เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้นจิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิเพราะฉะน...#การบัญญัติจำพวกบุคคลของบุคคลทั้งหลายบุคคลบัญญัติของบุคคลมีเท่าไรผู้พ้นในกาลบางคราวผู้พ้นอย่างเด็ดขาดผู้มีธรรมที่กำเริบได้ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้ผู้มีธรรมที่เสื่อมได้ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้#การบรรลุมรรคผลวิมุตติความหลุดพ้นการเกิดอริยมรรค#เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใครๆคนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ตอบเธอเพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกันก่อให้เกิดทุกข์และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธอถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล้วเธอก็จะบรรลุนิพพานได้การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ#เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้นจิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิเพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคสัมมาสมาธิท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิด้วยฌาน๔พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่าเจริญบุพพภาคมรรคเบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะเราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิดจิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์ เจตะนาภัพโพ อะนุรักขะนาภัพโพ, -ผู้มีธรรมที่ควรแก่เจตนา, ผู้มีธรรมที่ควรแก่การรักษา, ปุถุชชะโน โคต๎ระภู, -ผู้เป็นปุถุชน, ผู้คร่อมโคตร, ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต, -ผู้เว้นชั่วเพราะกลัว, ผู้เว้นชั่วไม่ใช่เพราะกลัว, ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน, -ผู้ควรแก่มรรคผลนิพพาน, ผู้ไม่ควรแก่มรรคผลนิพพาน, นิยะโต อะนิยะโต, -ผู้เที่ยง, ผู้ไม่เที่ยง, ปะฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต, -ผู้ปฏิบัติอริยมรรค, ผู้ตั้งอยู่ในอริยผล, อะระหา อะระหัตตายะ ปะฏิปันโน, -ผู้เป็นพระอรหันต์, ผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระอรหันต์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น